วรวิทย์ พูลสวัสดิ์
Download
Report
Transcript วรวิทย์ พูลสวัสดิ์
บทที่ 3
ระบบสารสนเทศขั้นสู ง
วรวิทย์ พูลสวัสดิ์
1
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสิ นใจ
Decision support system (DSS)
Organized collection of people, procedures,
software, databases, and devices that support
problem-specific decision making
Used when problem is complex and
information needed to determine appropriate
action is difficult to obtain and use
2
Decision Support System
เป็ นระบบสารสนเทศที่ใช้ขอ้ มูลต่างๆจากฐานข้อมูลภายใน และข้อมูลบาง
ประการจากภายนอกองค์กรมาประกอบการตัดสิ นใจ
การจัดการและการตัดสิ นใจ
การจัดการหมายถึงการบริ หารอย่างเป็ นระบบ
กระบวนการจัดการประกอบด้วยการวางแผน (planning) การจัดองค์กร
(Organizing) , การสัง่ การหรื อการอานวยการ (Leading &
Directing) และการควบคุม (Controling)
3
ระดับชั้นของการจัดการและการใช้งานสารสนเทศ
4
ระดับของการจัดการ
Strategic Management : กาหนดวิสัยทัศน์ เป้ าหมาย
วัตถุประสงค์ รวมทั้งวางแผนกลยุทธ์และแผนระยะยาว มีความต้องการใช้
สารสนเทศที่มีขอบเขตกว้างขวาง เช่น ประธานบริ ษทั กรรมการผูจ้ ดั การ
Tactical Management : มีหน้าที่ประสานงานระหว่างผูบ้ ริ หาร
ระดับ Strategic กับระดับ Operational ใช้ขอ้ สรุ ปและ
สารสนเทศต่างๆภายในองค์กร เพื่อควบคุมและปรับปรุ งการทางาน เช่น
ผูจ้ ดั การฝ่ าย ผูจ้ ดั การสาขา
Operational Management เป็ นผูบ้ ริ หารระดับต้นหรื อ
หัวหน้างาน มีหน้าที่ควบคุม ดูแลการปฏิบตั ิงานประจาวัน การทางานมี
รู ปแบบแน่นนอนและใกล้ชิดกับผูป้ ฏิบตั ิงาน
5
การตัดสิ นใจ & การแก้ปัญหา
(Decision Making & Problem Solving)
การใช้ความคิดประกอบเหตุผล (Intelligence)
การออกแบบ (Design)
การคัดเลือก (Choice)
การนาไปใช้ (Implementation)
ในมุมมองของ DSS
ทุกขั้นตอนสามารถใช้สารสนเทศเพื่อช่วยในการทางานได้
ในมุมมองของระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบ ก็มีลกั ษณะการทางานรู ปแบบเดียวกัน
6
แบบจาลองกระบวนการตัดสิ นใจ
Intelligence
Design
Choice
Implement
7
ประเภทการตัดสิ นใจ
Structure Decision - การตัดสิ นใจที่มีข้ นั ตอนหรื อกระบวนการ
ตัดสิ นใจที่แน่ชดั
Unstructured Decision - การตัดสิ นใจเกี่ยวกับปั ญหาที่ไม่
สามารถกาหนดล่วงหน้าได้
Semi-Structure Decision - มีการระบุกระบวนการหรื อวิธีการ
ตัดสิ นใจล่วงหน้าได้บางส่ วน
8
การใช้ DSS
มักจะใช้ประกอบการตัดสิ นใจในแบบ unstructured และ
แบบ Semi-structure
ระบบ DSS อาจมีการปรับปรุ งได้
(ตามแบบจาลองของการตัดสิ นใจ)
การประเมินคุณภาพของผลลัพธ์ทาได้ยาก
การออกแบบระบบต้องมีคุณสมบัติ Simple และ Flexible
ระบบจะไม่ตดั สิ นใจแทน ดังนั้นระบบต้องสามารถออกแบบให้
สามารถทดสอบทางเลือกในการตัดสิ นใจได้
9
ประเภทของระบบ DSS
Model Driven DSS : ใช้รูปแบบผลลัพธ์เป็ นหลัก เช่น จุดคุม้ ทุน
การวางแผนงบประมาณ
Data Driven DSS : ใช้ขอ้ มูลในคลังข้อมูล (Data
Warehouse) ขององค์กร และข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
Data Mining : การทาเหมืองข้อมูล เป็ น Data Driven DSS
ที่ช่วยในการหาความสัมพันธ์ของข้อมูล
ความเกี่ยวข้อง (Association)
การจัดลาดับ (Sequence)
การจัดกลุ่ม (Clustering)
10
Specialized Business Information Systems
Knowledge management systems (KMSs)
Create, store, share, and use the
organization’s knowledge and experience
Artificial intelligence (AI)
Computer system takes on characteristics of
human intelligence
11
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)
ปั ญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) หรื อ เอไอ
(AI) หมายถึงความฉลาดเทียมที่สร้างขึ้นให้กบั สิ่ งที่ไม่มีชีวิต
ปั ญญาประดิษฐ์เป็ นการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับกระบวนการการคิด การ
กระทา การให้เหตุผล การปรับตัว หรื อการอนุมาน
12
นิยามที่เกี่ยวข้องกับการทางานของ AI (1)
ระบบที่คิดเหมือนมนุษย์ (Systems that think
like humans)
ก่อนที่จะทาให้เครื่ องคิดอย่างมนุษย์ได้ ต้องรู ้ก่อนว่ามนุษย์มี
กระบวนการคิดอย่างไร ซึ่งการวิเคราะห์ลกั ษณะการคิดของ
มนุษย์ เป็ นศาสตร์ดา้ น cognitive science
13
Cognitive Science
14
นิยามที่เกี่ยวข้องกับการทางานของ AI (2)
ระบบที่กระทาเหมือนมนุษย์ (Systems that act
-
like humans)
สื่ อสารได้ดว้ ยภาษาที่มนุษย์ใช้ เช่น การแปลงข้อความเป็ น
คาพูด
มีประสาทรับสัมผัสคล้ายมนุษย์ เช่น คอมพิวเตอร์รับภาพได้
โดยอุปกรณ์รับสัมผัส แล้วนาภาพไปประมวลผล
เคลื่อนไหวได้คล้ายมนุษย์ เช่น หุ่นยนต์ช่วยงานต่าง ๆ
เรี ยนรู ้ได้ โดยสามารถตรวจจับรู ปแบบการเกิดของเหตุการณ์
แล้วปรับตัวสู่สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้
15
นิยามที่เกี่ยวข้องกับการทางานของ AI (3)
ระบบที่คิดอย่างมีเหตุผล (Systems that think
rationally)
คิดอย่างมีเหตุผล หรื อคิดถูกต้อง เช่น ใช้หลักตรรกศาสตร์
ในการคิดหาคาตอบอย่างมีเหตุผล เช่น ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ
16
นิยามที่เกี่ยวข้องกับการทางานของ AI (4)
ระบบที่กระทาอย่างมีเหตุผล (Systems that act
rationally)
มี เอเจนต์ (โปรแกรมที่มีความสามารถในการกระทา หรื อ
เป็ นตัวแทนในระบบอัตโนมัติต่าง ๆ) สามารถกระทาอย่างมี
เหตุผลเพื่อบรรลุเป้ าหมายที่ได้ต้ งั ไว้ เช่น เอเจนต์ในระบบ
ขับรถอัตโนมัติ ที่มีเป้ าหมายว่าต้องไปถึงเป้ าหมายใน
ระยะทางที่ส้ นั ที่สุด
17
Specialized Business Information Systems
Expert systems
Give computer ability to make suggestions and
function like an expert in a particular field
Virtual reality
Simulation of a real or imagined environment
that can be experienced visually in three
dimensions
18
ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ หรื อ ระบบผูช้ านาญการ (expert
system)
เป็ นซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ที่ช่วยในการหาคาตอบ อธิบายความไม่
ชัดเจน ซึ่งปกติน้ นั จะใช้ผเู ้ ชี่ยวชาญในแต่ละสาขาตอบคาถามนั้น
ศึกษาเรื่ องสร้างระบบความรู ้ของปั ญหาเฉพาะอย่าง เช่น การแพทย์
หรื อวิทยาศาสตร์ จุดประสงค์ของระบบนี้คือ ทาให้เสมือนมีมนุษย์
ผูเ้ ชี่ยวชาญคอยให้คาปรึ กษา
เป็ นส่ วนหนึ่งของปั ญญาประดิษฐ์โดยอาศัยระบบฐานความรู ้
(knowledge-based system) และกลไกการอนุมาน
(inference engine) เป็ นองค์ประกอบหลักในการทางาน
19
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic
Information System : GIS )
คือ กระบวนการทางานเกี่ยวกับข้อมูลเชิงพื้นที่ (spatial data)
ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดย
1. การกาหนดข้อมูลเชิงบรรยายหรื อข้อมูลคุณลักษณะ (attribute
data)
2. ใช้สารสนเทศ เช่น ที่อยู่ บ้านเลขที่ ที่มีความสัมพันธ์กบั ตาแหน่งใน
เชิงพื้นที่ (spatial data) เช่น ตาแหน่งบ้าน ถนน แม่น้ า ที่เก็บ
ในรู ปของฐานข้อมูล
20
ตัวอย่างแผนที่
21
ศักยภาพของ GIS
ระบบ GIS ประกอบไปด้วยชุดของเครื่ องมือที่มีความสามารถในการเก็บ
รวบรวม ปรับปรุ งและการสื บค้นข้อมูล เพื่อจัดเตรี ยม ปรับแต่ง วิเคราะห์และ
การแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์การใช้งาน ซึ่ ง
รู ปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลเชิงพื้นที่ท้ งั หลาย จะสามารถนามา
วิเคราะห์ดว้ ย GIS ให้สื่อความหมายในเรื่ องการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กบั
ช่วงเวลาได้
ข้อมูลเหล่านี้ เมื่อปรากฏบนแผนที่ทาให้สามารถแปล สื่ อความหมาย และ
นาไปใช้งานได้ง่าย
22
องค์ประกอบของ GIS
1. อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ คือ เครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วง
ต่าง ๆ เช่น ดิจิไทเซอร์ สแกนเนอร์ เครื่ องพิมพ์
2. โปรแกรม คือชุดของคาสัง่ สาเร็ จรู ป เช่น โปรแกรม Arc/Info,
MapInfo
ซึ่งประกอบด้วยฟังก์ชนั สาหรับนาเข้าและปรับแต่งข้อมูล,
จัดการระบบฐานข้อมูล, เรี ยกค้น, วิเคราะห์ และ จาลองภาพ
23
องค์ประกอบของ GIS
3. ข้อมูล ข้อมูลที่จะใช้ในระบบ GIS จะถูกจัดเก็บในรู ปแบบของ
ฐานข้อมูล
4. บุคลากร คือ ผูป้ ฏิบตั ิงานซึ่งเกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตร์ เช่น ผูน้ าเข้าข้อมูล ผูเ้ ชี่ยวชาญสาหรับวิเคราะห์ขอ้ มูล
ผูบ้ ริ หารซึ่งต้องใช้ขอ้ มูลในการตัดสิ นใจ บุคลากรจะเป็ น
องค์ประกอบที่สาคัญที่สุดในระบบ GIS เนื่องจากถ้าขาดบุคลากร
ข้อมูลที่มีอยูม่ ากมายจะไม่ได้ถูกนาไปใช้งาน
5. วิธีการหรื อขั้นตอนการทางาน คือวิธีการที่องค์กร นาเอาระบบ
GIS ไปใช้งาน
24
การทางานของ GIS
1. การนาเข้าข้อมูล (input) ก่อนที่ขอ้ มูลทางภูมิศาสตร์ จะถูกใช้งาน
ได้ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ข้อมูลจะต้องได้รับการแปลง ให้
มาอยูใ่ นรู ปแบบของข้อมูล เชิงตัวเลข (digital format)
เสี ยก่อน เช่น จากแผนที่กระดาษไปสู่ขอ้ มูลใน รู ปแบบดิจิตอลหรื อ
แฟ้ มข้อมูลบนเครื่ องคอมพิวเตอร์
25
การทางานของ GIS
2. การปรับแต่งข้อมูล (manipulation) ข้อมูลที่ได้รับเข้าสู่
ระบบบางอย่างจาเป็ นต้องได้รับการปรับแต่งให้เหมาะสม กับงาน
เช่น ข้อมูลบางอย่างมีขนาด หรื อสเกล (scale) ที่แตกต่างกัน
หรื อใช้ระบบพิกดั แผนที่ที่แตกต่างกัน
3. การบริ หารข้อมูล (management) ระบบจัดการฐานข้อมูล
หรื อ DBMS จะถูกนามาใช้ในการบริ หารข้อมูลเพื่อการทางานที่
มีประสิ ทธิภาพในระบบ
26
การทางานของ GIS
4. การเรี ยกค้นและวิเคราะห์ขอ้ มูล (query and analysis) คือ การนา
ข้อมูลเหล่านี่มาใช้ให้เกิด ประโยชน์ เช่น
- ชี้เมาส์ไปในบริ เวณที่ตอ้ งการแล้วเลือก (point and click) เพือ่
สอบถามหรื อเรี ยกค้นข้อมูล
- เครื่ องมือในการวิเคราะห์ เช่น การวิเคราะห์เชิงประมาณค่า (proximity
หรื อ buffer)
- การวิเคราะห์เชิงซ้อน (overlay analysis) เป็ นต้น
5. การนาเสนอข้อมูล (visualization) เช่น การแสดงชาร์ ต (chart)
แบบ 2 มิติ หรื อ 3 มิติ รู ปภาพจากสถานที่จริ ง ภาพเคลื่อนไหว แผนที่ สื่ อ
ต่างๆที่จะทาให้ผใู ้ ช้เข้าใจความหมาย
27
Question
28