ภาพนิ่ง 1

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1

ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
Decision Support System
ระบบสนับสนุนการบริหาร
(Management Support Systems {MSS})
บทนีม้ ีอะไรบ้ าง ?







การจัดการกับการตัดสิ นใจ
ระดับของการจัดการ
การตัดสิ นใจ (Decision Making)
ระดับของของการตัดสิ นใจในองค์กร
ประเภทของการตัดสิ นใจ
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
ความหมายของระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
บทนีม้ ีอะไรบ้ าง ?






ส่ วนประกอบของระบบ DSS
ประเภทของระบบ DSS
ลักษณะและความสามารถของระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
ความแตกต่างระหว่างระบบ DSS & IS อื่น ๆ
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจส่ วนบุคคล
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจกลุ่ม GDSS : Group Decision
Support System
ระบบสนับสนุนการบริหาร
ระบบสนับสนุนการบริหารหรือการจัดการ ได้ แก่ ระบบสนับสนุน
การทางานของกลุ่มและสารสนเทศของผู้บริหารระดับสู ง ระบบทั้ง 4 นี้
สามารถช่ วยงานด้ านการจัดการของผู้บริหารทั้งในด้ านการวางแผน การ
ตัดสิ นใจ และการประสานงาน
ผู้บริหารภายในองค์ กรแบ่ งได้ เป็ น 3 ระดับ คือ บริหารระดับสู ง
ระดับกลาง ระดับล่ าง ซึ่งผู้บริหารทั้ง 3 ระดับ จะทาการตัดสิ นใจที่ต่างกัน
ระบบสนับสนุ นการบริหาร
ชนิดของการตัดสิ นใจการตัดสิ นใจของผู้บริหารสามารถ แบ่ งได้
เป็ น 3 ลักษณะ คือ
1. การตัดสิ นใจแบบมีโครงสร้ าง คือ ตัดสิ นใจสาหรับงานที่เป็ น
งานประจา
2. การตัดสิ นใจแบบไม่ มโี ครงสร้ าง คือ การตัดสิ นใจสาหรั บปัญหา
ทีไ่ ม่ เป็ นประจา
3. การตัดสิ นใจแบบกึง่ มีโครงสร้ าง คือ การตัดสิ นใจแบบที่
บางส่ วนของปัญหาเป็ นงานประจา และสามารถแก้ ไขได้
กระบวนการตัดสิ นใจ
ผู้บริหารส่ วนใหญ่ จะทาการตัดสิ นใจเมือ่ เกิดปัญหาขึน้
ภายในองค์ กร ขั้นตอนในการจัดสิ นใจของผู้บริหารนั้นสามารถ
แบ่ งได้ เป็ น 2 ขั้นตอน คือ
ตอนที่ 1 ขั้นตอนการศึกษาวิเคราะห์ และชี้ชัดว่ าปัญหาคืออะไร
ตอนที่ 2 ขั้นตอนของการศึกษาและวิเคราะห์ ว่าจะตัดสิ นใจกับ
ปัญหาอย่ างไร
กระบวนการตัดสิ นใจ
นอกจากนีข้ ้นั ตอนการตัดสิ นใจสามารถสรุปได้ เป็ น
3 กระบวนการใหญ่ คือ
1.ขั้นการหาข้ อมูล ได้ แก่ การวิเคราะห์ ปัญหาและหาข้ อมูลเพือ่ การ
สร้ างทางเลือก
2.ขั้นการออกแบบทางเลือก ได้ แก่ การวิเคราะห์ ข้อมูลทีไ่ ด้ มาเพือ่ ทา
การสร้ างตัวแบบ
3. ขั้นการเลือกทางเลือก ได้ แก่ การวิเคราะห์ คาตอบของทางเลือก
ต่ างๆจากตัวแบบ
ภาพแสดงกระบวนการตัดสิ นใจ
การค้นหาและตรวจสอบ
ความเป็ นจริ ง
ตรวจสอบ Model ที่ใช้
สาเร็ จ
ตรวจทานและทดสอบทางเลือกต่างๆที่เสนอมา
การนาทางเลือกไปใช้
หรื อ ดาเนินการ
ล้มเหลว
ขั้นการหาข้ อมูล
จุดประสงค์ขององค์การ
หาวิธีการที่จะค้นข้อมูล
เก็บข้อมูล
ชี้ชดั ว่าอะไรคือปั ญหา
จัดแบ่งปั ญหา
ขั้นการออกแบบทางเลือก
สร้าง Model หรื อสมมุติฐาน
ตั้งเกณฑ์ สาหรับทางเลือก
มองหาทางเลือกต่างๆ
คาดคะเนผลลัพธ์ของทางเลือก
ต่างๆ
ขั้นการเลือกทางเลือก
หาคาตอบจาก Model
ทาการวิเคราะห์ความเคลื่อนไหว
เลือกทางเลือกที่ดีที่สุด
วางแผนการดาเนินการทางเลือก
นั้นๆออกแบบการควบคุม
TPS MRS DSS
การตัดสิ นใจแบบ
ไม่มีโครงสร้าง
การตัดสิ นใจแบบ
กึ่งมีโครงสร้าง
การตัดสิ นใจแบบ
มีโครงสร้าง
ผู้บริหาร
ระดับสู ง
DSS
ผู้บริหารระดับกลาง
MRS
ระดับปฏิบัตกิ าร
TPS
ผู้ปฏิบตั ิงาน
Workers
ลักษณะสารสนเทศ
•ไม่ได้กาหนดล่วงหน้า
•นาเสนอแบบสรุ ป
•เกิดขึ้นไม่บ่อย
•มองในอนาคต
•แหล่งข้อมูลภายนอก
•ขอบเขตกว้าง
•กาหนดล่วงหน้า
•มีรายละเอียดมาก
•เกิดขึ้นประจา
•ข้อมูลในอตีต
•แหล่งข้อมูลภายใน
•ขอบเขตแคบชัดเจน
การจัดการกับการตัดสิ นใจ (Management & Decision)
การจัดการ : Management คือ การบริ หารงาน อย่างเป็ นระบบ
ประกอบด้วยกิจกรรมของกลุ่มบุคคลที่ดาเนินงานให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ โดยใช้กระบวนการและทรัพยากรอย่างเหมาะสม
เกิดประโยชน์สูงสุ ด
ประกอบด้วย
 การวางแผน (Planning)
 การจัดองค์การ (Organizing)
 การสัง่ การ การอานวยการ (Leading/Directing)
 การควบคุม (Controlling)
การจัดการกับการตัดสิ นใจ (Management & Decision)
ระดับของการจัดการ
การจัดการเชิงกลยุทธ์
(Strategic Management)
การจัดการเชิงยุทธวิธี
(Tactical Management)
การจัดการปฏิบตั ิงาน
(Operational Management)
การจัดการระดับสู ง
Upper-level Management
การจัดการระดับกลาง
Middle-level Management
การจัดการระดับตัน
Lower-level Management

รูปที่ 1 ความต้องการข้อมูลข่าวสารสาหรับผูท้ ี่ต้องตัดสินใจ ประเภท
ของข้อมูลที่ต้องการจากผูบ้ ริหาร ผูจ้ ดั การและสมาชิกในทีมงาน ซึ่ง
เน้ นความสัมพันธ์ของระดับในการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องและโครงสร้าง
สาหรับเหตุการณ์ของการตัดสินใจที่ต้องเผชิญหน้ า
สารสนเทศเพือ่ การจัดการและระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
(Management Information and Decision Support Systems)
ในรู ปที่ 1 แสดงประเภทความต้ องการข้ อมูลข่ าวสารจากผู้ทตี่ ้ องตัดสิ นใจ
ในระดับการจัดการ ซึ่งขอบเขตการจัดการเป็ นรู ปทรงปิ รามิด
(Managerial Pyramid) แบบดั้งเดิม ที่สามารถปรับขยาย (Downsized) ได้
ในองค์ กรทุกขนาดและในแนวระนาบ (Flattened) หรือไม่ มีระดับชั้น
(Nonhierarchical) ภายในองค์ กร ระดับของการจัดการในการตัดสิ นใจ
ยังคงอยู่ แต่ ขนาด รู ปร่ างและผู้มีส่วนร่ วมนั้นสามารถเปลีย่ นแปลงได้ ตาม
การเปลีย่ นแปลงของโครงสร้ างที่เกีย่ วข้ องภายในองค์ กร ดังนั้น ระดับของ
การจัดการในการตัดสิ นใจนั้นต้ องได้ รับการสนับสนุนจากเทคโนโลยี
สารสนเทศเพือ่ ความสาเร็จภายในองค์ กร อัน ได้ แก่
การจัดการด้ านกลยุทธ์ (Strategic Management)
 คณะกรรมการอานวยการ สมาชิกผู้บริหาร และผู้บริหาร
ระดับสู ง กาหนดเป้าหมาย กลยุทธ์ นโยบาย และการวางแผน
ภายในองค์ กร โดยพิจารณาจากกลยุทธ์ ขององค์ กรและภาพรวม
ของทิศทางด้ านการเมือง เศรษฐกิจ และการแข่ งขันทางธุรกิจ
การจัดการกับการตัดสิ นใจ (Management & Decision)
ระดับของการจัดการ
การจัดการเชิงกลยุทธ์
(Strategic Management)
การจัดการเชิงยุทธวิธี
(Tactical Management)
การจัดการปฏิบตั ิงาน
(Operational Management)
การจัดการผู้บริหารระดับสู ง
Upper-level Management
• กาหนดนโยบาย วิสัยทัศน์
นโยบาย เป้ าหมาย วัตถุประสงค์
วางแผนกลยุทธ์ และแผนระยะยาว
ขององค์ การ
• ผู้บริหารระดับสู ง, ประธานบริษัท,
กรรมการผู้จัดการ
การจัดการด้ านยุทธวิธี (Tactical Management)
 ผู้จัดการหน่ วยงาน วางแผนระยะสั้ นและระยะกลาง
กาหนดตารางเวลา งบประมาณและนโยบาย ขั้นตอน
การทางานและเป้าหมายทางธุรกิจสาหรับหน่ วยย่ อย
ภายในองค์ กร การจัดสรรแหล่ งข้ อมูลและตรวจดูการ
ทางานของหน่ วยย่ อยภายในองค์ กร ขั้นตอนการทางาน
ของทีมงาน ทีมงานโครงการและกลุ่มทางาน
การจัดการกับการตัดสิ นใจ (Management & Decision)
ระดับของการจัดการ
การจัดการเชิงกลยุทธ์
(Strategic Management)
การจัดการเชิงยุทธวิธี
(Tactical Management)
การจัดการปฏิบตั ิงาน
(Operational Management)
การจัดการผู้บริหารระดับกลาง
Middle-level Management
• วางแผนยุทธวิธี (Tactical
Planning) ประสานงานระหว่ างผู้
บริหารงานระหว่ างระดับสู งกับ
ระดับต้ น
• ผู้อานวยการ, ผู้จัดการฝ่ าย,
ผู้จัดการสาขา
การจัดการกับการตัดสิ นใจ (Management & Decision)
ระดับของการจัดการ
การจัดการเชิงกลยุทธ์
(Strategic Management)
การจัดการเชิงยุทธวิธี
(Tactical Management)
การจัดการปฏิบตั ิงาน
(Operational Management)
การจัดการผู้บริหารระดับต้ น
Lower-level Management
• ควบคุมดูแล การปฏิบตั ิงาน
ประจาวัน (Operational Control)
• หัวหน้ างาน, หัวหน้ าแผนก
ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
(Management Information Systems : MIS)
 ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ เป็ นประเภทพืน้ ฐานของระบบ
ทีส่ นับสนุนการจัดการและยังเป็ นประเภทหลักของระบบ
สารสนเทศอีกด้ วย เป็ นตัวสร้ างข้ อมูลทีส่ นับสนุนความต้ องการ
ในการตัดสิ นใจสาหรับงานการจัดการวันต่ อวัน การสร้ างรายงาน
การแสดงและการตอบสนองโดยการเตรียมระบบข้ อมูล
สารสนเทศซึ่งผู้จัดการจะมีการกาหนดไว้ ล่วงหน้ า เช่ น การผลิต
ข้ อมูลทีเ่ หมาะสมสาหรับผู้ทตี่ ้ องตัดสิ นใจในระดับของการ
ปฏิบัตงิ านและยุทธวิธีขององค์ กร ซึ่งเป็ นผู้ทตี่ ้ องเผชิญกับ
ประเภทของโครงสร้ างในเหตุการณ์ สาหรับการตัดสิ นใจอยู่เป็ น
ประจา
ทางเลือกสาหรับการจัดการรายงาน
(Management Reporting Alternative)
 ระบบสารสนเทศเพือ
่ การจัดการ ไดผลิ
้ ตขอมู
้ ลที่
หลากหลายสาหรับการจัดการ ทางเลือกของ
รายงาน 4 ประเภททีม
่ ก
ี ารเตรียมจากโปรแกรม
คือ

รายงานตามตารางเวลาปกติ (Periodic
Scheduled Reports )
 การจัดการรายงานในรูปแบบของการกาหนด
ไวล
่ เตรียมการจัดการกับขอมู
้ วงหน
่
้ า เพือ
้ ล
ในพืน
้ ฐานทีเ่ หมือนกัน เช่น รายงานการ

รายงานการยกเว้น (Exception Reports)
 ในบางกรณี จะเป็ นการสรางรายงานเมื
อ
่ มี
้
เงือ
่ นไขการยกเวนนั
้ หรือเป็ น
้ ้นๆ เกิดขึน
รายงานตามกาหนดเวลาแตมี
่ ขอมู
้ ลเฉพาะ
สาหรับเงือ
่ นไขทีต
่ องการยกเว
น
้
้ เช่น
ผูจั
่ ตองการรายงานเฉพาะ
้ ดการฝ่ายสิ นเชือ
้
ลูกคาที
่ ก
ู จากัดการขอสิ นเชือ
่ ซึง่ แยกออก
้ ถ
จากรายงานตามกาหนดเวลา

รายงานความต้องการและการตอบสนอง
(Demand Reports and Response)
 สารสนเทศเป็ นสิ่ งทีส
่ ามารถใช้ไดตลอดเวลาที
่
้
ตองการ
เช่น การใช้เว็บบราวเซอรและ
้
์
ภาษาเพือ
่ คนหาจากฐานข
อมู
้
้ ล (DBMS
Query Languages) และตัวสรางรายงาน
้
(Report Generators) ซึง่ จะไดรั
้ บขอมู
้ ล
ในทันทีและสามารถกาหนดรายงานตาม
ผลลัพธที
่ องการ
ดังนั้น ผูจั
์ ต
้
้ ดการจึงไมต
่ อง
้

รายงานสนับสนุน (Push Reporting)
 สารสนเทศจะถูกส่งหรือผลัก (Pushed) ไป
ยังเครือ
่ งของผูจั
้ ดการโดยตรง ซึง่ หลาย
บริษท
ั ใช้ซอฟตแวร
การกระจายทางเว็
บ
์
์
(Webcasting Software
 การประมวลผลการวิเคราะห์ ต่อตรงหรือออนไลน์ (Online Analytical
Processing: OLAP)การแข่ งขันและการเปลีย่ นแปลงอย่ างรวดเร็วใน
สิ่ งแวดล้อมของโลกธุรกิจ คือ แรงผลักของความต้ องการและการ
วิเคราะห์ สาหรับระบบสารสนเทศที่มีความต้ องการที่ซับซ้ อน ซึ่ง
อุตสาหกรรมระบบสารสนเทศนั้นมีการตอบสนองในความต้ องการ
เหล่านี้ โดยการพัฒนา เช่ น การวิเคราะห์ ฐานข้ อมูล (Database) ตลาด
ข้ อมูลหรือข้ อมูลทางการตลาด (Data Marts) โกดังข้ อมูลหรือ
คลังข้ อมูล (Data Warehouse) เทคนิคการทาเหมืองข้ อมูลหรือขุม
ข้ อมูล (Data Mining) และโครงสร้ างฐานข้ อมูลทางด้ านมัลติมีเดีย ที่
เกีย่ วกับแม่ ข่ายและซอฟต์ แวร์ เฉพาะทีส่ นับสนุนการประมวลผลการ
วิเคราะห์ ออนไลน์ การประมวลผลการวิเคราะห์ ออนไลน์ คือ
ความสามารถของการจัดการ การสนับสนุนการตัดสิ นใจและระบบ
สารสนเทศเพือ่ ผู้บริหารทีผ่ ู้จัดการสามารถใช้ งานและวิเคราะห์ การ
สื่ อสารระหว่ างกันและการจัดการรายละเอียด ซึ่งจะมีการตอบสนอง
ความต้ องการได้ อย่ างรวดเร็ว ดูรูปที่ 2

รูปที่ 2 การประมวลผลการวิเคราะหออนไลน
์
์
อาจเกีย
่ วของ
้
กับการใช้แมข
เศษและฐานขอมู
่ ายแบบพิ
่
้ ลมัลติมเี ดีย ซึง่ มีการ
จัดเตรียมคาตอบสาหรับความตองการที
ย
่ ุงยากจากผู
้
่
้จัดการ
หรือนักวิเคราะหที
่ ะใช้ในการจัดการ สนับสนุ นการตัดสิ นใจ
์ จ
และบริหารระบบสารสนเทศ
 ตัวอย่ าง: OLAP ในการทางานของมาสเตอร์ การ์ ด
(OLAP at Master Card International)
 บริษทั มาสเตอร์ การ์ ดอินเตอร์ เนชันแนล ได้ พฒ
ั นาซอฟต์ แวร์
OLAP ที่เรียกว่ า Market Advisor ซึ่งสมาชิกสามารถเรียกดู
ข้ อมูลจากโกดังข้ อมูลและเจาะลึกลงไปในข้ อมูลข่ าวสารในการ
วิเคราะห์ สาหรับการติดต่ อสื่ อสารทางธุรกิจและการทางาน
แบบออนไลน์ Market Advisor ยังมีฐานข้ อมูลย้ อนหลังถึง 13
เดือน กราฟรายงาน และการเตือนตัวกระตุ้นทางการตลาดที่
อยู่ในระดับสู งสุ ดหรือตา่ สุ ดในการค้ าหรือการดาเนินงานของ
การจัดการกับการตัดสิ นใจ (Management & Decision)
การตัดสิ นใจ : Decision Making คือ การใช้ 3 กระบวนซึ่งประกอบด้วย
ความคิดประกอบเหตุผล (Intelligence) การออกแบบ (Design) การ
คัดเลือก (Choice) และนาไปใช้ในการแก้ปัญหา (Problem-Solving
Process)
ประกอบด้วย
 การใช้ความคิดประกอบเหตุผล (Intelligence)
 การออกแบบ (Design)
 การคัดเลือก (Choice)
 การนาไปใช้ (Implementation)
การจัดการกับการตัดสิ นใจ (Management & Decision)
การตัดสิ นใจ : Decision Making
• รับรู้ และตระหนักถึงปัญหา
• รวบรวมปัญหา
• วิเคราะห์ ตรวจสอบปัญหา
• แยกแยะปัญหา
• กาหนดรายละเอียดของปัญหา
• โอกาสทีเ่ กิดปัญหา
การใช้ ความคิดประกอบเหตุผล
(Intelligence)
การออกแบบ (Design)
การคัดเลือก (Choice)
การนาไปใช้
(Implementation)
การจัดการกับการตัดสิ นใจ (Management & Decision)
การตัดสิ นใจ : Decision Making
การใช้ ความคิดประกอบเหตุผล
(Intelligence)
• ออกแบบและพัฒนา
• วิเคราะห์ ทางเลือก
• ตรวจสอบ ประเมินผล
• หาวิธี หรือกระบวนการปฏิบตั ิ ทีด่ ี
ทีส่ ุ ด
การออกแบบ (Design)
การคัดเลือก (Choice)
การนาไปใช้
(Implementation)
การจัดการกับการตัดสิ นใจ (Management & Decision)
การตัดสิ นใจ : Decision Making
การใช้ ความคิดประกอบเหตุผล
(Intelligence)
• ตัดสิ นใจเลือก วิธีที่เหมาะสมทีส่ ุ ด
• ตรงตามสถานการณ์
• คานวณหาค่ าใช้ จ่าย และ
ผลตอบแทนแต่ ละแนวทางเลือก
การออกแบบ (Design)
การคัดเลือก (Choice)
การนาไปใช้
(Implementation)
การจัดการกับการตัดสิ นใจ (Management & Decision)
การตัดสิ นใจ : Decision Making
การใช้ ความคิดประกอบเหตุผล
(Intelligence)
• ผลการตัดสิ นใจไปปฏิบัติ
• ติดตามผล
• ประเมินผล
• ปรับปรุงแก้ ไขให้ สอดคล้ อง
เหมาะสม
การออกแบบ (Design)
การคัดเลือก (Choice)
การนาไปใช้
(Implementation)
การจัดการกับการตัดสิ นใจ (Management & Decision)
ระดับของการตัดสิ นใจ
การตัดสิ นใจเชิงกลยุทธ์
(Strategic Decision Making)
การตัดสิ นใจเชิงยุทธวิธี
(Tactical Decision Making)
การตัดสิ นใจเชิงปฏิบัติงาน
(Operational Decision Making)
การตัดสิ นใจผู้บริหารระดับสู ง
• กาหนดนโยบาย วิสัยทัศน์ นโยบาย
เป้ าหมาย วัตถุประสงค์ วางแผนกลยุทธ์
และแผนระยะยาวขององค์ การ
• การตัดสิ นใจรวมกิจการ, การขยายกิจการ,
การลงทุนในธุรกิจใหม่ , การแหล่ งเงินทุน
• ให้ ข้อมูลจากแหล่ งภายในและภายนอก ใน
การตัดสิ นใจ ไม่ มโี ครงสร้ างทีช่ ัดเจน
การจัดการกับการตัดสิ นใจ (Management & Decision)
ระดับของการตัดสิ นใจ
การตัดสิ นใจเชิงกลยุทธ์
(Strategic Decision Making)
การตัดสิ นใจเชิงยุทธวิธี
(Tactical Decision Making)
การตัดสิ นใจเชิงปฏิบัติงาน
(Operational Decision Making)
การตัดสิ นใจผู้บริหารระดับกลาง
• การจัดการบริหาร ดาเนินงาน ตามเป้ าหมาย
และวัตถุประสงค์ ของผู้บริหารระดับสู ง
• การจัดสรรทรัพยากร, การจัดสรร
งบประมาณ, การกาหนดการผลิต, การ
กาหนดยุทธวิธีทางการตลาด, การวางแผน
งบประมาณ
• ให้ ข้อมูลจากแหล่ งภายในและภายนอก ใน
การตัดสิ นใจ
การจัดการกับการตัดสิ นใจ (Management & Decision)
ระดับของการตัดสิ นใจ
การตัดสิ นใจเชิงกลยุทธ์
(Strategic Decision Making)
การตัดสิ นใจเชิงยุทธวิธี
(Tactical Decision Making)
การตัดสิ นใจเชิงปฏิบัติงาน
(Operational Decision Making)
การตัดสิ นใจผู้บริหารระดับปฏิบตั ิการ หัวหน้ า
• งานประจา, งานเฉพาะด้ าน
• การตัดสิ นใจการสั่ งซื้อ, การควบคุมสิ นค้ าคง
คลัง, การกาหนดเวลาสั่ งสิ นค้ า, การวางแผนการ
เบิกจ่ ายพัสดุ, การมอบหมายงานให้ พนักงาน
• ให้ ข้อมูลจากแหล่ งภายในองค์ การ มีโครงสร้ าง
ทีช่ ัดเจนแน่ นอน
การจัดการกับการตัดสิ นใจ (Management & Decision)
ระดับของการตัดสิ นใจ
ปัญหาและการตัดสิ นใจ
ไม่ มโี ครงสร้ าง
สารสรเทศรูปแบบสรุป
แสดงแนวโน้ ม
ปัญหาและการตัดสิ นใจ
มีโครงสร้ าง
สารสนเทศแสดง
รายละเอียด
การตัดสิ นใจเชิงกลยุทธ์
(Strategic Decision Making)
การตัดสิ นใจเชิงยุทธวิธี
(Tactical Decision Making)
0
การตัดสิ นใจเชิงปฏิบัติงาน
(Operational Decision Making)
การจัดการกับการตัดสิ นใจ (Management & Decision)
ระดับของการตัดสิ นใจ
ข้ อมูลจาก
แหล่ งภายนอก
วางแผน
ระยะยาว
ข้ อมูลจาก
แหล่ งภายใน
วางแผน
ระยะสั้ น
การตัดสิ นใจเชิงกลยุทธ์
(Strategic Decision Making)
การตัดสิ นใจเชิงยุทธวิธี
(Tactical Decision Making)
0
การตัดสิ นใจเชิงปฏิบัติงาน
(Operational Decision Making)
การจัดการกับการตัดสิ นใจ (Management & Decision)
ประเภทของการตัดสิ นใจ
1.
2.
3.
การตัดสิ นใจแบบมีโครงสร้าง (Structure Decision) : การตัดสิ นใจ
เกี่ยวกับปัญหาที่มีข้นั ตอนหรื อกระบวรการที่ชดั เจน เช่น การสัง่ ซื้อ
สิ นค้าคงคลัง เมื่อสิ นค้าต่ากว่าจุดการสัง่ ซื้อ
การตัดสิ นใจแบบไม่มีโครงสร้าง (Un-Structure Decision) : การ
ตัดสิ นใจเกี่ยวกับปัญหาที่ไม่สามารถกาหนดกระบวนการตัดสิ นใจได้
ล่วงหน้า เช่น การคัดเลือกผูบ้ ริ หารเข้าทางาน, การวิจยั และพัฒนา
เทคโนโลยีใหม่
การตัดสิ นใจแบบมีโครงสร้าง (Simi-Structure Decision) : การ
ตัดสิ นใจเกี่ยวกับปัญหาได้ล่วงหน้าบางส่ วน โดยต้องอาศัยโมเดลทาง
คณิ ตศาสตร์ ทางสถิติ เช่น การซื้อขายหุน้ , การประเมินผลด้านเครดิต
ระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการตัดสิ นใจ
ความหมาย ของ DSS
กลุ่มของกระบวนการที่อาศัยตัวแบบในการประมวลข้ อมูลและการพิจารณา เพือ่ ช่ วยผู้บริหารการ
การตัดสิ นใจ (Little :1970) [การทางานของระบบ และผู้ใช้ ]
ความแตกต่ างของระบบประมวลผลข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ แบบเดิม (EDP) กับ ระบบสนับสนุนการ
ตัดสิ นใจ (DSS) ในด้ านการใช้ งาน, ผู้ใช้ , เป้ าหมาย, ขอบเขตเวลา และวัตถุประสงค์ (Alter
:1980) [การใช้ งาน และวัตถุประสงค์ ]
ระบบที่เพิม่ ความสามารถในการสนับสนุนการวิเคราะห์ ข้อมูลแบบเฉพาะกิจ (Ad-Hoc Data
analysis) (Moore & Chang :1980) [การใช้ งาน และความสามารถของระบบ]
ระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบด้ วย ระบบภาษา (A Language System) ระบบความรู้ (A Knowledge
System) ระบบกระบวนการปัญหา (A Problem-processing System) (Bonczek :1980)
[องค์ ประกอบของระบบ]
ผลผลิตของกระบวนการพัฒนา ผู้ใช้ ผู้สร้ าง และระบบ ที่ตอบสนองมีอทิ ธิผลต่ อกัน (คีน :1980)
[กระบวนการพัฒนา]
ระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการตัดสิ นใจ
Decision Support Systems-DSS
ลักษณะของ DSS
1.
2.
3.
ใช้สาหรับประกอบการตัดสิ นใจที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่มีลกั ษณะ
เป็ นแบบกึ่งโครงสร้าง (Simi structure) และไม่มีโครงสร้าง(unstructured
situations) โดยจะมีการนาวิจารณญาณของมนุษย์กบั ข้อมูลจาก
คอมพิวเตอร์มาใช้ประกอบในการตัดสิ นใจ
ระบบ DSS ช่วยในการตอบสนองความต้องการที่ไม่ได้คาดการณ์มา
ก่อน ปัญหาต่าง ๆ ที่สมั พันธ์ต่อเนื่องกัน
ช่วยในการตัดสิ นในที่ตอ้ งความรวดเร็ วสูง ผูบ้ ริ หารทุกระดับ ทุกกลุ่ม
ระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการตัดสิ นใจ
Decision Support Systems-DSS
ลักษณะของ DSS
4. จัดการเก็บข้อมูลซึ่งมาจากหายแหล่งได้ ทั้งภายในและ
ภายนอกหน่วยงาน
5. จัดการกับเงื่อนไขต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงได้ เพิม่ ลบ รวม
เปลี่ยนแปลงค่าต่าง ๆ ได้
6. ใช้งานง่าย นาเสนอได้ท้ งั รายงานที่เป็ นข้อความและกราฟิ ก
7. เพิ่มประสิ ทธิภาพ ถูกต้องแม่ยา รวมเร็ ว มีคุณภาพ
ระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการตัดสิ นใจ
ส่ วนประกอบและโครงสร้างของ DSS
การจัดการข้อมูล(Data Management)
การติดต่อระหว่างผูใ้ ช้และคอมพิวเตอร์ (User Interface)
การจัดการโมเดล(Model management)
การจัดการกับความรู้(Knowledge management)
ระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการตัดสิ นใจ
ประเภทของ DSS
ระบบที่สนับสนุนการตัดสิ นใจที่ใช้รูปแบบเป็ นหลัก(Model-Driven DSS) เป็ น
ระบบการจาลองสถานการณ์ (Simulation) และรู ปแบบการวิเคราะห์ต่าง ๆ เช่น
โมเดลทางการบัญชี โมเดลหาจุดเหมาะสมที่สุด ฯลฯ
ระบบที่สนับสนุนการตัดสิ นใจที่ใช้ขอ้ มูลเป็ นหลัก(Data-driven DSS) ระบบนาเอา
ข้อมูลจากแหล่งภายใน-นอก จานวนมหาศาล ทา OLAP :Online Analyst
Processing และเหมืองข้อมูล (Data Mining) 3 แบบ
ความเกี่ยวข้อง (Association)
การจัดลาดับ (Sequence)
การจัดกลุ่ม (Clustering)
ระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการตัดสิ นใจ
ประเภทของ DSS ตามผูใ้ ช้
ระบบที่สนับสนุนการตัดสิ นใจของบุคคล(Executive Information
Systems-EIS)
ระบบที่สนับสนุนการตัดสิ นใจของกลุ่ม(Group Decision Support
Systems-GDSS)
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์(Geographic Information Systems-GIS)
ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ(Expert Systems-ES)
ระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการตัดสิ นใจ
ส่ วนประกอบของ Decision Support Systems-DSS
ฐานแบบจาลอง
(Model Base)
ส่ วนจัดการข้ อมูล
(Data Management)
ส่ วนจัดการโต้ ตอบ
(Dialog Management)
ผู้ใช้
(User)
ส่ วนจัดการโมเดล
(Model Management)
ฐานแบบจาลอง
(Model Base)
ระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการตัดสิ นใจ
ส่ วนประกอบของ Decision Support Systems-DSS
ส่ วนจัดการข้ อมูล
(Data Management
Subsystem)
ดึงคลังข้ อมูลองค์ การ
ดึง Data Warehouse
• ฐานข้ อมูลองค์ การ
• ระบบจัดการฐานข้ อมูล
• ส่ วนสอบถามข้ อมูล
• สารบัญข้ อมูล
• ส่ วนการดึงข้ อมูลจากภายนอก-ใน
ระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการตัดสิ นใจ
ส่ วนประกอบของ Decision Support Systems-DSS
ส่ วนจัดการโมเดล
(Model Management
Subsystem)
• ฐานข้ อมูลแบบจาลอง (Model base)
• ระบบจัดการฐานข้ อมูลแบบจาลอง (Model base
Management System:MBMS)
• ภาษาแบบจาลอง (Model Language)
• สารบัญแบบจาลอง (Model Dictionary)
• ส่ วนดาเนินการแบบจาลอง (Model Execution)
สร้ างแบบจาลอง จัดการหรือเรียกใช้
แบบจาลอง จัดเก็บจัดการแบบจาลอง
• แบบจาลองทางสถิติ (Statistic Model)
เข้ าถึงและทางานร่ วมกับแบบจาลองอืน่
• แบบจาลองทางการเงิน (Financial Model)
ๆ จัดกลุ่มและแสดงสารบัญ ติดตามการ
• แบบจาลองเพือ่ หาจุดเหมาะสมทีส่ ุ ด (Optimization Model)
ใช้ เชื่องโยงแบบจาลอง
• แบบจาลองสถานการณ์ (Simulation Model)
ระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการตัดสิ นใจ
ส่ วนประกอบของ Decision Support Systems-DSS
ส่ วนจัดการโต้ ตอบ
(Dialogue Management
Subsystem)
ติดต่ อสื่ อสารกับผู้ใช้ เช่ นการคลิกเมาส์
การใช้ ระบบสั มพัส หน้ าต่ างรายงาน
แจงรายระเอียด Drill-Down แสดง
กราฟ รูปภาพ
• ส่ วนจัดการประสานผู้ใช้ (User Interface Management)
• รายการเลือก (Menu-Driven Interface)
• การป้ อนคาสั่ ง (Command-Driven Interface)
• ติดต่ อผ่ านรูปภาพ (Graphic User Interface)
DSS System
สารสนเทศ
ภายนอก
กลยุทธ์ ภายนอก
การตลาด
การเงิน บัญชี ทรัพยากรบุคคล
การผลิต
อืน่ ๆ
การดึง/กรองข้ อมูล
(Data Extraction)
ฐานความรู้ องค์ การ
ส่ วนสอบถามข้ อมูล
(Query Facility)
DSS database
ข้ อมูลบุคคล
สารบัญข้ อมูล
(Data Dictionary)
การจัดการฐานข้ อมูล
•การดึงข้ อมูล(Data Retr.)
•การปรับปรุงข้ อมูล (Data Modi.)
•การสร้ างรายงาน (Report Gen.)
•การลบข้ อมูล (Delete)
ผู้ใช้
(User)
ระบบย่อยการจัดการโต้ ตอบ
(Dialog Management
Subsystem)
ระบบย่อยการจัดการตัวแบบ
(Model Management
Subsystem)
ระบบย่ อยการจัดการองค์ ความรู้
(Knowledge-base
Subsystem)
ข้ อมูลองค์ การ
Turban&Aronson, 2001
Model Management Subsystem
ฐานแบบจาลอง (Model Base)
• เชิงกลยุทธ์ ยุทธวิธี ปฏิบัติการ
• เชิงสถิติ การตลาด การจัดการ การเงิน
การบัญชี วิศวกรรม ฯล
•แบบแผนสาหรับสร้ างแบบจาลอง
ระบบจัดการฐานแบบจาลอง
(Model Base Management)
•คาสั่ งสาหรับสร้ างแบบจาลอง
•การปรับปรุงแก้ไขแบบจาลอง
•การติดต่ อประสานกับฐานข้ อมูล
•ภาษาสาหรับจัดการแบบจาลอง
ผู้ใช้
(User)
ส่ วนการจัดการโต้ ตอบ
(Dialog Management)
ส่ วนจัดการข้ อมูล
(Data Management)
สารบัญแบบจาลอง
(Model Directory)
การดาเนินการการ
ทางานร่ วมกันและการ
ประมวลผลคาลัง่ ของ
แบบจาลอง
ส่ วนจัดการองค์ ความรู้
(Knowledge-base
Management)
Turban&Aronson, 2001
Knowledge-Base Management Subsystem
ส่ วนจัดการองค์ความรู้
(Knowledge-base
Management)
• ระบบสนับสนุนการตัดสินใจชาญลาด
(Intelligence DSS)
• ระบบสนับสนุนการตัดสินใจและ
ผู้เชี่ยวชาญอิงฐานความรู้ (DSS/ES)
• ระบบสนับสนุนผู้เชี่ยวชาญ (Expert
Support System)
• ระบบแอ็กทีฟ ดีเอสเอส (Active DSS)
• ระบบสนับสนุนการตัดสินใจอิงฐานความรู้
(Knowledge-base DSS)
1.
2.
3.
Knowledge-base Decision สนับสนุนการ
ตัดสิ นใจทีไ่ ม่ สามารถใช้ วธิ ีทางคณิตศาสตร์
Intelligence Decision Modeling System
ช่ วยให้ ผู้ใช้ เข้ าถึง สร้ าง จัดการกับห้ องสมุด
โมเดล
Decision Analytic Experts System ช่ วย
บูรณาการวิธีทางทฤษฏีความไม่ แน่ นอนเข้ า
กับฐานความรู้ ของระบบผู้เชี่ยวชาญ
Turban&Aronson, 2001
DSS + Knowledge Management
ระบบอืน่ ๆ
(Other Computer
Base System)
ข้ อมูลจากภายในและภายนอก
ส่ วนจัดการข้ อมูล
(Data Management)
ฐานความรู้
องค์ การ
ผู้ใช้
(User)
ส่ วนการจัดการโมเดล
(Model Management)
ส่ วนจัดการองค์ ความรู้
(Knowledge-base
Management)
ส่ วนการจัดการโต้ ตอบ
(Dialog Management)
Turban&Aronson, 2001
DSS Characteristic
สนับสนุนการแก้ปัญหา
กึง่ โครงสร้ าง และไม่ มโี ครงสร้ าง
สนับสนุนผู้บริหาร
หลายระดับ
สนับสนุนการตัดสิ นใจแบบ
บุคคลและแบบกลุ่ม
สามารถเข้ าถึงข้ อมูล
จากหลายแห่ ง
สนับสนุนปัญหาเกีย่ วพัน
และปัญหาต่ อเนื่อง
ใช้ แบบจาลองในการ
วิเคราะห์ ข้อมูล
ผู้ใช้ สามารถสร้ างและปรับ
ระบบขนาดเล็กเองได้
ลักษณะและความสามารถ
ของ ระบบ DSS
สนับสนุนการตัดสิ นใจ
หลากหลายรู ปแบบ
สามารถควบคุมได้ ทุกขั้นตอบ
ของการตัดสิ นใจ
เพิม่ ประสิ ทธิผลในการ
ตัดสิ นใจ
สนับสนุนทุกขั้นตอน
ของกระบวนการตัดสิ นใจ
ง่ ายต่ อการเรียนรู้
และใช้ งาน
มีความยืดหยุ่นและ
ปรับข้ อมูลได้
Turban&Aronson, 2001
 ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ (Decision Support
Systems : DSS)
 ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจเป็ นประเภทหลักของระบบ
สารสนเทศทีใ่ ช้ คอมพิวเตอร์ เป็ นพืน้ ฐานติดต่ อเชื่อมโยงข้ อมูล
ระหว่ างกัน เพือ่ สนับสนุนการจัดการในระหว่ างขั้นตอน
ตัดสิ นใจระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจทีใ่ ช้ คอื 1) รู ป
แบบจาลองในการวิเคราะห์ 2) ฐานข้ อมูลเฉพาะ 3) ผู้ที่
ตัดสิ นใจหรือผู้ตดั สิ น 4) การติดต่ อระหว่ างกัน ขั้นตอนการ
สร้ างรู ปแบบจาลองในระบบคอมพิวเตอร์ เป็ นการสนับสนุนที่
จัดทาขึน้ แบบกึง่ โครงสร้ างและแบบไม่ มีโครงสร้ างจาก
ผู้จดั การแต่ ละคน
รูปที่ 3 การเปรียบเทียบระบบสนับสนุนการตัดสินใจและระบบ
สารสนเทศเพื่อการจัดการ หมายเหตุ ความแตกต่างที่เห็นได้ชดั
ในข้อมูลสารสนเทศและการสนับสนุนในการตัดสิน
 รู ปแบบจาลองและซอฟต์ แวร์ ของระบบสนับสนุนใน
การตัดสิ นใจ (DSS Models and Software)
 รู ปแบบจาลองของระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ เป็ น
ส่ วนประกอบทีเ่ ป็ นตัวช่ วยของรู ปแบบจาลองทีใ่ ช้ ในการ
คานวณและการวิเคราะห์ ประจาวัน ซึ่งโปรแกรมอาจจะมีรูป
แบบจาลองที่มีความสั มพันธ์ กบั จานวนของตัวแปร เช่ น
โปรแกรมคานวณรู ปแบบตารางทีม่ ีการพิจารณาใน
ความสั มพันธ์ กบั ตัวแปร เช่ น รายได้ (Revenue) – ค่ าใช้ จ่าย
(Expense) = กาไร (Profit) หรือรู ปแบบจาลองและเทคโนโลยี
ในการวิเคราะห์ ที่ใช้ ความสั มพันธ์ ที่ซับซ้ อน เช่ น รู ปแบบ
มูลค่ างบประมาณ ตามรู ปแบบจาลองทีอ่ าจจะมีการจัดเก็บใน
รู ปแบบการคานวณในรู ปตารางหรือเทมเพลต (Templates)
หรือรู ปแบบสถิตแิ ละโปรแกรมทางคณิตศาสตร์ ดูรูปที่ 4
รูปที่ 4 ส่วนประกอบของระบบสนับสนุ นการตัดสิ นใจทาง
การตลาด หมายเหตุ แสดงความเกีย
่ วของของ
ฮารดแวร
้
์
์
ซอฟตแวร
้ ล และแหลงข
่ อมู
้ ลบนเครือ
์
์ รูปแบบจาลอง ขอมู
 ชุดซอฟต์ แวร์ DSS สามารถรวบรวมส่ วนประกอบของรู ป
แบบจาลองเพือ่ นาไปสร้ างรู ปแบบจาลองทีม่ ีการสนับสนุน
ประเภทในการตัดสิ นเฉพาะ ประเภทซอฟต์ แวร์ DSS ที่มีการ
สร้ างรู ปแบบจาลองในการวิเคราะห์ ทอี่ ยู่ภายใน และจะ
สามารถสร้ างรู ปแบบจาลองของคุณเองได้ ชุดซอฟต์ แวร์ DSS
หลายชุดสามารถใช้ งานกับไมโครคอมพิวเตอร์ และเวอร์ ชันที่
ใช้ กบั เว็บได้ เช่ น PC/FOCUS, IFPS Personal
 ตัวอย่ างของการประยุกต์ ใช้ ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ (
Examples of DSS Applications)
 ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจจะใช้ งานสาหรับการปฏิบัติการ
ในหลายๆประเภท ไม่ ว่าในหน่ วยงานธุรกิจหรือหน่ วยงาน
ราชการ
 ตัวอย่ าง 1 : การใช้ DSS ในสายการบินอเมริกนั แอร์ ไลน์
(DSS at American Airline)
 American Analytical Information Management System
(AAIMS) เป็ นตัวอย่ างดั้งเดิมสาหรับระบบสนับสนุนการ
ตัดสิ นใจ ซึ่งใช้ กบั การผลิตเครื่องบิน การวิเคราะห์ ทางการเงิน
การให้ คาปรึกษาและการทางานร่ วมกัน ซึ่ง AAIMS มีการ
สนับสนุนการตัดสิ นใจของสายการบินโดยการวิเคราะห์ ข้อมูล
ที่เก็บจากสิ่ งที่เป็ นประโยชน์ ในการผลิตเครื่องบิน การจัดที่นั่ง
ให้ เหมาะสมถูกต้ อง และสถิตทิ างการบิน เช่ น การคาดการณ์
สาหรับสายการบินในส่ วนแบ่ งการตลาด รายได้ และผลกาไร
การแบ่ งประเภทของตัว๋ เครื่องบิน ราคา และอืน่ ๆ
 ตัวอย่ าง 2: การใช้ ระบบสนับสนุนในการตัดสิ นใจใน
PepsiCo (DSS at PepsiCo)
 PepsiCo และ Sedgwick James Inc. เป็ นบริษทั ผู้ถอื หุ้น
ประกันภัยใหญ่ เป็ นอันดับสองของโลก การพัฒนาการจัดการ
ของ DDS ได้ ช่วยให้ บริษทั PepsiCo สู ญเสี ยน้ อยทีส่ ุ ดจากการ
เกิดอุบัตเิ หตุ การปล้ น และในสาเหตุอนื่ ๆ ในทุกๆสั ปดาห์
Sedgwick จะโหลดข้ อมูลการเรียกร้ องค่ าสิ นไหมล่าสุ ดจาก
ศูนย์ รับเรื่องภายในประเทศจากฐานข้ อมูลบนเครื่องแม่ ข่าย
IBM RS/6000 ทาให้ ผู้จดั การหรือนักวิเคราะห์ สามารถเข้ า
อินทราเน็ตของบริษทั ได้ จากเครื่องคอมพิวเตอร์ บนโต๊ ะของ
พวกเขา
 การใช้ ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ (Using Decision
Support Systems)
 การใช้ ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ เกีย่ วข้ องกับการติดต่ อใน
ขั้นตอนการทางานของรู ปแบบจาลองในการวิเคราะห์
(Analytical Modeling) เช่ น การใช้ ชุดซอฟต์ แวร์ DSS สาหรับ
สนับสนุนการตัดสิ นใจอาจจะมีผลในลาดับของการแสดงทีม่ ี
การตอบสนองจากทางเลือกของวอทอิฟ ที่มีการเปลีย่ นแปลง
ค่ าตัวแปรได้ โดยผู้จดั การ
 การใช้ ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจมีความเกีย่ วข้ องกับ
ปัจจัยพืน้ ฐาน 4 อย่ างของแบบจาลองในการวิเคราะห์ ดู
บทสรุ ปของแบบจาลองการวิเคราะห์ สาหรับการสนับสนุนใน
การตัดสิ นใจ จากรู ปที่ 5
 การวิเคราะห์ แบบวอทอิฟ (What-If Analysis)
 ในการวิเคราะห์ แบบวอทอิฟ ผู้ใช้ สามารถจะเปลีย่ นแปลงตัว
แปรหรือจานวนความสั มพันธ์ ของตัวแปรและความชัดเจน
ของผลลัพธ์ ทไี่ ด้ จากค่ าของตัวแปรอืน่ ๆ เช่ น ถ้ าคุณใช้ ตารางทา
การ (Spreadsheet) คุณจะต้ องเปลีย่ นจานวนของรายได้ (ตัว
แปร) หรือสู ตรคิดอัตราภาษี (จานวนความสั มพันธ์ ของตัว
แปร) ในแบบจาลองด้ านการเงินในตารางทาการ หลังจากนั้น
คุณอาจสั่ งให้ โปรแกรมทาการคานวณใหม่ อกี ครั้ง เพือ่ ประเมิน
ค่ าบางตัวที่เปลีย่ นแปลง โดยเฉพาะการกาหนดตัวแปร เช่ น
กาไรสุ ทธิหลังหักภาษี เป็ นต้ น
 การวิเคราะห์ แบบละเอียด (Sensitivity Analysis )
 การวิเคราะห์แบบละเอียดเป็ นกรณี พิเศษของการวิเคราะห์แบบ
What If ค่าของตัวแปรเพียงหนึ่งตัวจะเกิดการเปลี่ยนแปลง
และเปลี่ยนแปลงผลลัพธ์ในตัวแปรอื่นๆ ดังนั้นการวิเคราะห์
แบบละเอียดจะเป็ นกรณี ของการวิเคราะห์แบบวอทอิฟ ที่
เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงซ้ าอีกครั้งในตัวแปรเพียงตัวเดียว
ในแต่ละครั้ง ชุดโปรแกรม DSS บางตัวจะมีการเปลี่ยนแปลง
ตัวแปรให้โดยอัตโนมัติ การวิเคราะห์แบบละเอียดจะใช้เมื่อผู้
ตัดสิ นใจไม่แน่ใจเกี่ยวกับการประเมินค่าของตัวแปรหลัก จาก
ตัวอย่างของตารางทาการก่อนหน้านี้ ค่าของรายได้จะต้องมี
การเปลี่ยนแปลงในการเพิ่มขึ้นและจะมีผลกระทบกับตัวแปร
ในตารางทาการและการประเมินค่า ซึ่งจะช่วยให้ผจู้ ดั การ
เข้าใจในผลกระทบของระดับรายได้ที่ผา่ นมาในปั จจัยอื่นๆ ที่
เกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจ
 การวิเคราะห์ แบบค้ นหาเป้าหมาย (Goal–Seeking Analysis)
 การวิเคราะห์ แบบค้ นหาเป้าหมาย เป็ นสิ่ งทีต่ รงกันข้ ามกับการ
วิเคราะห์ แบบวอทอิฟ และแบบละเอียด จะเป็ นการแทนที่ของสิ่ งทีเ่ ห็น
ได้ ชัดว่ ามีการเปลีย่ นแปลงในตัวแปรที่มผี ลกับตัวแปรอืน่ อย่ างไร การ
วิเคราะห์ ในการค้ นหาเป้าหมาย เรียกอีกอย่ างว่ า ‘ สามารถวิเคราะห์ ได้
อย่ างไร’ (How can analysis? ) ได้ กาหนดค่ าของเป้าหมาย
(ความสาเร็จ) สาหรับตัวแปร หลังจากนั้นจะมีการเปลีย่ นแปลงในตัว
แปรอืน่ ๆ จนกระทัง่ ค่ าของเป้าหมายนั้นเข้ าถึงเป้าหมาย เช่ น คุณ
อาจจะมีการกาหนดค่ าของเป้าหมาย (ความสาเร็จ) ไว้ ที่ 2 ล้านเหรียญ
สหรัฐสาหรับกาไรสุ ทธิหลังจากหักภาษีสาหรับการดาเนินงานของ
ธุรกิจ หลังจากนั้นคุณจะสามารถเปลีย่ นแปลงค่ าของรายได้ หรือ
ค่ าใช้ จ่ายในแบบจาลองตารางทาการ จนได้ ผลลัพธ์ 2 ล้านเหรียญ
สหรัฐ ซึ่งคุณจะพบจานวนของรายได้ หรือระดับของค่ าใช้ จ่ายในการ
ดาเนินงานของธุรกิจทีจ่ ะทาให้ เข้ าถึงเป้าหมาย
 การวิเคราะห์ แบบเหมาะสม ( Optimization Analysis)
 การวิเคราะห์ แบบเหมาะสม เป็ นการขยายความซับซ้ อนทีม่ าก
ขึน้ สาหรับการวิเคราะห์ ค้นหาเป้าหมาย โดยแทนที่ค่าของ
เป้าหมายเฉพาะสาหรับตัวแปร เพือ่ ค้ นหาค่ าที่เหมาะสม
สาหรับตัวแปรหนึ่งตัวหรือมากกว่ านั้น หลังจากนั้นตัวแปรอืน่
จะมีการเปลีย่ นแปลงอย่ างรวดเร็ว ทาให้ มีข้อจากัดเกิดขึน้
จนกว่ าจะได้ ค่าทีด่ ที สี่ ุ ดสาหรับตัวแปรเป้าหมายทีต่ ้ องการ เช่ น
ควรกาหนดค่ าระดับของผลกาไรไว้ ในระดับสู งทีค่ วรจะเป็ น
เป้าหมายแห่ งความสาเร็จ โดยวางค่ าสาหรับการเลือกแหล่ ง
ของรายได้ และประเภทของค่ าใช้ จ่าย การเปลีย่ นแปลงในตัว
แปรอย่ างมากอาจจะทาให้ มีขดี จากัดสาหรับขั้นตอนการผลิต
หรือขีดจากัดของการเงิน ดังนั้น เงือ่ นไขที่เหมาะสมจึงเป็ นสิ่ ง
สาคัญ
รูปที่ 5 การปฏิบต
ั งิ านและตัวอยางของประเภทหลั
กของแบบจาลองในการ
่
วิเคราะห ์
ระบบสารสนเทศสาหรับผูบ้ ริหาร
ระดั
บ
สู
ง
คือเทคโนโลยีที่สร้างมาช่วยการ
ทางานของผูบ้ ริหารระดับสูง มีเครื่องมือ
เช่น กราฟฟิคแบบสี จอแบบสัมผัสได้
การสังผ่
่ านเสียง และการประสานแบบ
ภาษาธรรมชาติ
จุดประสงค์หลักของ EIS คือ การ
กระจายและนาเสนอสารสนเทศมากกว่า
 ระบบสารสนเทศเพือ่ ผู้บริหาร (Executive Information
Systems : EIS)
 ระบบสารสนเทศเพือ่ ผู้บริหาร เป็ นระบบสารสนเทศทีม่ ีการรวบรวม
เอาลักษณะการทางานระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการหลายๆตัว
ร่ วมกับระบบการสนับสนุนในการตัดสิ นใจ ซึ่งในการพัฒนาเป็ นครั้ง
แรก มุ่งเน้ นไปในการประชุ มเพือ่ หากลยุทธ์ ในความต้ องการของข้ อมูล
ทีเ่ ป็ นการจัดการระดับสู งสุ ด ดังนั้น เป้าหมายความสาเร็จแรกของการ
บริการระบบสารสนเทศนั้นจะมีการเตรียมการบริหารระดับสู งสุ ด
แบบทันทีและง่ ายต่ อการเข้ าถึงข้ อมูลเกีย่ วกับปัจจัยความสาเร็จที่
สาคัญของความมั่นคง (Firm’s Critical Success Factors : CSFs)
เป็ นปัจจัยสาคัญทีม่ ีความจาเป็ นในความสาเร็จของโครงการกลยุทธ์
ขององค์ กร เช่ น การบริหารสาขาของห้ างสรรพสิ นค้าที่ต้องมีการ
พิจารณาถึงปัจจัย เช่ น ความพยายามในการส่ งเสริมการขายและ
เส้ นทางการผสมผสานของสิ นค้ า ซึ่งเป็ นส่ วนจาเป็ นของความอยู่รอด
และประสบความสาเร็จ
 คาชี้แจงเหตุผลสาหรับระบบสารสนเทศเพือ่ ผู้บริหาร
(Rationale for EIS)
 จากการศึกษาได้ แสดงให้ เห็นถึง ผู้บริหารระดับสู งสุ ดได้ รับข้ อมูลที่
พวกเขาต้ องการมาจากแหล่งข้ อมูลหลายแหล่ง ได้ แก่ จดหมาย หมาย
เหตุ จดหมายเวียน และรายงานทีท่ าขึน้ เองหรือด้ วยระบบ
คอมพิวเตอร์ แหล่งข้ อมูลอืน่ ๆ เช่ น การประชุ ม การโทรศัพท์ สอบถาม
และการพบปะในสั งคม ดังนั้นการบริหารข้ อมูลทีไ่ ด้ มามากทีส่ ุ ดมา
จากแหล่งข้ อมูลทีไ่ ม่ ใช่ คอมพิวเตอร์ (Noncomputer Sources)
 ระบบสารสนเทศเพือ่ ผู้บริหารทีใ่ ช้ คอมพิวเตอร์ เป็ นพืน้ ฐาน ได้ พฒ
ั นา
สารสนเทศทีจ่ าเป็ นต่ อผู้บริหาร มีวธิ ีการใช้ งานทีง่ ่ าย มีการเตรียมการ
บริหารกับข้ อมูลทีผ่ ู้บริหารต้ องการ ระบบงานสาหรับการทางานบน
เครือข่ ายมีราคาถูกลง และการทางานร่ วมกันของอินทราเน็ต
ความสามารถของระบบ EIS
มีความสามารถที่สาคัญในการทางาน
พอสรุปได้ดงั นี้ คือ
1. Drill-Down Menu เป็ นเครื่องมือ ทีช่ ่ วยผู้บริหาร
หาสาเหตุหรือทีม่ าของสารสนเทศทีไ่ ด้ รับ โดย
สามารถเข้ าไปสื บค้ นและนาข้ อมูลออกมาใช้ ได้ ใน
ระดับที่ต้องการ
2. Ad Hoc Analysis ให้ เครื่องมือในการวิเคราะห์
ข้ อมูล เช่ น เดียวกับระบบ DSS โดยสามารถนาเสนอ
ความสามารถของระบบ EIS
มีความสามารถที่สาคัญในการทางาน
พอสรุปได้ดงั นี้ คือ
3.
Trend Analysis เป็ นเครื่องมือ พยากรณ์ วเิ คราะห์
แนวโน้ มของสิ่ งต่ างๆ โดยใช้ ข้อมูลภายในและภายนอก
4. Exception Reporting ให้ เครื่องมือในการออก
รายงานของข้ อมูลทีม่ คี วามผิดปกติ เช่ นเดียวกับ
MRS
ความสามารถของระบบ EIS
มีความสามารถที่สาคัญในการทางาน พอสรุป
ได้ดงั นี้ คือ
5. Intelligent EIS ระบบอัจฉริยะทีม
่ ีการเตือนผู้บริหารหากพบความ
ผิดปกติจากการดาเนินงานในองค์ กร โดยทาให้ เป็ นระบบอัตโนมัติ
เพือ่ ให้ ผ้ ูบริหารทางานได้ สะดวกรวดเร็วมากขึน้
6. Intelligent with DSS
เป็ นการรวมกับระบบ DSS ในการ
ทางาน โดยระบบ EIS จะทาหน้ าทีเ่ ตือนผู้บริหารเมือ่ เกิด
ปัญหา ส่ วนข้ อมูลใน DSS ช่ วยในการวิเคราะห์ หาทางเลือก
 ตัวอย่ างของการบริหารของบริษัท Conoco ที่ผลิตนา้ มันที่ใหญ่
ทีส่ ุ ดในโลก การบริหาร EIS ของบริษทั Conoco จะใช้ ผู้จดั การอาวุโส
ทั้งหมดและพนักงานในพืน้ ที่กว่ า 4,000 คน ในการทางานทีบ่ ริษทั แม่ ที่
ตั้งอยู่ในเมือง Houston และทั่วโลก ดังนั้น ระบบสารสนเทศเพือ่
ผู้บริหาร จึงจะกลายเป็ นสิ่ งจาเป็ นสาหรับผู้จดั การ นักวิเคราะห์ และ
พนักงานทีม่ ีความรู้ (Knowledge Workers) ทั่วโลก ทีเ่ รียกว่ า “ระบบ
สารสนเทศของทุกๆคน” หรือทีร่ ู้ จกั กันในชื่อ ระบบสารสนเทศ
สนับสนุนผู้บริหาร (Executive Support Systems : ESS) และระบบ
สารสนเทศองค์ กร (Enterprise Information Systems : EIS) ซึ่งทาให้
ผู้จดั การสามารถทางานได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึน้
กรณีศึกษาจริง Office Depot, Inc. มูลค่ าทางธุรกิจของการ
ประมวลผลการวิเคราะห์ ออนไลน์
 บริษทั Office Depot ได้ รวมเข้ ากับบริษทั Staple บริษทั สู ญเสี ย
พนักงานที่มีประสิ ทธิภาพกว่ า 12 คนซึ่งเคยเป็ นผู้ช่วยเหลือในการสร้ าง
รายงานของการขายสิ นค้ าใน 600 ร้ านค้ าทั่วโลก
 แต่ ต้องขอบคุณการใช้ งานการประมวลผลการวิเคราะห์ ออนไลน์
(OLAP) โดยเป็ นการใช้ งานจากผู้ค้าจานวน 200 รายและผู้บริหาร
ทางด้ านการเงิน บริษทั Office Depot ได้ จดั การสร้ าง “ สิ่ งทีถ่ ูกต้ อง
สมควร” (Respectable) ซึ่งทาให้ การขายสู งขึน้ ถึง 4 เปอร์ เซ็นต์ ในช่ วง
ครึ่งปี หลัง โดยกลุ่มคนทีเ่ ป็ นผู้ค้าร่ วมกับเครื่องมือในการวิเคราะห์ ของ
ตัวเอง บริษทั Delray ซึ่งตั้งอยู่ในรัฐ Florida นั้นสามารถ “ ปฏิบัติการที่
มีประสิ ทธิภาพมากทีส่ ุ ดโดยทีพ่ นักงานของพวกเขานั้นไม่ ถูกไล่ ออก”
Spindel
 บริษทั Office Depot เริ่มทีจ่ ะใช้ Essbase และ Wired ของซอฟต์ แวร์
OLAP ในต้ นปี 1996 ซึ่งสิ่ งดังกล่ าวนั้นอนุญาตให้ ผ้ ูค้า พนักงานขาย
และผู้บริหารกว่ าร้ อยคนสามารถทางานตามความต้ องการของตัวเอง
 เมื่อปี ที่ผ่านมา บริษทั Office Depot อยู่ในอันดับทีส่ ามของจานวนผู้ขาย
ปลีกทางด้ านคอมพิวเตอร์ ด้วยยอดขายถึง 2.59 พันล้ านเหรียญสหรัฐ
ตามหลังบริษทั CompUSA และร้ าน Best Buy
 บริษทั Office Depot ได้ ลขิ สิ ทธิ์สาหรับใช้ ในการโฆษณาส่ งเสริมการ
ขาย บริษทั Office Depot ทีไ่ ด้ มีการลงทุนเกือบ 5 ล้ านเหรียญสหรัฐ
สาหรับซอฟต์ แวร์ Essbase และเครื่องแม่ ข่าย Compaq 7000 ทีเ่ ป็ น
วิธีการทีม่ ีความสมบูรณ์ แบบในห้ าปี ก่ อนทีพ่ ยายามจะแทนทีแ่ ม่ ข่าย
ระดับกลางของ IBM AS/400 กับเครื่องเมนเฟรม 900 – MIPS IBM ที่
ทางานใน DB2
 บริษัท Office Depot เตรียมผู้จัดหาสิ นค้ าทีม่ กี ารทางานร่ วมกับ
การเข้ าถึงข้ อมูลทางการตลาดในระบบอินทราเน็ตทีใ่ ช้ Wired
ของการเชื่อมโยงใน OLAP บริษัทพร้ อมทีจ่ ะแบ่ งส่ วนในการ
ทางานของการขายร่ วมกับผู้จัดหาสิ นค้ าหลักอีกสองแหล่ ง
ทั้งหมดทีเ่ ป็ นข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ในการเปลีย่ นแปลงชุดการ
ติดต่ อธุรกิจภายใน
 คาถามจากกรณีศึกษา
 อะไรเป็ นมูลค่ าทางธุรกิจของการประมวลผลการวิเคราะห์ ออนไลน์ ของ
บริษทั Office Depot
 บริษทั Office Depot ได้ ผลจากการลงทุนสาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่นา OLAP ไปใช้ งานอย่ างไร
 บริษทั Office Depot ควรทีจ่ ะมีการเตรียมให้ ผู้จดั ส่ งสิ นค้าผ่ านเอ๊ กซ์
ทราเน็ตเพือ่ เข้ าถึงข้ อมูลทางการตลาดหรือไม่ เพราะอะไร
เปรียบเทียบ TPS MIS และ DSS
ปัจจัย
TPS
MIS
1. วัตถุประสงค์ เพือ่ ใช้ งานด้ าน
หลัก
ปฏิบตั ิการ
เพือ่ ควบคุม ตรวจสอบ
การปฏิบตั ิการและสรุ ป
สภาพสถานการณ์
เน้ นการควบคุม การ
จัดการ ผลสรุ ปการ
ปฏิบตั ิการ
DSS
เพือ่ สนับสนุนการ
ตัดสิ นใจของผู้บริหาร
2. จุดเด่ นของ
ระบบ
เน้ นข้ อมูลและ
ประสิ ทธิภาพสาหรับ
การปฏิบตั ิงาน
เน้ นด้ านการตัดสิ นใจและ
วางแผน
3. ผู้ใช้ ระบบ
ผู้ปฏิบตั ิงาน ผู้ควบคุม ผู้จัดการและผู้ควบคุม ผู้บริหารทุกระดับ โดยเน้ น
การปฏิบตั ิงาน
การปฏิบตั ิงาน ผู้บริหาร ทีผ่ ู้บริหารระดับกลางและ
ระดับกลาง
ผู้เชี่ยวชาญ
เปรียบเทียบ TPS MIS และ DSS (ต่ อ)
ปัจจัย
TPS
MIS
DSS
4. ชนิดของ
ปัญหา
มีโครงสร้ างแน่ นอน
มีโครงสร้ าง
5. แหล่ งข้ อมูล
ข้ อมูลจากการ
ปฏิบตั ิงานแต่ ละ
ขอบเขตธุรกิจใน
องค์ การ
มีกฎเกณฑ์ การทางาน
ทีช่ ัดเจน
ข้ อมูลแต่ ละขอบเขตการ ข้ อมูลจากหลายแหล่ งทั้ง
บริหารในองค์ การข้ อมูล ภายใน (เช่ น จากระบบ
จากระบบ TPS
TPS, MIS) และภายนอก
องค์ การ
มีกฎเกณฑ์ การทางานที่ สามารถปรับเปลีย่ นได้
ชัดเจน สามารถ
ตามสถานการณ์
ปรับเปลีย่ นได้ บ้าง
6. ความ
คล่ องตัวของ
ระบบ
กึง่ โครงสร้ างและไม่ มี
โครงสร้ าง
เปรียบเทียบ DSS กับ ES
DSS
ปัจจัย
ES
ทดแทนคาแนะนาของมนุษย์
การตัดสิ นใจ
ช่วยสนับสนุนการตัดสิ นใจ
ของมนุษย์
ผูใ้ ช้ระบบทาการตัดสิ นใจเอง
ทิศทางของคาถามหลัก
ผูใ้ ช้ป้อนข้อมูลถามระบบ
ระบบถามคาถามกับผูใ้ ช้
ลักษณะของขอบเขตปัญหา
กว้าง และซับซ้อน
แคบ และเฉพาะเจาะจง
วัตถุประสงค์
ระบบทาการตัดสิ นใจ
ความสามารถในการให้เหตุผล ไม่มี
มี แต่จากัด
ความสามารถในการอธิบาย
มี
จากัด
ระบบสารสนเทศสาหรับกลุ่มบุคคลในการตัดสิ นใจ
Group Decision Support Systems-GDSS
GDSS เป็ นระบบสารสนเทศประเภทหนึ่งของ DSS
ซึง่ มีลก
ั ษณะเป็ นระบบคอมพิวเตอรแบบโต
ตอบ
์
้
ได(interactive)
ในการสนับสนุ นงานแกปั
้
้ ญหาทีไ่ มมี
่
โครงสราง
สาหรับผูตั
่ างานเป็ นกลุม
้
้ ดสิ นใจทีท
่
เป้ าหมาย : เพือ่ ปรับปรุงประสิ ทธิภาพการประชุม
และการตัดสิ นใจ
ทาให้รวดเร็วขึน
้
 สนับสนุ นการแลกเปลีย
่ นความคิดเห็ น ช่วย
ระบบสนับสนุนการทางานเป็ นกลุ่ม
GDSS คือ ทาหน้ าที่ ในการช่วยการ
ตัดสินใจแบบที่ไม่มีโครงสร้างของกลุ่มที่มี
สมาชิกที่ต้องทาการตัดสินใจร่วมกัน ส่วน
ของกรุป๊ แวร์ นัน้ จะอยู่ในเรื่องของระบบ
สานักงานอัตโนมัติ(OAS)
กลุ่มงานและการทางานของกลุ่ม
หมายถึง คนมากกว่า 2 คน เพื่อต้องการ
การทางานของกลุมมี
3 แบบ
่
1. วิธีทวไป
ั่
ได้แก่ การทางานของ
กลุ่มต่าง ๆ คือ มีการประชุมปรึกษา
กันและร่วมกันตัดสินใจ
2. วิธีแบบ Nominal Group Technique หรือ NGT
เป็ นการติดต่อสื่อสารภายในกลุ่ม
3. วิธีแบบ Dephi เป็ นการใช้
ระบบช่ วยสนับสนุนการตัดสิ นใจของกลุ่ม
คือ ระบบสารสนเทศที่ช่วยเสริม
ความสามารถในการตัดสินใจของกลุ่ม
มี 3 ชนิด คือ
 ระบบคอมพิวเตอร์ตว
ั เดียว
 ระบบตอบสนองด้วยแผงป้ อนพิเศษ
 ระบบสถานี งานเต็มรูปแบบ ได้แก่ ระบบ
ระบบสารสนเทศสาหรับกลุ่มบุคคลในการตัดสิ นใจ
ส่ วนประกอบของ GDSS
1.
2.
3.
4.
อุปกรณ์ (Hard ware)
ชุดคาสั่ ง (Software)
ฐานแบบจาลองของระบบ GDSS (Model Base)
บุคลากร (People)
ระบบสารสนเทศสาหรับกลุ่มบุคคลในการตัดสิ นใจ
ส่ วนประกอบของ GDSS
ระบบแบบจาลอง GDSS
(GDSS Model Base)
ผู้จัดการโต้ ตอบ
(Dialogue Manager)
ตัวประมวลผล GDSS
(GDSS Processor)
ระบบฐานข้ อมูล GDSS
(GDSS Database System)
ซอฟต์ แวร์ สนับสนุน
การทางานกลุ่ม
(Groupware)
ระบบสารสนเทศสาหรับกลุ่มบุคคลในการตัดสิ นใจ
ประเภทของ GDSS
แบบห้องการตัดสิ นใจ(Decision room)
การตัดสิ นใจโดยใช้เครือขายวงแลน(Local
่
Area Decision)
การประชุมทางไกล(Teleconferencing)
เครือขายการตั
ดสิ นใจแบบ (Wide Area
่
Decision Network –WAN)
ประเภทของ GDSS
สูง
Local area
Decision networks
Wide area
Decision network
Decision room
Teleconferencing
ความถี่ในการ
ตัดสิ นใจ
ต่า
ใกล้
ไกล
ระยะทางของผูต้ ดั สิ นใจ
ระบบสารสนเทศสาหรับกลุ่มบุคคลในการตัดสิ นใจ
ประโยชน์ของ GDSS
เตรี ยมความพร้อมการประชุม อานวยความสะดวก
ทาให้เกิดการมีส่วนร่ วมในการประชุมเพิ่มขึ้น
สร้างบรรยากาศของความร่ วมมือ
การประเมินมีลกั ษณะเป็ นวัตถุวสิ ยั มากขึ้น
ช่วยให้มีการเข้าถึงแหล่งข้อมูลภายนอกได้อย่างรวดเร็ ว
ผลของการประชุมมีการบันทึกไว้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
ประโยชนของระบบ
GDSS
์
สนับสนุนการประมวลผลแบบคู่ขนาน
การประชุ มร่ วมของสมาชิกกลุ่มและการทางานร่ วมกัน
เพิม่ ศักยภาพของการแสดงความคิดเห็น
อนุญาตให้ กลุ่มสามารถใช้ เทคนิคการแก้ปัญหาแบบมีโครงสร้ าง
ง่ ายในการเข้ าถึงข้ อมูลจากภายนอก
การติดต่ อสื่ อสารไม่ ต้องเป็ นแบบตามลาดับ
ให้ ผลลัพธ์ จากการออกเสี ยง
สามารถวางแผนล่วงหน้ าในการประชุ มกลุ่มได้
ผู้เข้ าประชุ มสามารถปฎิสัมพันธ์ กนั ได้ ทนั ที
สามารถเก็บข้ อมูลในการประชุ มไว้ ในการพิจารณาหรือวิเคราะห์ ครั้งต่ อไปได้
ตัวอย่ างของโปรแกรมและเครื่องมือที่ใช้ ใน GDSS
แบบสอบถามทางอิเล็กทรอนิกส์
เครื่องมือทีใ่ ช้ แสดงความคิดเห็นทางอิเล็กทรอนิกส์
เครื่องมือรวบรวมความคิดเห็น
เครื่องมือในการออกเสี ยง
เครื่องมือในการวิเคราะห์ และการกาหนดผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ยของ
การตัดสิ นใจ
เครื่องมือในการสร้ างนโยบาย
พจนานุกรมของกลุ่ม