ทิศทางแผนพัฒนาเศรษบกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบัยที่ 11
Download
Report
Transcript ทิศทางแผนพัฒนาเศรษบกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบัยที่ 11
ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559)
และบทบาทของกระทรวงคมนาคมกับการพัฒนาในระยะต่ อไป
โดย
นายสมชาย ศักดาเวคีอศิ ร
ที่ปรึกษาด้ านนโยบายและแผนงาน
วันศุกร์ ท่ ี 17 มิถุนายน 2554
การสัมมนา เรื่ อง “ทิศทางของกระทรวงคมนาคมภายใต้ ประชาคมอาเซียน และ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 10”
ณ อาคารสโมสรและหอประชุมกระทรวงคมนาคม ชัน้ 3
17 มิถน
ุ ายน 2554
www.nesdb.go.th
1
ประเด็นนาเสนอ
17 มิถน
ุ ายน 2554
1
ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559)
2
แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาโลจิสติกส์ ของประเทศไทย
3
ประเด็นพัฒนาด้ านโลจิสติกส์ ในระยะต่ อไป
4
ข้ อเสนอแนะภารกิจของกระทรวงคมนาคม
www.nesdb.go.th
2
ปฐมบท แผนพัฒนา ฯ
ผลการพัฒนาช่ วงแผนฯ 1 – 7 เศรษฐกิจก้ าวหน้ า สังคม
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมมีปัญหา การพัฒนาไม่ ย่ งั ยืน
การประยุกต์ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
• ภาครั ฐ
ภูมคิ ้ ุมกัน
• ภาคการเงินเข้ มแข็ง พัฒนาพลังงานทางเลือก มี
ระบบการออมระยะยาว การบริหารโครงการ
ขนาดใหญ่ มีประสิทธิภาพ
: นโยบายรั ฐบาล
แผนงานโครงการ
• ธุรกิจเอกชน : บริหารโดยยึดหลัก
พอประมาณ เป็ นธรรม
มีเหตุมีผล
• เกษตรกร
แผนฯ 8 ปรับเปลี่ยนกระบวนการวางแผน ยึดตามแนว “เศรษฐกิจ
พอเพียง” ต่ อเนื่องถึงช่ วงแผนฯ 9 – 10
• CSR ในภาคธุรกิจขยายตัว
• เกษตรกรลดรายจ่ าย พึ่งตนเอง มั่นคง
• เครื อข่ ายวิสาหกิจชุมชน
: เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรอินทรี ย์
• ประชาชน/ชุมชน : รั บรู้ เข้ าใจ ประหยัด
• สถาบันการศึกษา : พัฒนาหลักสูตร
การศึกษา/ฝึ กอบรม
ภาพรวมสังคมไทยมีภูมิค้ ุมกันเพิ่มขึน้ แต่ ยังไม่ เพียงพอ จาเป็ นต้ องสร้ างให้ เข้ มแข็งยิ่งขึน้ ใน 4 ด้ าน ได้ แก่ ด้ านวัตถุ
ด้ านสังคม ด้ านสิ่งแวดล้ อม และด้ านวัฒนธรรม
17 มิถน
ุ ายน 2554
www.nesdb.go.th
3
ผลการพัฒนาในช่ วง 3 ปี แรกของแผนฯ 10
2547
3 ปี แรกของแผนฯ 10 (50 - 51)
เชื่อมโยงเพิ่มขึน้ ต่ อเนื่อง เช่ น ASEAN +3, ASEAN +6 เป็ นต้ น
ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก สัดส่ วนการส่ งออกไทยในโลก เพิ่มขึ ้นเป็ น 1.12% (ช่วงแผนฯ 9 = 1.08%)
เทคโนโลยี
• ผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยีใหม่ เพิ่มขึน้ อย่ างเนื่อง
• มีการจดสิทธิบัตรเพิ่มมากขึน้ ในประเทศไทย เช่ น สิทธิของยีนความหอมในข้ าว
สัดส่ วนผู้สูงอายุ (60ปี +)
สังคม
การเคลื่อนย้ ายคนเสรี
ทรั พยากรและสิ่งแวดล้ อม
2548
2552
10.4
11.5
* ยังคงมีโรคระบาดใหม่ เกิดขึน้ เช่ น ไข้ หวัดใหญ่ สาย
พันธุ์ใหม่ 2009 (AH1N1)
แรงงานต่ างด้ าวในประเทศไทยยังคงเพิ่มขึน้ อย่ างต่ อเนื่อง และผู้หลบหนีเข้ าเมือง
เช่ น โรฮิงญา
• สิ่งแวดล้ อม ภาวะอากาศแปรปรวน นา้ ท่ วม การกัดเซาะชายฝั่ ง
• ราคานา้ มันยังคงผันผวน ทาสถิตสิ ูงสุดที่ 147 $/bbl (กลางปี 51)
• การผลิตพลังงานทางเลือกจากพืช
4
ผลการพัฒนาเศรษฐกิจ 3 ปี แรกของแผนฯ 10
2545
แผนฯ 9
2546 2547 2548
2549
2550
แผนฯ 10
2551 2552
3.36
5.08
3.66
2.11
2.49
2.10
-0.29
-4.46
1.07
1.08
1.07
1.08
1.09
1.11
1.12
1.24
18.1
17.7
17.3
18.3
19.0
18.8
18.6
16.8
73.35
73.17
70.96
71.26
69.10
66.60
64.05
75.03
13.8
14.5
13.1
12.4
12.4
12.1
12.2
12.5
เป้าหมาย
1. ด้ านการผลิต
- ผลิตภาพการผลิตรวม
(%)
- สัดส่ วนการส่ งออกใน
ตลาดโลก
- ต้ นทุนด้ านโลจิสติกส์ ต่อ
GDP (%)
- สัดส่ วนอุปสงค์ ใน
ประเทศต่ อภาค
เศรษฐกิจระหว่ าง
ประเทศ
- สัดส่ วนการผลิตภาค
เกษตรและอุตสาหกรรม
เกษตร
เฉลี่ยไม่ ต่ากว่ า
ร้ อยละ 3
เพิ่มขึน้
ร้ อยละ 13
ภายในปี 2554
ร้ อยละ 75
ภายในปี 2554
เพิ่มขึน้ เป็ น
ร้ อยละ 15 ของ
GDP ในปี 2554
ผลการพัฒนาเศรษฐกิจ 3 ปี แรกของแผนฯ 10
แผนฯ 9
แผนฯ 10
2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552
เป้าหมาย
2. ด้ านเสถียรภาพระบบเศรษฐกิจ
- อัตราเงินเฟ้อทั่วไปโดยเฉลี่ย
0.70
(%)
- อัตราว่ างงานต่ อกาลังแรงงาน
2.40
(%)
- หนีส้ าธารณะต่ อ GDP (%)
53.77
- สัดส่ วนการออมต่ อ GDP (%)
- การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดต่ อ
GDP (%)
- การใช้ นา้ มันภาคขนส่ งต่ อการ
ใช้ พลังงานทัง้ หมด (%)
1.80
2.70
4.50
4.70
2.30
5.50
-0.90
2.16
2.07
1.83
1.51
1.38
1.38
1.49
เฉลี่ยร้ อยละ
3.0-3.5 ต่ อปี
ไม่ เกินร้ อยละ 2
48.84
48.09
46.47
40.48
37.96
38.12
43.85
ไม่ เกินร้ อยละ 50
27.51
28.30
28.49
27.18
29.36
32.75
29.42
28.45
5.50
3.30
1.70
-4.30
1.00
6.30
0.50
7.7
37.1
37.2
37.2
37.6
36.3
36.4
35.1
35.8
ร้ อยละ 35 ภายในปี
2554
เฉลี่ยไม่ เกิน
ร้ อยละ 2 ต่ อปี
เหลือร้ อยละ30
ผลการพัฒนาเศรษฐกิจ 3 ปี แรกของแผนฯ 10
แผนฯ 9
แผนฯ 10
2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 เป้าหมาย
3. ด้ านการสร้ างความเข้ มแข็งของวิสาหกิจชุมชนและกระจายรายได้
- ผลิตภัณฑ์ และบริการของ 41.30 39.90 40.00 39.60 38.90 38.20 37.8
ไม่ ต่ากว่ า
SME ต่ อ GDP (%)
ร้ อยละ 40
- สัดส่ วนรายได้ ของกลุ่ม
13.23
12.09
14.3 12.81 - 11.92 ไม่ เกิน 10
รายได้ สูงสุด 20 % แรกต่ อ
เท่ าภายในปี
รายได้ กลุ่มต่าสุด 20 %
2554
โครงสร้างเศรษฐกิจ
ไทย
(ด้านอุปสงค์)
ค่าใชจ่้ ายภาค
ครัวเรือน
ค่าใชจ่้ ายภาครัฐ
การลงทุน
การสง่ ออก
ิ ค ้าและบริการ
สน
การนาเข ้า
ิ ค ้าและบริการ
สน
ความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ
แผนฯ 7
(253539)
3 ปี แรกแผนฯ
10
(2550-52)
55.1
52.3
8.2
9.5
41.3
21.7
43.5
69.3
48.0
53.0
ผลตอบแทน
ปั จจัยการผลิต
แผนฯ 7
(2535-39)
3 ปี แรกแผนฯ 10
(2550-52)
27.7
72.3
28.9
71.1
แรงงาน
ที่ไม่ ใช่ แรงงาน
โครงสร้ างเศรษฐกิจไทย
ผลตอบแทนปั จจัยการผลิต
สุทธิจากต่ างประเทศ (NFI)
แผนฯ 7
2 ปี แรกแผนฯ 10
NFI (Bil Baht)
NFI/GDP (%)
-334.9
-2.4
-668.2
-5.2
แผนฯ 7
(2535-39)
แผนฯ 8
(2540-44)
แผนฯ 9
(2545-49)
3 ปี แรกแผนฯ 10
(2550-52)
เกษตรกรรม
9.8
10.1
9.6
8.8
นอกภาคเกษตร
90.1
89.9
90.4
91.2
• อุตสาหกรรม
33.7
37.3
40.6
41.9
• บริการและอื่นๆ
56.4
52.6
49.8
49.3
(ด้ านอุปทาน)
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้ างเศรษฐกิจและผลการพัฒนา
สัดส่ วนการผลิตรายสาขาต่ อ GDP
%
เปรียบเทียบอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจและผลิตภาพการผลิตรวมของไทย
%
ที่มา : สานักบัญชีประชาชาติ สศช.
ที่มา : สานักบัญชีประชาชาติ สศช.
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้ างเศรษฐกิจ
การเติบโตจากจากการเพิ่มปริมาณการใช้ ปัจจัยการผลิต
ประเทศไทยปรับเปลี่ยนโครงสร้ างการผลิตจากเดิมซึ่งเป็ นประเทศ
กสิกรรมมาสูป่ ระเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สัดส่วนภาคอุตสาหกรรมสูงกว่าภาคเกษตรกรรมเป็ นครัง้ แรกและ
ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ตังแต่
้ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 เป็ นต้ นมา
การขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ผ่านมามีที่มาจากการเพิ่มปริ มาณการใช้
ปั จจัยการผลิตเป็ นหลัก
ภายใต้ ข้อจากัดด้ านทรัพยากร การพัฒนาตามแนวทางเดิม ประเทศ
ไทยจะสูญเสียความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจในระยะยาว
9
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและภาพรวมการพัฒนา
%
สัดส่วนการจ้ างงานตามภาคการผลิต
การขยายตัวทาง
เศรษฐกิจ
ที่มีท่ มี าจากการเพิ่ม
ปริมาณการใช้ ปัจจัย
การผลิตเป็ นหลัก โดยที่
ประสิทธิภาพการใช้
ปั จจัยการผลิตไม่ เพิ่มขึน้
เศรษฐกิจ
ขยายตัวดีแต่ ยัง
ขาดคุณภาพและ
ความยั่งยืน
ที่มา : สานักบัญชีประชาชาติ สศช.
โครงสร้ างการจ้ างงาน
ผลจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
ความเหลื่อมลา้ ทางสัง คม ผลประโยชน์ จากการพัฒนามักตกอยู่ กับ
ประชาชนบางส่วนของประเทศ โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรม
ประชาชนส่วนใหญ่ซึ่งอยู่ในภาคเกษตรและบริ การเป็ นเจ้ าของการผลิต
ในประเทศในสัดส่วนที่น้อยลงเรื่ อยๆ
ปั ญหาสังคมเชิงโครงสร้ าง ความเหลื่อมล ้าทางรายได้ การเข้ าถึ งโอกาส
ทางเศรษฐกิจ และความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
การพั ฒ นาขาดความสมดุ ล และความยั่ ง ยื น เศรษฐกิ จ เติ บ โต
อย่างเปราะบาง สังคมมีปัญหาจากการแข่งขัน
10
โครงสร้ างการส่ งออก-นาเข้ าของไทย
ั ว่ น (%)
สดส
ิ ค้าสง
่ ออก
สน
แผน 6
(2534)*
แผน 7
(2539)*
แผน 8
(2544)*
แผน 9
(2549)*
แผน 10
(2552)*
เกษตร
20.85
16.08
10.83
10.12
10.77
อุตสาหกรรม
เกษตร
10.54
8.95
7.40
6.14
7.40
อุตสาหกรรม
65.92
71.83
75.28
77.14
76.38
้ื เพลิง
แร่และเชอ
1.50
2.00
3.14
5.32
5.45
อืน
่ ๆ
1.20
1.14
3.35
1.28
-
• การนาเข้ าสินค้ าทุน สินค้ า
วัตถุดิบและสาเร็จรูปมีแนวโน้ ม
ลดลง เนื่องจากผู้ประกอบการ
ไทยสามารถผลิตชิ ้นส่วนใน
ประเทศได้ มากขึ ้น โดยเฉพาะ
ในอุตสาหกรรมยานยนต์
• อย่างไรก็ตาม ยังคงมี
การนาเข้ าสินค้ าดังกล่าวใน
สัดส่วนที่สงู เมื่อเทียบกับการ
นาเข้ าในภาพรวมของประเทศ
•สินค้ าอุตสาหกรรมยังเป็ น
สินค้ าส่ งออกหลักมาโดย
ตลอด และมีสัดส่ วนเพิ่ม
สูงขึน้ เนื่องจากไทยยังคง
เป็ นฐานการผลิตเพื่อส่ งออก
ที่สาคัญ
•ขณะที่สัดส่ วนการส่ งออก
สินค้ าเกษตรและ
อุตสาหกรรมเกษตรลดลง
ั ว่ น (%)
สดส
ิ ค้านาเข้า
สน
แผน 6
(2534)*
แผน 7
(2539)*
แผน 8
(2544)*
แผน 9
(2549)*
แผน 10
(2552)*
9.23
8.74
11.95
19.66
18.60
ิ ค้าทุน
สน
31.06
33.91
31.52
28.29
27.25
ิ ค้าว ัตถุดบ
สน
ิ และกึง่
สาเร็จรูป
45.80
41.51
44.74
40.60
40.35
ิ ค้าอุปโภค บริโภค
สน
6.22
6.89
7.79
7.33
10.14
ยานพาหนะและ
่
อุปกรณ์ขนสง
5.39
6.76
3.30
3.05
3.45
อืน
่ ๆ
2.30
2.19
0.69
1.07
0.20
ิ ค้าเชอ
ื้ เพลิง
สน
ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร * ปี สุดท้ ายของแผนฯ
11
สถานภาพความสามารถในการแข่ งขันโดยรวมของประเทศไทย
ความสามารถในการแข่งขันของไทยปี 2546 - 2553
2546
2547
2548
2549
2551
2551
2552
2553
10
ประเทศไทยมีระดับความสามารถในการ
แข่ งขันทางเศรษฐกิจระดับปานกลาง
(Middle Income Tier)
ช่ วงระยะเวลา 10 ปี ที่ผ่านมา อันดับ
ความสามารถในการแข่ งขันของไทยอยู่ใน
ระดับทรงตัวหรื อมีทศิ ทางปรั บตัวแย่ ลง
Competitiveness Ranking
15
20
25
28
26
25
27
29
28
30
35
32
34
26
33
33
33
26
34
36
40
WEF (GCI)
45
IMD
50
ผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของไทยแยกตามปั จจัยหลักของ IMD*
ประเทศไทย
’50
’51
’52
’53
อ ันด ับโดยรวม
33
27
26
26
1. สมรรถนะเศรษฐกิจโดยรวม
15
12
14
6
ิ ธิภาพของภาครัฐ
2. ประสท
27
22
17
18
ิ ธิภาพของภาคเอกชน
3. ประสท
34
25
25
20
4. โครงสร ้างพืน
้ ฐาน
48
39
42
46
จุดแข็ง
สมรรถนะเศรษฐกิจโดยรวม
กลุม
่ ทีม
่ ก
ี ารปรับตัวดีขน
ึ้
ิ ธิภาพของภาครัฐ
ประสท
ิ ธิภาพของภาคเอกชน
ประสท
จุดอ่อน
โครงสร ้างพืน
้ ฐาน โดยเฉพาะ
ด ้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
* จานวนประเทศในการจัดอันดับของ IMD แต่ละปี อยูท่ ี่ประมาณ 55-58 ประเทศ
12
จากแผนฯ 10 สู่แผนฯ 11
13
กฎ กติกาใหม่ ของโลกในการบริหาร
จัดการด้ านเศรษฐกิจและสังคมโลก เช่ น
การค้ าและการลงทุน ด้ านการเงิน
สิ่งแวดล้ อม และสิทธิมนุษยชน
การปรั บตัวเข้ าสู่เศรษฐกิจโลกแบบหลาย
ศูนย์ กลางรวมทัง้ เอเชีย
การเข้ าสู่สังคมผู้สูงอายุของโลกอย่ าง
ต่ อเนื่อง
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกก่ อให้ เกิด
ความเสียหายหลายด้ าน
ความมั่นคงทางอาหารและพลังงานจะ
เป็ นปั ญหาสาคัญในอนาคต
ความก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยีมีบทบาท
สาคัญต่ อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
การเปลี่ยนแปลงภายในประเทศ
การเปลี่ยนแปลงในระดับโลก
การประเมินสถานการณ์ ความเสี่ยงและการสร้ างภูมคิ ้ ุมกัน
การก่ อการร้ ายสากลเป็ นภัยคุกคาม
ประชาคมโลก
17 มิถน
ุ ายน 2554
ด้ านเศรษฐกิจ ภาคการเงินเข้ มแข็ง การคลัง
ขาดสมดุล ภาคเกษตรต้ นทุนสูง ขาดแคลน
พืน้ ที่และแรงงาน อุตสาหกรรมพึ่งต่ างประเทศ
บริการและท่ องเที่ยวมีโอกาส
ด้ านสังคม เปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ สังคม
เครื อญาติส่ ูปัจเจก วัฒนธรรมไทยเชื่อมโยงกับ
วัฒนธรรมต่ างชาติ ระดับการศึกษาและ
สุขภาพดีขนึ ้ CSR เพิ่มขึน้ แต่ IQ EQ ของเด็ก
ผลิตภาพแรงงาน และความเหลื่อมลา้ ยังเป็ น
ปั ญหา กลุ่มชนชัน้ กลางยังมีสัดส่ วนน้ อย
ด้ านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม เสื่อม
โทรม รุนแรง ภาวะโลกร้ อนกระทบต่ อ
การเกษตร ยากจนและย้ ายถิ่น การบุกรุกป่ า
เพิ่มขึน้ พึ่งพลังงานจากต่ างประเทศ
ภาค พืน้ ที่ และชุมชน กรุงเทพฯ และภาค
กลางมีบทบาทสูง การเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ น
เมืองเร็วขึน้ การกระจายอานาจส่ งผลต่ อการมี
ส่ วนร่ วมของชุมชน ท้ องถิ่น
ความมั่นคงของประเทศ ปั ญหาความขัดแย้ ง
ภายในประเทศเป็ นภัยคุกคามรู ปแบบใหม่
ต้ องรักษาความสัมพันธ์ กับประเทศเพื่อนบ้ าน
www.nesdb.go.th
14
17 มิถน
ุ ายน 2554
การบริ หารภาครั ฐอ่ อนแอ
โครงสร้ างทางเศรษฐกิจไม่ สามารถ
รองรั บการเจริญเติบโตอย่ างยั่งยืน
โครงสร้ างประชากรไม่ สมดุล
ค่ านิยมที่ดีงามของไทยเสื่อมถอย
ฐานทรั พยากรธรรมชาติและ
สภาพแวดล้ อมของประเทศ
มีแนวโน้ มเสื่อมโทรมรุ นแรง
ประเทศไทยยังคงมีความเสี่ยงด้ าน
ความมั่นคงในุกระดับ และภัย
คุกคามต่ างๆ มีแนวโน้ มรุ นแรงและ
ผลกระทบเพิ่มขึน้
สร้ าง 6 ภูมคิ ้ ุมพร้ อมเผชิญการเปลี่ยนแปลง
6 ความเสี่ยงที่ประเทศไทยต้ องเผชิญ
การประเมินสถานการณ์ ความเสี่ยงและการสร้ างภูมคิ ้ ุมกัน
www.nesdb.go.th
ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
ภาคเกษตรเป็ นฐานรายได้ หลักและ
ความมั่นคงด้ านอาหารของประเทศ
การพัฒนาประเทศให้ อยู่บนฐานความรู้
และเทคโนโลยีท่ ที นั สมัย
สังคมไทยมีค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดี
งาม
ชุมชนเป็ นกลไกที่มีความสามารถในการ
บริหารจัดการ มีส่วนร่ วมในการพัฒนา
คุณภาพชีวิต และเชื่อมโยงกันเป็ นสังคม
สวัสดิการ
ประเทศไทยมีความเป็ นเอกราช เป็ น
กลาง และเป็ นพันธมิตรในเวทีระหว่ าง
ประเทศ
15
หลักการของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
• พัฒนาตามหลักปรั ชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และขับเคลื่อนให้ บงั เกิดผลในทาง
ปฏิบตั ิที่ชดั เจนยิ่งขึ ้นในทุกระดับ
• ยึดคนเป็ นศูนย์ กลางของการพัฒนา ให้ ความสาคัญกับการสร้ างกระบวนการมีสว่ น
ร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม และการมีสว่ นร่วมในการตัดสินใจของประชาชน
• พัฒนาประเทศสู่ความสมดุลในทุกมิติ อย่างบูรณาการ และเป็ นองค์รวม
• ยึดวิสัยทัศน์ ปี พ.ศ. 2570 เป็ นเป้าหมาย
17 มิถน
ุ ายน 2554
www.nesdb.go.th
16
วิสัยทัศน์ และพันธกิจของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
วิสัยทัศน์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
พันธกิจ
17 มิถน
ุ ายน 2554
• “สังคมอยู่ร่วมกันอย่ างมีความสุข
ด้ วยความเสมอภาคป็ นธรรม และมีภูมคิ ้ ุมกัน
ต่ อการเปลี่ยนแปลง”
• สร้ างความเป็ นธรรมในการกระจายรายได้ ควบคู่กับการสร้ างสังคมคุณธรรมเพื่อให้ คนกินดี
อยู่ดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี ปลอดภัยจากอาชญากรรม อุบัติเหตุ ยาเสพติดและอบายมุข คนใน
สังคมอยู่ร่วมกันอย่ างสันติสุข มีวัฒนธรรมประชาธิปไตย และธรรมาภิบาล
• พัฒนาฐานการผลิตและบริการให้ เข้ มแข็งและมีเสถียรภาพบนฐานความรู้และความ
สร้ างสรรค์ ของคนไทย ขยายหลักประกันทางสังคมให้ ครอบคลุมประชาชนทุกคน สร้ างความ
มั่นคงด้ านอาหารและพลังงาน รวมทัง้ ยารักษาโรคจากสมุนไพรบนฐานทรัพยากรและความ
หลากหลายทางชีวภาพ
• ปรับโครงสร้ างสาขาการผลิตและการบริโภคของประเทศให้ เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม สร้ าง
ภูมิค้ ุมกันให้ เข้ มแข็งสามารถป้องกันและรองรับผลกระทบและความเสี่ยงจากวิกฤตเศรษฐกิจ
ที่จะเกิดขึน้ ในอนาคต พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ให้ มีความรู้ และทักษะ สามารถรู้เท่ าทันการ
เปลี่ยนแปลงอย่ างมีเหตุผล
www.nesdb.go.th
17
วัตถุประสงค์ และเป้าหมายหลัก
ว ัตถุประสงค์
เป้าหมายหล ัก
• พัฒนาให้ คนในสังคมอยู่ร่วมกันอย่ างสันติ
ดารงชีวติ ได้ อย่ างปกติสุข และสังคมมี
ธรรมาภิบาล
• พัฒนาคน ชุมชน และสังคมให้ มีความพร้ อม
เผชิญการเปลี่ยนแปลงและอยู่กับการ
เปลี่ยนแปลงได้ อย่ างเป็ นสุข
• ปรั บโครงสร้ างเศรษฐกิจให้ เติบโตอย่ างมี
คุณภาพ สังคมและการเมืองมีความมั่นคง
ทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมมีความ
อุดมสมบูรณ์ ประเทศมีการพัฒนาอย่ าง
ยั่งยืน
• สังคมไทยมีความสงบสุข อย่ างมีธรรมาภิบาล
เพิ่มขึน้
• ประชากรไทยทุกคนมีหลักประกันทางสังคมที่
มีคุณภาพที่ท่ ัวถึง
• เพิ่มผลิตภาพการผลิตรวม และในแต่ ละภาค
การผลิต
• โครงสร้ างเศรษฐกิจมีความสมดุล เข้ มแข็ง
และพึ่งพาตนเองได้
• ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่ งขัน
สูงขึน้
• ทรั พยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ และ
คุณภาพสิ่งแวดล้ อมดีขนึ ้
17 มิถน
ุ ายน 2554
www.nesdb.go.th
18
ยุทธศาสตร์ และแนวทางการพัฒนา
การสร้างความ
เป็นธรรมใน
ั
สงคม
การพ ัฒนาคนสู่
ั
สงคมแห่
งการ
เรียนรูต
้ ลอด
ชวี ต
ิ อย่างยง่ ั ยืน
การสร้างความ
สมดุลและมนคง
่ั
ของอาหารและ
พล ังงาน
17 มิถน
ุ ายน 2554
ี่ งและสร ้างโอกาสในชวี ต
• สร ้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสงั คมให ้ทุกคนในสงั คม สามารถจัดการความเสย
ิ
แก่ตนเอง
ิ ธิพงึ มีพงึ ได ้ เน ้นการสร ้างภูมค
• จัดบริการทางสงั คมให ้ทุกคนตามสท
ิ ุ ้มกันระดับปั จเจกและสร ้างการมีสว่ นร่วมใน
ิ
กระบวนการตัดสนใจในการพัฒนาประเทศ
• เสริมสร ้างพลังให ้ทุกคนสามารถเพิม
่ ทางเลือกการใชช้ วี ต
ิ ในสงั คมและสร ้างการมีสว่ นร่วมในเชงิ เศรษฐกิจ สงั คม
ั
และการเมืองได ้อย่างมีคณ
ุ ค่าและศกดิศ
์ รี
ั พันธ์ของคนในสงั คมให ้แน่นแฟ้ นเป็ นน้ าหนึง่ ใจเดียวกัน
• เสริมสร ้างความสม
ั ยภาพและโอกาสของพืน
• สง่ เสริมคนไทยให ้มีการเกิดทีม
่ ค
ี ณ
ุ ภาพ มีการกระจายทีส
่ อดคล ้องกับศก
้ ที่
• พัฒนาคุณภาพคนไทยทุกชว่ งวัย มีภม
ู ค
ิ ุ ้มกันต่อการเปลีย
่ นแปลงและการพัฒนาประเทศในอนาคต
• สง่ เสริมการเรียนรู ้ตลอดชวี ต
ิ
• เสริมสร ้างค่านิยมทีด
่ แ
ี ละวัฒนธรรมไทยทีด
่ ี
• พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติทเี่ ป็ นฐานการผลิตภาคเกษตรให ้เข ้มแข็งและยั่งยืน
ิ ธิภาพการผลิตภาคเกษตรและสร ้างมูลค่า
• เพิม
่ ประสท
ี และรายได ้ให ้แก่เกษตรกร
• สร ้างความมั่นคงในอาชพ
• สร ้างความมั่นคงด ้านอาหารและพลังงานในระดับครัวเรือนและชุมชน
• สร ้างความมั่นคงด ้านพลังงานเพือ
่ สนับสนุนการพัฒนาประเทศและความเข ้มแข็งภาคเกษตร
• ปรับระบบบริหารจัดการภาครัฐเพือ
่ เสริมสร ้างความสมดุลด ้านอาหารและพลังงาน
www.nesdb.go.th
19
ยุทธศาสตร์ และแนวทางการพัฒนา
การปร ับ
โครงสร้าง
เศรษฐกิจสู่
การเติบโต
อย่างยง่ ั ยืน
และมีคณ
ุ ภาพ
• พัฒนาการผลิตภาคเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร
ิ ค ้าเศรษฐกิจสร ้างสรรค์ การค ้าและการลงทุน
• พัฒนาภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการ สน
• พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
• พัฒนาโครงสร ้างพืน
้ ฐานและระบบโลจิสติกส ์
• ปฏิรป
ู กฎหมายเศรษฐกิจ และกฎ ระเบียบต่างๆ ให ้เอือ
้ ประโยชน์ตอ
่ การประกอบธุรกิจอย่างเป็ นธรรม
การสร้าง
ความ
ื่ มโยงทาง
เชอ
เศรษฐกิจและ
ความมนคงใน
่ั
ภูมภ
ิ าค
่ ระชาคมอาเซย
ี น ขยายความร่วมมือ ความเป็ นหุ ้นสว่ นกับประเทศคูค
• สร ้างความพร ้อมในการเข ้าสูป
่ ้าใน
ภูมภ
ิ าคต่างๆ
• ปรับปรุงและเสริมสร ้างความเข ้มแข็งของภาคีการพัฒนาตัง้ แต่ระดับชุมชนท ้องถิน
่
ี ทีจ
• สนับสนุนการเปิ ดการค ้าเสรีและวางแนวทางป้ องกันผลเสย
่ ะเกิดขึน
้
• พัฒนาฐานลงทุนเพือ
่ เพิม
่ ขีดความสามารถในการแข่งขันในภูมภ
ิ าค
่
• สร ้างความเป็ นหุ ้นสวนทางเศรษฐกิจด ้าน HR การเคลือ
่ นย ้ายละการสง่ เสริมแรงงานไทย
• เสริมสร ้างความร่วมมือระหว่างประเทศในการสนับสนุนการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีจริยธรรม
ื้ โรค
• ป้ องกันภัยจากการก่อการร ้ายและอาชญากรรม ยาเสพติด ภัยพิบัต ิ และเชอ
การจ ัดการ
ทร ัพยากร
ธรรมชาติและ
สงิ่ แวดล้อม
อย่างยง่ ั ยืน
• การอนุรักษ์ ฟื้ นฟู และสร ้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและ สวล.
่ งั คมทีเ่ ป็ นมิตรกับ สวล.
• การปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและพฤติกรรมการบริโภคสูส
ิ ธิภาพการใชทรั
้ พยากรของภาคการผลิต และบริการเพือ
่ งั คมทีเ่ ป็ นมิตรกับ สวล.
• การเพิม
่ ประสท
่ นาไปสูส
่
ิ
• การจัดการสงแวดล ้อมเมืองและโครงสร ้างพืน
้ ฐาน
• การยกระดับขีดความสามารถในการปรับตัวรับมือกับการเปลีย
่ นแปลงภูมอ
ิ ากาศ เพือ
่ ให ้สงั คมมีความยืดหยุน
่
และมีภม
ู ค
ิ ุ ้มกัน
ิ ธิภาพ โปร่งใสและเป็ นธรรม
• การพัฒนาการบริหารจัดการทรัพยากรให ้มีประสท
17 มิถน
ุ ายน 2554
www.nesdb.go.th
20
ยุทธศาสตร์ ท่ เี กี่ยวข้ องกับการขนส่ งและโลจิสติกส์
21
ยุทธศาสตร์ การปรับโครงสร้ างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่ างยั่งยืนและมีคุณภาพ
1.
2.
3.
วัตถุประสงค์
แนวทางการ
ดาเนินงาน
การบริหารจัดการ
เศรษฐกิจส่ วนรวม
เป้าหมายและ
ตัวชีว้ ัด
การพัฒนาระบบการแข่ งขันที่เป็ นธรรม
การปรับโครงสร้ างเศรษฐกิจ
สู่การพัฒนาที่ย่ งั ยืนและมีคุณภาพ
การปรับโครงสร้ าง
ภาคการค้ าและ
การลงทุน
การปรั บโครงสร้ าง พัฒนาตลาดเงินและ
ตลาดทุน
ภาคการผลิตและ
บริการ
ลงทุนเพื่อ
พัฒนา วทน.
โครงสร้ างพืน้ ฐาน
และพลังงาน
การปฏิรูปกฎหมาย
เศรษฐกิจ และกฎ
ระเบียบต่ างๆ
การบริหารจัดการด้ านการเงิน
การบริหารจัดการด้ านการคลัง
1.
2.
3.
เศรษฐกิจขยายตัวอย่ างยั่งยืนและมีคุณภาพ (GDP ขยายตัวไม่ต่ากว่าเฉลีย่ ร้ อยละ 5 (6) ต่อปี TFP รวมเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 3 ต่อปี (เกษตร
ร้ อยละ 1.5 อุตสาหกรรมร้ อยละ 5 บริ การร้ อยละ 3) เพิ่มสัดส่วนมูลค่าภาคเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรต่อ GDP ไม่ต่ากว่าร้ อยละ 15
ภาคบริ การไม่ต่ากว่าร้ อยละ 50 และยกระดับอุตสาหกรรมสูก่ ารผลิตที่เป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้ อม และพัฒนาสินค้ าและบริ การสร้ างสรรค์ให้ มี
อัตราการขยายตัวไม่ต่ากว่าร้ อยละ 5 ต่อปี
เลื่อนอันดับความสามารถในการแข่ งขันทางเศรษฐกิจเป็ นอันดับ 16 ของโลกเพิ่มอันดับความสามารถในการประกอบธุรกิจให้
เป็ น 1 ใน 10 ของโลก
เพิ่มสัดส่ วนค่ าใช้ จ่ายลงทุน R&D ต่ อ GDP ไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 1 สัดส่ วนการลงทุน R&D ของภาคเอกชนต่ อภาครัฐเพิ่มขึน้ เป็ น
70:30
4.
ลดสัดส่ วนต้ นทุนโลจิสติกส์ ต่อ GDP เหลือร้ อยละ 13 /เพิ่มสัดส่ วนการขนส่ งทางรางเป็ นร้ อยละ 5
5.
เพิ่มสัดส่ วนการใช้ พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกต่ อ ปริมาณการใช้ พลังงานขัน้ สุดท้ ายไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 19
ลดสัดส่ วนการนาเข้ าพลังงานจากต่ างประเทศลงไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 3 ลดความเข้ มข้ นการใช้ พลังงานลงร้ อยละ 2 ต่ อปี
เพิ่มมูลค่ าผลิตภัณฑ์ ของ SMEs ต่ อ GDP ให้ มีสัดส่ วนไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 40
6.
17 มิถน
ุ ายน 2554
ปรับโครงสร้ างเศรษฐกิจให้ เจริญเติบโตอย่างยัง่ ยืนและมีคณ
ุ ภาพ
รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสร้ างระบบการแข่งขันเสรี และเป็ นธรรม
ให้ ไทยเป็ นประเทศผู้นาการผลิตสินค้ าและบริการบนฐานปั ญญา นวัตกรรม ความคิดสร้ างสรรค์ และเป็ นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้ อม ในภูมิภาคอาเซียน
www.nesdb.go.th
22
แนวทางการพัฒนา : การปรับโครงสร้ างเศรษฐกิจโดยใช้ เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสร้ างสรรค์
เป็ นพืน้ ฐานสาคัญในการขับเคลื่อนสู่การพัฒนาที่ย่ งั ยืนและมีคุณภาพ
ภาคการผลิต/ปั จจัยสนับสนุน
1. ปรับโครงสร้ างภาคการค้ า
และการลงทุน
2. ปรับโครงสร้ างภาคบริการ
3. พัฒนาเศรษฐกิจสร้ างสรรค์
4. พัฒนาภาคเกษตร
5. พัฒนาภาคอุตสาหกรรม
17 มิถน
ุ ายน 2554
แนวทางการพัฒนา
เสริมสร้ างประสิทธิภาพด้ านการตลาดและการกระจายผลผลิตไปสู่ตลาดเอเซียและแอฟริกา
พัฒนาสินค้ าและบริการให้ สอดคล้ องกับความต้ องการของตลาดใหม่
ผลักดันการจัดทาความตกลงการค้ าเสรี และเร่ งรัดการใช้ ประโยชน์จากข้ อตกลงที่มีผ ลบังคับใช้
แล้ ว พร้ อมทังวางแนวทางป
้
้ องกันผลเสียที่จะเกิดขึ ้น
เสริมสร้ างขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจบริการที่มีศกั ยภาพสู่ธุรกิจเชิงสร้ างสรรค์
ขยายฐานการผลิตและการตลาดภาคธุรกิจบริการที่มีศกั ยภาพออกสู่ตลาด ตปท.
พัฒนาปั จจัยแวดล้ อมให้ เอื ้อต่อการลงทุนภายในประเทศและดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ
สนับสนุนการพัฒนาธุรกิจสร้ างสรรค์ตามแนวทางเครื อข่ายวิสาหกิจ
ส่งเสริมการพัฒนาเมืองสร้ างสรรค์
เสริ ม สร้ างศั ก ยภาพของผู้ ประกอบการและบุ ค ลากรในการใช้ ความคิ ด สร้ างสรรค์ เ พื่ อ
เพิม่ มูลค่าของสินค้ าและบริการทุกสาขา
เพิม่ ผลิตภาพการผลิตและยกระดับการสร้ างมูลค่าเพิม่ ด้ วยเทคโนโลยีและกระบวนการที่ เป็ นมิตร
กับสิ่งแวดล้ อม
ปรับปรุงฟื น้ ฟูคณ
ุ ภาพดินและเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้ น ้า
เพิ่มมูลค่าสินค้ าเกษตร และพัฒนาปั จจัยแวดล้ อมด้ านการเกษตร เช่น ระบบโลจิสติกส์ของภาค
เกษตร
พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและฟื น้ ฟูสิ่งแวดล้ อมในพื ้นที่อุตสาหกรรมหลั กของประเทศ
อย่างต่อเนื่อง
พัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป
เพิม่ ผลิตภาพและประสิทธิภาพภาคอุตสาหกรรม
www.nesdb.go.th
23
แนวทางการพัฒนา : การพัฒนาระบบการแข่ งขันที่เป็ นธรรม
ภาคการผลิต/ปั จจัยสนับสนุน
1. พัฒนาปั จจัยการผลิต
แนวทางการพัฒนา
ตลาดเงินและตลาดทุน
- พัฒนาระบบสถาบันการเงินให้ มีเสถียรภาพ ประสิทธิภาพ และลดต้ นทุน
- ส่งเสริมให้ ทกุ ภาคส่วนเข้ าถึงแหล่งเงินทุนอย่างเท่าเทียมด้ วยต้ นทุนที่เหมาะสม
- เพิม่ ศักยภาพและความครอบคลุมของการให้ บริการของระบบการเงินฐานราก
พัฒนาแรงงานและตลาดแรงงานให้ สมดุลกับภาคการผลิตและบริการ
2. พัฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิ จัย สร้ างสภาพแวดล้ อมที่เอื ้ออานวยต่อการพัฒนาและประยุกต์ใช้ วทน. เพื่อส่งเสริมการใช้
และนวัตกรรม (วทน.)
ความคิดสร้ างสรรค์และสร้ างมูลค่าเพิม่ ให้ กบั ภาคการผลิตและบริการ
- ปฏิรูประบบการให้ สิ่งจูงใจทังด้
้ านการเงินการคลังและอื่นๆ
- มีมาตรการส่งเสริ มโครงการลงทุนวิจยั และพัฒนาขนาดใหญ่ ในสาขาที่เป็ นเป้ าหมาย
การพัฒนาประเทศ
- ปรับระบบบริ หารจัดการด้ านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวัตกรรมให้ มี เอกภาพ
และประสิทธิภาพ
พัฒนาโครงสร้ างพื ้นฐานทาง วทน. ให้ ทวั่ ถึงและเพียงพอทังในเชิ
้
งปริ มาณและคุณภาพ
ในลักษณะของความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน
- เร่งพัฒนาอุทยานวิทยาศาสตร์ ศูนย์ความเป็ นเลิศ ศูนย์บ่มเพาะ สถาบันวิ จยั และพัฒนา
สถาบัน วิ จัย เฉพาะทางในสาขาวิ ท ยาศาสตร์ และศูนย์ บ ริ ก ารวิ เคราะห์ ท ดสอบให้
เพียงพอและสอดคล้ องกับความต้ องการ
- ส่งเสริ มการลงทุนวิจยั และพัฒนานวัตกรรมที่สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ทงเชิ
ั ้ งพาณิชย์
และชุมชน
17 มิถน
ุ ายน 2554
www.nesdb.go.th
24
แนวทางการพัฒนา : การพัฒนาระบบการแข่ งขันที่เป็ นธรรม
ภาคการผลิต/ปั จจัยสนับสนุน
แนวทางการพัฒนา
3. พั ฒ นาโครงสร้ างพื น้ ฐานและระบบ ผลักดันการพัฒนาโครงสร้ างพื ้นฐานด้ านการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ
โลจิสติกส์
- พัฒนาปรับเปลี่ยนรู ปแบบการขนส่งไปสู่การขนส่งในรู ปแบบอื่น ๆ ที่มีต้ นทุนการขนส่ง
ต่อหน่วยต่าและมีการใช้ พลังงานที่มีประสิทธิภาพ
- พัฒนาการขนส่งต่อเนื่องหลายรู ปแบบที่เชื่ อมโยงการขนส่งทางถนน ทางราง ทางนา้
และทางอากาศในลักษณะบูรณาการ
ปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการโลจิสติกส์
พัฒนาระบบขนส่งทางรถไฟ
ปรับปรุงพัฒนาโครงข่ายขนส่งมวลชนที่มีอยู่ในปั จจุบนั ให้ ทนั สมัยและสอดคล้ องกับการ
ขยายตัวของเมืองและการใช้ ประโยชน์ที่ดิน
4. สร้ างความมัน่ คงด้ านพลังงาน
ส่งเสริมการใช้ พลังงานสะอาดและพัฒนาพลังงานทางเลือก
กากับดูแลกิจการพลังงานให้ มีราคาที่เหมาะสม มีเสถียรภาพ และเป็ นธรรม
กาหนดโครงสร้ างราคาพลังงานทางเลือกที่เหมาะสม
5. ปฏิ รู ป กฎหมาย และกฎ ระเบี ย บต่ า งๆ การประกอบธุรกิ จ การค้ า การลงทุน โดยเร่ งปรั บปรุ งกฎหมายเพื่อลดอุปสรรคและ
ทางเศรษฐกิจ
ขันตอนในการด
้
าเนินธุรกิจการค้ าและการลงทุนทังใน-นอกประเทศ
้
และเอื ้อต่ อลงทุนที่
เน้ นการใช้ องค์ความรู้ วิจยั และพัฒนาด้ าน วทน.
การผลิตและบริการ
- ส่งเสริมการพัฒนาเมือง/เขต/นิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
- สร้ างโอกาสให้ ผ้ ูประกอบการรายย่อยและวิสาหกิจชุมชน สามารถเข้ าถึงสินเชื่ อ การ
ประกันความเสี่ยงในภาคการค้ าการลงทุน การเข้ าสู่ตลาด และการทาวิจยั และพัฒนา
ผลิตภัณฑ์บนฐานความรู้และสร้ างสรรค์
การสื่อสารและโทรคมนาคม โดยทบทวนและปรับกฎ ระเบียบ ให้ สอดคล้ องกับข้ อตกลง
ระหว่างประเทศที่ประเทศไทยมีส่วนเกี่ยวข้ อง ได้ แก่ การจัดตังองค์
้ กรและกฏเกณฑ์ด้าน
เทคนิคเกี่ยวกับการสื่อสารโทรคมนาคม
17 มิถน
ุ ายน 2554
www.nesdb.go.th
25
ยุทธศาสตร์ การสร้ างความเชื่อมโยงประเทศในภูมภิ าคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม
การสร้ างความร่ วมมือแบบหุ้นส่ วนการพัฒนา
เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม
จุดเน้ นของยุทธศาสตร์
“ให้ความสาคัญกับ 3 วง
ของกรอบความร่ วมมือ”
1 อนุภูมิภาค (GMS, IMT-GT, ACMECS, BIMSTEC)
2 อาเซียน (ASEAN)
3 อาเซียน+3, อาเซียน+6, เอเปค, และอื่นๆ
รวมทัง้ ประเด็นการพัฒนา
ร่ วมและปั จจัยสนับสนุน
กรอบอนุภมู ิภาค
9
แนว
ทาง
การ
พัฒนา
เชื่อมโยงการ
ขนส่ ง/โลจิสติกส์
โดยพัฒนาบริการ
คน ปรับปรุง
กฎระเบียบที่
เกี่ยวข้ อง
1
อาเซียน
พัฒนาฐานการผลิต/
ลงทุน ตามแนวพื ้นที่
พัฒนาเศรษฐกิจ
(Economic corridors)
และพัฒนาเศรษฐกิจ
ชายแดน
2
สร้ างความพร้ อมเข้ า
สู่ประชาคมอาเซียน
โดยพัฒนาคนในสาขา
การผลิต, ศูนย์กลาง
การให้ บริการสุขภาพ
และการศึกษา
3
อาเซียน+เอเปค ปั จจัยสนับสนุน
เข้ าร่ วมเป็ นภาคี
ความร่ วมมืออย่ าง
สร้ างสรรค์ ทัง้
กรอบปั จจุบนั และที่
เป็ นทางเลือก
ปรั บปรุ งและสร้ าง
ความเข้ มแข็งของ
ภาคีการพัฒนาใน
ท้ องถิ่น
สร้ างความเป็ นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจในภูมิภาคด้ านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ /เคลื่อนย้ ายแรงงาน/ส่งเสริ มแรงงานไทยใน ตปท.
ประเด็น
การ
พัฒนา
ร่ วม
มีสว่ นร่ วมอย่างสาคัญในการป้องกันภัยจากการก่อการร้ ายและอาชญากรรม ยาเสพย์ติด ภัยพิบตั ิ และการแพร่ ระบาดของ
โรคภัย
เสริ มสร้ างความร่ วมมือที่ดีในการสนับสนุนการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีจริ ยธรรมไม่สง่ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อม
เร่ งรัดการใช้ ประโยชน์จากข้ อตกลงการค้ าเสรี ที่มีผลบังคับใช้ แล้ ว
17 มิถน
ุ ายน 2554
www.nesdb.go.th
26
ประเด็นนาเสนอ
17 มิถน
ุ ายน 2554
1
ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559)
2
แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาโลจิสติกส์ ของประเทศไทย
3
ประเด็นพัฒนาด้ านโลจิสติกส์ ในระยะต่ อไป
4
ข้ อเสนอแนะภารกิจของกระทรวงคมนาคม
www.nesdb.go.th
27
แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาโลจิสติกส์ ของประเทศไทย (2550 - 2554)
ครม. ให้ ความเห็นชอบเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2550
วิสัยทัศน์
มีระบบโลจิสติกส์ ท่ ีได้ มาตรฐานสากล
เพื่อสนับสนุนการเป็ นศูนย์ กลางธุรกิจและการค้ าของภูมิภาคอินโดจีน
วัตถุ
ประสงค์
1. ลดต้ นทุนโลจิสติกส์ (Cost Efficiency) เพิ่มขีดความสามารถของธุรกิจในการตอบสนองความต้ องการของลูกค้ า
(Responsiveness)และเพิ่มความปลอดภัยและความเชื่อถือได้ ในกระบวนการนาส่ งสินค้ าและบริการ (Reliability and Security)
2. สร้ างมูลค่ าเพิ่มทางเศรษฐกิจจากอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ และอุตสาหกรรมต่ อเนื่อง
ประเด็น
ยุทธศาสตร์
หลักการ
ขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์
17 มิถน
ุ ายน 2554
การปรับปรุ ง
ประสิทธิภาพ
ระบบ
โลจิสติกส์ ใน
ภาค
การผลิต
การเพิ่ม
ประสิทธิภาพ
ระบบขนส่ งและ
โลจิสติกส์
การพัฒนา
ธุรกิจ
โลจิสติกส์
การปรับปรุ ง
สิ่งอานวย
ความสะดวก
ทางการค้ า
การพัฒนา
กาลังคนและ
กลไกการ
ขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์
1
2
3
4
5
ระดับเป้าหมาย - มุ่งยกระดับการบริหารจัดการโลจิสติกส์ ไปสู่ระดับ World Class Logistics Management
ระดับยุทธศาสตร์ - มีจุดเน้ นไปที่การยกระดับขีดความสามารถในการแข่ งขันของอุตสาหกรรมเป้าหมายหลักของประเทศ
ระดับปฏิบัติ
- การปรับเปลี่ยนในระดับปฏิบัติ (Change Management) จะต้ องยึดความต้ องการของผู้ใช้ บริการเป็ นที่ตัง้
www.nesdb.go.th
28
โครงสร้างการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศ
ระดับนโยบาย
คณะกรรมการพัฒนาระบบการบริหารจัดการขนส่ งสินค้ าและบริการของประเทศ (กบส.)
แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศ พ.ศ. 2550-2554
ระดับปฏิบัตกิ าร
1
หน่ วยงาน
รับผิดชอบหลัก
คณะอนุ
กรรมการฯ
คณะทางาน
17 มิถน
ุ ายน 2554
การปรับปรุง
ประสิทธิภาพระบบ
โลจิสติกส์ในภาค
การผลิต
2
3
4
5
การเพิม่
ประสิทธิ
ภาพระบบขนส่ง
และโลจิสติกส์
การพัฒนาธุรกิจ
โลจิสติกส์
การปรับปรุงสิ่งอานวย
ความสะดวกทาง
การค้ า
การพัฒนากาลังคน
ระบบข้ อมูล และ
กลไกการขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์
ก.อุตสาหกรรม /
ก.เกษตรฯ
ก.คมนาคม
ก.คลัง
ก.ศึกษาธิการ/
ก.แรงงาน/ สศช.
คณะอนุกรรม
การพัฒนาระบบ
โลจิสติกส์
อุตสาหกรรม
ก.พาณิชย์
คณะอนุกรรม
การพัฒนาระบบ
โลจิสติกส์
การเกษตร
คณะอนุกรรม
การพัฒนาโครงสร้ าง
พื ้นฐานเชื่อมโยงพื ้นที่
เศรษฐกิจฝั่ งตะวันตก
คณะอนุกรรมการการ
เชื่อมโยงข้ อมูลแบบบูรณา
การสาหรับการนาเข้ า การ
ส่งออก และโลจิสติกส์
คณะทางานจัดทาแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของรประเทศ
พ.ศ. 2555-2559
www.nesdb.go.th
29
การแปลงยุทธศาสตร์ ส่ ูการปฏิบัต.ิ ..
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาโลจิสติกส์ ของกระทรวงคมนาคม
ยุทธศาสตร์
แนวทาง
พัฒนาเครือข่ าย
โลจิสติกส์ ในประเทศ
ให้ เชื่อมโยง
อย่ างบูรณาการ
สนับสนุนการใช้
รูปแบบและวิธีการ
บริหารจัดการขนส่ ง
เพื่อการประหยัดพลังงาน
พัฒนาเส้ นทางการค้ า
สู่ตะวันออกกลาง
แอฟริกา ยุโรป ผ่ านทาง
ฝั่ งทะเลอันดามัน
เพื่อรองรั บการขยายตัวของ
ประเทศเพื่อนบ้ าน
พัฒนาระบบการ
ขนส่ งต่ อเนื่องหลาย
รูปแบบ(Multimodal
Transport)
พัฒนาระบบการ
รวบรวมและกระจาย
สินค้ าตามจุดยุทธศาสตร์
ต่ างๆ ในประเทศ
ปรับเปลี่ยนไปใช้ การ
ขนส่ งทางรางและทางนา้ มาก
ขึน้ (Modal Shift)
ประยุกต์ ใช้ วธิ ีการขนส่ งที่
ทันสมัย รวมทัง้ ใช้ เทคโนโลยี
การขนส่ งเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพและลดต้ นทุน
พัฒนาท่ าเรือนา้ ลึก ที่มี
ศักยภาพทางฝั่ งตะวันตก
พัฒนาเส้ นทางเชื่อมโยง
ท่ าเรือกับเส้ นทางของ
ประเทศและภูมภิ าค
ทีม
่ า กระทรวงคมนาคม
17 มิถน
ุ ายน 2554
www.nesdb.go.th
30
30
ภาพรวมต้ นทุนโลจิสติกส์ ของประเทศ
ต้ นทุนการขนส่ งสินค้ าเป็ นองค์ ประกอบที่ใหญ่ ท่ สี ุด โดยมีสัดส่ วนประมาณร้ อยละ 49 ของต้ นทุนโลจิสติกส์ ทัง้ หมด
ในปี 2552 ประเทศไทยมีต้นทุนโลจิสติกส์ ประมาณ 1.5 ล้ านล้ านบาท หรื อคิดเป็ นสัดส่ วนเท่ ากับร้ อยละ 16.8 ของ
ผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ ณ ราคาประจาปี (GDP) ลดลงจากร้ อยละ 18.6 ของ GDP ในปี 2551 ประกอบด้ วย
ต้ นทุนค่ าขนส่ งสินค้ า ร้ อยละ 8.3 ของ GDP (สัดส่ วนร้ อยละ 49)
ต้ นทุนการเก็บรั กษาสินค้ าคงคลัง ร้ อยละ 7.0 ของ GDP (สัดส่ วนร้ อยละ 42)
ต้ นทุนการบริหารจัดการด้ านโลจิสติกส์ ร้ อยละ 1.5 ของ GDP (สัดส่ วนร้ อยละ 9)
ที่มา สศช., ธปท.
ในปี 2553 คาดว่ าต้ นทุนโลจิสติกส์ ฯ อยู่ท่ รี ะดับประมาณร้ อยละ 17.9 ต่ อ GDP ซึ่งเพิ่มขึน้ จากปี 2552 เนื่องจากการฟื ้ นตัว
ของเศรษฐกิจโลก และการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย รวมทัง้ ราคานา้ มันที่เป็ นองค์ ประกอบสาคัญของต้ นทุนโลจิสติกส์ มีการ
ปรั บตัวสูงขึน้
17 มิถน
ุ ายน 2554
www.nesdb.go.th
31
โครงสร้ างการขนส่ งสินค้ าของประเทศไทย
ป 0
การขนส่ งสินค้ าในประเทศ
การขนส่ งทางถนนยังคงเป็ นรู ปแบบหลั กสาหรั บการ
ขนส่ งภายในประเทศ โดยในปี 2552 คิดเป็ นสัดส่ วนสูง
ถึงร้ อยละ 84 ของปริ มาณขนส่ งสินค้ าภายในประเทศ
ทัง้ หมดซึ่งคิดเป็ น 423.7 ล้ านตัน
เปรียบเทียบการขนส่ งสินค้ าภายในประเทศระหว่ างปี 2551 และปี 2552
0.1%
5%
0.1%
ป 0
0.1%
0.1%
5%
ทางน้า
ทางถนน
ทางราง
ทางอากาศ
92%
ทางน้า
ทางถนน
ทางราง
ทางอาก
92%
การขนส่ งสินค้ าระหว่ างประเทศ
แม้ ว่ ารู ป แบบหลั ก ของการขนส่ งสิ น ค้ าระหว่ าง
ประเทศยังคงใช้ การขนส่ งทางเรื อ อย่ างไรก็ตาม การ
ขนส่ งทางถนนขยายตัวอย่ างต่ อเนื่ อง โดยในปี
2552 ประเทศไทยมี ป ริ ม าณการขนส่ ง สิ น ค้ า ข้ า ม
ชายแดนทางรถบรรทุก รวมกว่ า 21 ล้ านตัน โดย
คิดเป็ นร้ อยละ 10 ของปริ มาณขนส่ งสินค้ าระหว่ าง
ประเทศรวมในปี 2552 ซึ่ ง เพิ่ ม ขึ น้ เป็ นเท่ า ตั ว เมื่ อ
เทียบกับปี 2550
17 มิถน
ุ ายน 2554
เปรียบเทียบการขนส่ป
งสินค้ าระหว่ างประเทศระหว่ างปี 2550 และปี 2552
ป 0
5%
5%
10% 0.1%
0.1%
92%
92%
0.1%
0.1%
10%
10%
89%
ป
0.1%
0.1%
ทางน้า
ทางน้า
ทางถนน
ทางถนน
ทางราง
ทางราง
89%
89%
ทางอากาศ
ทางอากาศ
ทางน้า
ทางถนน
ทางราง
ทางอาก
ที่มา สศช.
ป
www.nesdb.go.th
10%
0.1%
0.1%
32
ประเด็นติดตามความก้ าวหน้ าแผนงาน/โครงการภายใต้ แผนพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ของประเทศ
ต้ นทุนเก็บรั กษาสินค้ าคงคลัง
ต้ นทุนขนส่ ง
ต้ นทุนบริหารจัดการ
AEC
9%
การจัดตัง้ ระบบ NSW
Flagship Projects
-ปรั บปรุ งกระบวนการและกฎระเบียบ
-ขาดแคลนเจ้ าหน้ าที่ IT
โครงการก่ อสร้ างรถไฟทางคู่
49%
42%
17 มิถน
ุ ายน 2554
2015
การขนส่ งชายฝั่ ง
และลานา้
การเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ ง
ทางถนน
แผนเพิ่มประสิทธิภาพรถไฟฯ
176,000 ล้ านบาท
-ท่ าเรื อกรุ งเทพฯ
-ท่ าเรื อแหลมฉบัง
-ความเชื่อมโยงท่ าเรื อ
ภาคใต้
- การพัฒนาผู้ประกอบการสู่ความเป็ นมืออาชีพ
- การยกระดับทักษะพนักงานขับรถบรรทุก
-การพัฒนาจุดพักรบรรทุกและFacility ชายแดน
-การปฏิรูปการกากับดูแลกิจการขนส่ งทางถนน
การพัฒนาธุรกิจ LSPs
การเพิ่มประสิทธิภาพโลจิสติกส์ ภาคการผลิต
- ร่ าง พรบ. LSPs
- แผนพัฒนาธุรกิจ LSPs
- แผนแม่ บทการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ อุตสาหกรรม
- แผนแม่ บทการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ การเกษตร
-ฉะเชิงเทรา-ศรี ราชา
-แก่ งคอย
การพัฒนากาลังคนด้ านโลจิสติกส์ ทงั ้ ระบบ
- ขีดความสามารถในการยกระดับฝี มือแรงงาน
- หลักสูตรการสอนโลจิสติกส์ ในอาชีวะและอุดมศึกษา
- มาตรฐานวิชาชีพโลจิสติกส์
www.nesdb.go.th
33
ประเด็นนาเสนอ
17 มิถน
ุ ายน 2554
1
ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559)
2
แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาโลจิสติกส์ ของประเทศไทย
3
ประเด็นพัฒนาด้ านโลจิสติกส์ ในระยะต่ อไป
4
ข้ อเสนอแนะภารกิจของกระทรวงคมนาคม
www.nesdb.go.th
34
การประเมินสภาวะแวดล้ อมด้ านขนส่ งและโลจิสติกส์ :
สภาพปั ญหาและข้ อจากัดภายในประเทศ
โครงข่ ายถนน
จาเป็ นต้ องได้ รับการปรั บปรุ ง
มาตรฐานและการบารุ งรั กษาให้ อยู่
ในสภาพที่สามารถให้ บริการได้
อย่ างปลอดภัย รวมทัง้ แก้ ปัญหา
ในจุดที่เป็ นคอขวด (Bottleneck)
โดยเฉพาะบริเวณพืน้ ที่โดยรอบ
ประตูการค้ าหลัก
คุณภาพคนขับรถบรรทุก
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง
และลดต้ นทุน
การใช้ พลังงาน
ความร่วมมือจากภาคเอกชนใน
การรวบรวมปริมาณสินค้ าและ
ระบุความต้ องการทางธุรกิจ
โครงข่ ายทางนา้
มีข้อจากัดทางกายภาพของลานา้
สายหลัก ทาให้ ขนส่ งได้ บางช่ วง
เท่ านัน้ นอกจากนีก้ ารขนส่ งทาง
ชายฝั่ งไม่ สามารถแข่ งขันกับการ
ขนส่ งทางถนนและรางได้ เต็มที่
17 มิถน
ุ ายน 2554
โครงข่ ายทางราง
ขาดการวางแผนอย่ างเป็ นระบบ
ทาให้ โครงข่ ายระบบรางมีปัญหา
ด้ านความครอบคลุม ความจุและ
ความเสื่อมโทรมของทางรถไฟ
ความไม่ เพียงพอของหัวรถจักร
และล้ อเลื่อน รวมทัง้ ขาดความ
ต่ อเนื่องของการพัฒนาโครงข่ าย
ระบบขนส่ งมวลชน
การบูรณาการระบบเชื่อมโยงข้ อมูลและ
เอกสารที่เกี่ยวข้ องกับการขนส่ง
(e-transport) เพื่อเชื่อมต่อเป็ นระบบ
เดียวกับระบบ National Single Window
กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวกับการ
ขนส่งระหว่างประเทศและการขนส่ง
ต่อเนื่องหลายรูปแบบ
www.nesdb.go.th
โครงข่ ายทางอากาศ
การใช้ พนื ้ ที่ขนส่ งสินค้ าปลอดอากร
(Custom Free Zone) ของท่ าอากาศ
ยานสุวรรณภูมไิ ม่ สามารถสร้ าง
มูลค่ าเพิ่มทางเศรษฐกิจได้ เต็ม
ศักยภาพ
35
การประเมินสภาวะแวดล้ อมด้ านขนส่ งและโลจิสติกส์ :
ปั จจัยแวดล้ อมที่จะเกิดขึน้ ในระยะต่ อไป
การเชื่อมโยง
ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ
ระหว่ างประเทศ
ในภูมิภาค (Globalization)
การสร้ างขีดความสามารถ
ในการแข่ งขันระดับ
โซ่ อุปทาน (Supply Chain
Competitiveness)
• AEC
• GMS
• IMT-GT
การเชื่อมโยง
ขนถ่ ายสินค้ า
ข้ ามแดน (Crossborder Transport)
• บรรุลุเป้าหมายการลดต้ นทุนทาง
โลจิสติกส์ และเพิ่มมูลค่ าเพิ่มของประเทศ
ผลกระทบต่ อ
การพัฒนาระบบโลจิสติกส์
ของประเทศ
การมุ่งพัฒนาระบบ
โลจิสติกส์
ที่เป็ นมิตรต่ อสิ่งแวดล้ อม
(Green Logistics)
• ลดกระบวนการ/ขัน้ ตอนการ
• ลดอัตราการปล่ อยมลพิษ
ขนส่ งสินค้ าผ่ านแดน/ข้ าม
• ลดการใช้ พลังงาน
แดน
• มีมาตรฐานและกฎระเบียบ
การขนส่ งต่ อเนื่องหลาย
การเปิ ดเสรี ธุรกิจบริ การ
ด้ านต่ างๆร่ วมกัน เช่ น
รู ปแบบเพื่อลดต้ นทุน
ขนส่ งและโลจิสติกส์
ความปลอดภัย การจากัด
นา้ หนักในการขนส่ ง เป็ นต้ น
(Mutimodal Transport)
(LSPs Liberalization)
• การแลกเปลี่ยนระบบข้ อมูล
(ASW)
• ความร่ วมมือทางธุรกิจกับผู้ประกอบการต่ างชาติ • สนับสนุนการขนส่ งต่ อเนื่องหลายรู ปแบบ
• บริษัทข้ ามชาติเสมือนเป็ นพันธมิตรทางการแข่ งขัน • พัฒนากลุ่มเครือข่ ายวิสาหกิจตามแหล่ งการผลิต และ
สิ่งอานวยความสะดวกในการขนส่ ง
17 มิถน
ุ ายน 2554
www.nesdb.go.th
36
วิสัยทัศน์ :
โอกาสและศักยภาพของประเทศไทย (Country’s Positioning)
ศูนย์ กลางการ
ขนส่ งสินค้ าทาง
อากาศของ
อาเซียน
ขีดความสามารถใน
การแข่ งขันของ
ธุรกิจไทย
ระบบและ
บริการโลจิสติกส์
ที่มีประสิทธิภาพ
สูงในระดับแนว
หน้ าของโลก
ศูนย์ กลางการผลิต
และโลจิสติกส์ ของ
อาหารฮาลาล
มูลค่ าเพิ่มทาง
เศรษฐกิจ
17 มิถน
ุ ายน 2554
www.nesdb.go.th
การเชื่อมโยงและ
เติบโตของธุรกิจ
ระหว่ างประเทศบน
ระเบียงเศรษฐกิจ
(Economic Corridors)
ศูนย์ กลางการเชื่อมโยง
ห่ วงโซ่ อุปทานของ
ภูมภิ าค (Center of the
Regional Supply Chain
Headquarters)
37
ประเด็นนาเสนอ
17 มิถน
ุ ายน 2554
1
ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559)
2
แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาโลจิสติกส์ ของประเทศไทย
3
ประเด็นพัฒนาด้ านโลจิสติกส์ ในระยะต่ อไป
4
ข้ อเสนอแนะภารกิจของกระทรวงคมนาคม
www.nesdb.go.th
38
ข้ อเสนอแนะภารกิจกระทรวงคมนาคมตามแนวของประเทศไทยในระยะต่ อไป
ข้อเสนอแนะการทางานในระยะต่อไป
การวางพืน้ ฐานการพัฒนา (Logistics Fundamentals)
แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ของประเทศไทย พ.ศ. 2550 - 2554
มีระบบโลจิสติกส์ที่ได้ มาตรฐานสากล
เพื่อสนับสนุนการเป็ นศูนย์กลางธุรกิจและการค้ าของภูมิภาคอินโดจีน
วิสยั ทัศน์
วัตถุ
ประสงค์
ประเด็น
ยุทธศาสตร์
สนับสนุนการเชื่อมโยงระบบโครงสร้ างพืน้ ฐาน
และสิ่งอานวยความสะดวกระหว่ างประเทศใน
กรอบความร่ วมมือของภูมิภาค
1. ลดต้ นทุนโลจิสติกส์ (Cost Efficiency) เพิ่มขีดความสามารถของธุรกิจในการตอบสนองความต้ องการ
ของลูกค้ า (Responsiveness)และเพิ่มความปลอดภัยและความเชื่อถือได้ ในกระบวนการนาส่งสินค้ า
และบริการ (Reliability and Security)
2. สร้ างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจจากอุตสาหกรรมโลจิสติกส์และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
การ
การเพิ่ม
ปรับปรุง
ประสิทธิ
ประสิทธิ ภาพระบบ
ภาพระบบ ขนส่ งและ
โลจิสติกส์ โลจิสติกส์
ในภาค
การผลิต
1
2
การพัฒนา
ธุรกิจ
โลจิสติกส์
3
การ
การพัฒนา
กาลังคน
ปรับปรุง
สิ่งอานวย ข้ อมูลและ
ความ
กลไกการ
สะดวกทาง ขับเคลื่อน
การค้ า
ยุทธศาสตร์
4
5
เร่ งรัด/ผลักดันแผนงานโครงการที่ได้ รับอนุมัติ
แล้ วให้ เกิดผลเป็ นรูปธรรม
เพื่อตอบโจทย์ Modal Shift ของประเทศ
เช่ น แผนเพิ่มประสิทธิภาพรถไฟ เป็ นต้ น
พัฒนาระบบเชื่อมโยงข้ อมูลด้ านการขนส่ ง
(e-transport) เพื่อเชื่อมต่ อเป็ นระบบเดียวกับ
ระบบ NSW
การพัฒนาโครงสร้ างพืน้ ฐาน ควรให้ ความสาคัญกับ
• การวางบทบาทเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Positioning)
• การเชื่อมต่ อโครงข่ ายอย่ างบูรณาการ
(Network Linkages)
• แผนธุรกิจเพื่อบริหารจัดการโครงสร้ างพืน้ ฐานให้ เกิด
ประโยชน์ สูงสุด (Business Model for Utilization)
ครม. ให้ ความเห็นชอบเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2550
การทางานบูรณาการร่ วมกับหน่ วยงานที่
เกี่ยวข้ อง เช่ น กระทรวงพาณิชย์ กระทรวง
พลังงาน เป็ นต้ น
17 มิถน
ุ ายน 2554
www.nesdb.go.th
39
ขอบคุณครั บ
www.nesdb.go.th
17 มิถน
ุ ายน 2554
www.nesdb.go.th
40