แนวโน้มของ ICT

Download Report

Transcript แนวโน้มของ ICT

ความท้าทายของเทคโนโลยีสารสนเทศกับภาวะการ
แข่งขันและความร่ วมมือของประชาคมโลกปัจจุบนั
ผศ. ดร. ชนวัฒน์ ศรี สอ้าน
Agenda
1.
2.
3.
ความท้าทายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ภาวะการแข่งขัน
ความร่ วมมือของประชาคมโลกปัจจุบนั
การหลอมรวมกันของเทคโนโลยี
Computers
Broadcasting
Connected to
networks
PC
Mobile and
Wireless
Cable
changes to
wireless
Telecommunications
Broadband and
cable services
TV
Appliance
Electronic Games
and Embedded Systems
Technology Convergence
“Ubiquitous Computing”
My colleagues and I at PARC believe that what we call ubiquitous computing will
gradually emerge as the dominant mode of computer access over the next
twenty years. Like the personal computer, ubiquitous computing will enable
nothing fundamentally new, but by making everything faster and
easier to do, with less strain and mental gymnastics, it will transform what is
apparently possible.
Dr. Mark Weiser, “The Computer for the 21th Century”, Scientific American, August 1991
U-Government
= Government Everywhere (in Everything)
ubiquitous [ADJ] ; ซงึ่ มีอยูท
่ ก
ุ หนทุกแห่ง
Syn. omnipresent; pervasive
http://lexitron.nectec.or.th/
m-Government
•
mGovernment is a subset of egovernment.
•
eGovernment is the use of information
and communication technologies (ICTs)
to improve the activities of public sector
organisations.
•
m-government, those ICTs are limited to
mobile and/or wireless technologies like
m-Government
: main purposes
• mCommunication:
– Improving communication
between government and
citizens (G2C, C2G)
• mServices:
– mTransactions
– mPayments
cellular/mobile phones, and laptops and
• mDemocracy
PDAs (personal digital assistants)
• mAdministration
connected to wireless local area
networks (LANs).
Source: http://www.e•devexchange.org/eGov/topic4.htm
mGovernment can help make public
eGovernment for Development, mGovernment:
information
and government
services
Mobile/Wireless
Applications
in Government,
Emmanuel C. Lallana, 2004
available "anytime, anywhere" to citizens
http://www.edevexchange.org/eGov/mgovapplic.htm
eGovernment for Development :- mGovernment
Applications and Purposes Page , Emmanuel C.
Lallana, 2004
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ และนวัตกรรม
e-Government
European Commission
e-Business
Objectives
Public policies and good governance:
-Efficiency, inclusion, transparency,
openness
Single company objective:
-Cost reduction
-Differentiation
Drivers
–Public sector deficits
–Citizens and companies expectations
–Contributing to economic growth & jobs
–Ageing
–Justice, security and liberty
–Realizing major public policies
-Competition
-Globalization
-Technology
State of Play
-Online access to public services
-Online interactivity growing
-Mostly single channel
-Electronic public procurement
-Supply chain management
(large players)
-Extended (but not integrated)
channel and customer
relationship management
Innovation
‘Innovative government’ is still new
Innovation matters: services,
products, business models
R&D needs
-Coping with complexity and diversity
(10,000s of administrations)
-Scale and size (involving millions)
-Multi-platform / device services
-Effective interaction with all capabilities
-Networked governance in administration
-Involving SMEs in virtual
enterprise ecosystems
especially with SMEs
-Innovation in products and
services e.g. by integrating
ambient intelligence
ประชุมความร่ วมมือด้ านโทรคมนาคมและสารสนเทศ
191 ประเทศ
• ประชุมความร่ วมมือด้านโทรคมนาคมและสารสนเทศ 191 ประเทศ
คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) จัดประชุมผูน้ าอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศระดับโลก
เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ในการกากับดูแลกิจการโทรคมนาคม
ที่โรงแรมรอยัล คลิฟ บีช รี สอร์ท พัทยา ดร.มัน่ พัทธโรทัย รัฐมนตรี วา่ กการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่ อสาร เป็ นประธาน เปิ ดการประชุมความร่ วมมือด้านโทรคมนาคมและสารสนเทศ 191 ประเทศ ซึ่ง
สถานการณ์และสภาวะแวดล้อมด้านนโยบายโทรคมนาคมและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป ทาให้ประเทศต่าง ๆ
ทัว่ โลกต้องปฏิรูป กฎ ระเบียบ และนโยบายต่าง ๆ เพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน ตลอดจนเพื่อ
เอื้อต่อบรรยากาศการลงทุนทั้งจากภายใน และภายนอกประเทศ การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญดังจะเห็นได้จากการที่
หน่วยงานของรัฐบาลในหลายประเทศ เปลี่ยนแปลงบทบาท จากการเป็ นผูก้ าหนดนโยบายมาเป็ นหน่วยงานที่ทา
หน้าที่ดูแลเพียงอย่างเดียว ทาให้มีจานวนหน่วยงานกากับดูแลเพิ่มขึ้นทัว่ โลก หน่วยงานเหล่านี้จึงต้องมีเวทีสาหรับ
แลกเปลี่ยนข้อมูล และร่ วมกันพิจารณากาหนดแนวทางปฏิบตั ิที่ดีที่สุด ด้านการกากับดูแลสาหรับให้มวลสมาชิก
นาไปปฏิบตั ิในประเทศ ดังนั้นสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ จึงได้ตระหนักถึงความสาคัญในเรื่ องดังกล่าว
จึงได้ริเริ่ มเวทีประชุมเพื่อเปิ ดโอกาสให้หน่วยงานกาหนดนโยบาย หน่วยงานกากับดูแล และผูป้ ระกอบการจาก
ประเทศสมาชิกได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ์ และร่ วมกันพิจารณาประเด็นด้านการกากับดูแล
โทรคมนาคมและสารสนเทศ และนาเสนอวิสยั ทัศน์ และศักยภาพของประเทศให้เป็ นที่ประจักษ์ต่อนานาประเทศที่
เป็ นสมาชิก ITU ทั้ง 191 ประเทศ เพื่อให้ผบู้ ริ หารระดับสูงจากภาคอุตสาหกรรมทัว่ โลก ได้ร่วมอภิปรายปัญหา
อุปสรรคต่าง ๆ ในการพัฒนาอุตสหกรรม ICT และนาเสนอต่อหน่วยงานกากับดูแลเกี่ยวกับบรรยากาศที่มนั่ คง
สาหรับการลงทุน
WiMAX Technology
WiMAX
• ไวแม็กซ์ (WiMAX) เป็ นเทคโนโลยีบนบรอดแบนด์แบบไร้สาย ซึ่ ง
คาดว่าจะถูกนามาให้ใช้กนั ทัว่ ภูมิภาคเอเชีย ซึ่งปัจจุบนั ประเทศเวียดนาม
และอินโดนีเซีย ได้มีการลงทุนริ เริ่ มกันไปเรี ยบร้อยแล้ว สาหรับประเทศ
ไทยได้มีการทดลองติดตั้งบางส่ วนในหลายจังหวัด อาทิ นครราชสี มา
ขอนแก่น หาดใหญ่ เชียงใหม่ เป็ นต้น
• ไวแม็กซ์ (WiMAX) จะสามารถทางานได้ครอบคลุมพื้นที่กว้างกว่า
ระบบโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่บนระบบ 3G มากถึง 10 เท่า
พร้อมยังมีอตั ราความเร็ วในการรับส่ งข้อมูล ไม่วา่ จะเป็ นมัลติมีเดียที่มี
ทั้งภาพและเสี ยงหรื อจะเป็ นข้อมูลล้วนๆก็ตามได้สูงสุ ดถึง 75
เมกกะบิตต่อวินาที (Mbps) ซึ่งก็เร็ วกว่าระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่
แบบ 3G มากถึง 30 เท่าเลยที่เดียว
IEEE802.16a
• ไวแม็กซ์ (WiMAX) บรอดแบนด์ไร้สายความเร็ วสูงนี้ถูกพัฒนาขึ้น
บนมาตราฐานการสื่ อสาร IEEE802.16 ซึ่งต่อมาก็ได้พฒั นามา
อยูบ่ นมาตราฐาน IEEE802.16a โดยได้มีการอนุมตั ิออกมาเมื่อ
เดือนมกราคม 2004 โดยสถาบันวิศวกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์
หรื อ IEEE (Institute of Electrical and
Electronics Engineers) ซึ่งมีระยะรัศมีทาการที่ 31 ไมล์
หรื อประมาณ 48 กิโลเมตร
Point-to-multipoint
• โดยมาตราฐาน IEEE 802.16a หรื อ WiMAX มีความสามารถในการ
ส่ งกระจายสัญญาณในลักษณะจากจุดเดียวไปยังหลายจุด (Point-tomultipoint) ได้พร้อมๆกัน โดยมีความสามารถรองรับการทางานในแบบ
Non-Line-of-Sight ได้ สามารถทางานได้แม้กระทัง่ มีสิ่งกีดขวาง เช่น
ต้นไม้ หรื อ อาคารได้เป็ นอย่างดี ส่ งผลให้WiMAX สามารถช่วยให้ผทู ้ ี่ใช้งาน
สามารถขยายเครื อข่ายเชื่อมต่ออินเตอร์ เน็ตได้กว้างขวางด้วยรัศมีทาการถึง 31
ไมล์ หรื อประมาณ 48 กิโลเมตร และมีอตั ราความเร็ วในการรับส่ งข้อมูลสู งสุ ด
ถึง 75 Mbps มาตราฐาน IEEE 802.16a นี้ใช้งานอยูบ่ นคลื่น
ไมโครเวฟที่มีความถี่ระหว่าง 2-11 กิกะเฮิรตซ์ (GHz) และยังสามารถใช้
งานร่ วมกับอุปกรณ์มาตราฐานชนิ ดอื่นๆที่ออกมาก่อนหน้านี้ได้เป็ นอย่างดี
มาตราฐานของเทคโนโลยี WiMAX
• IEEE 802.16
......เป็ นมาตราฐานที่ให้ระยะทางการเชื่อมโยง 1.6 - 4.8 กิโลเมตร เป็ นมาตราฐานเดียวที่
สนับสนุน LoS (Line of Sight) โดยมีการใช้งานในช่วงความถึ่ที่สูงมากคือ 10-66
กิกะเฮิรตซ์ (GHz)
๐ IEEE 802.16a
......เป็ นมาตราฐานที่แก้ไขปรุ งปรุ งจาก IEEE 802.16 เดิม โดยใช้งานที่ความถี่ 211 กิกะเฮิรตซ์ ซึ่งคุณสมบัติเด่นที่ได้รับการแก้ไขจากมาตราฐาน 802.16 เดิม คือ
คุณสมบัติการรองรับการทางานแบบที่ไม่อยูใ่ นระดับสายตา (NLoS - Non - Line of -Sight) ทั้งยังมีคุณสมบัติการทางานเมื่อมีสิ่งกีดขวาง อาทิ เช่น ต้นไม้ ,อาคาร ฯลฯ
นอกจากนี้กย็ งั ช่วยให้สามารถขยายระบบเครื อข่ายเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตไร้สายความเร็วสูงได้
อย่างกว้างขวางด้วยรัศมีทาการที่ไกลถึง 31 ไมล์ หรื อประมาณ 48 กิโลเมตร และมีอตั รา
ความเร็วในการรับส่ งข้อมูลสู งสุ ดถึง 75 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) ทาให้สามารถรองรับ
การเชื่อมต่อการใช้งานระบบเครื อข่ายของบริ ษทั ที่ใช้สายประเภท ที1 (T1-type) กว่า 60
รายและการเชื่อมต่อแบบ DSL ตามบ้านเรื อนที่พกั อาศัยอีกหลายร้อยครัวเรื อนได้พร้อมกัน
โดยไม่เกิดปั ญหาในการใช้งาน
๐ IEEE 802.16e
......เป็ นมาตราฐานที่ออกแบบมาให้สนับสนุนการใช้งานร่ วมกับอุปกรณ์พกพาประเภทต่างๆ
เช่น PDA , Notebook เป็ นต้น โดยให้รัศมีทางานที่ 1.6 - 4.8 กิโลเมตร มีระบบที่
ช่วยใฟ้ ผูใ้ ช้งานยังสามรถสื่ อสารได้โดยให้คุณภาพในการสื่ อสารที่ดีและมีเสถียรภาพขณะใช้งาน
แม้วา่ มีการเคลื่อนที่อยูต่ ลอดเวลาก็ตาม
How does it work?
• ไวแม็กซ์ (WiMAX) บนเทคโนโลยีแบบไร้สายมาตรฐานใหม่ IEEE 802.16 มีความสามรถในการใช้
งานอย่างมีประสิ ทธิภาพสูง โดยใช้หลักการของเทคโนโลยี OFDM (Orthogonal Frequency
Division Multiplexing) ซึ่งเป็ นคลื่นความถี่ของวิทยุขนาดเล็ก (Sub-Carrier) มาใช้ให้เกิด
ประโยชน์อย่างสูงสุด โดยการนาคลื่นความถี่วิทยุขนาดเล็กในระดับ KHz มาจัดสรรให้แก่ผใู้ ช้ตามข้อกาหนด
ของคลื่นความถี่วิทยุจนเกิดเป็ นเครื อข่ายแบบไร้สายที่มีขนาดใหญ่ และรองรับการรับส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงใน
ทุกสถานที่ อย่างที่กล่าวไปแล้วว่าความเร็วสาหรับ ไวแม็กซ์ (WiMAX) นั้นมีอตั ราความเร็วในการส่งสัญญาณ
ข้อมูลมากถึง 75 เมกกะบิตต่อวินาที (Mbps) โดยใช้กลไกการเปลี่ยนคลื่นสัญญาณที่ให้ประสิ ทธิภาพสูง
สามารถส่งสัญญาณออกไปได้ระยพไกลมากถึง 31 ไมล์ หรื อประมาณ 48 กิโลเมตร นอกจากนี้สถานีฐาน
(Base Station) ยังสามารถพิจารณาความเหมาะสมในการรับส่งระหว่างความเร็วและระยะทางได้อีกด้วย
• ในส่วนของพื้นที่บริ การ ก็สามารถครอบคลุมพื้นที่ได้อย่างกว้างขวางโดยใช้เทคนิคของการแปลงสัญญาณที่มีความ
คล่องตัวสูงสาหรับการใช้งานบนมาตรฐาน IEEE 802.16a บนระบบเครื อข่ายที่ใช้สถาปัตยกรรมแบบ
ผสมผสาน (Mesh Topology) และเทคนิคการใช้งานกับเสาอากาศ แบบอัจฉริ ยะ (Smart
Antenna) ที่ช่วยประหยัดต้นทุน และมีความน่าเชื่อถือสูงด้วยมีระบบจัดการลาดับความสาคัญของงานบริ การ
(Qos – Quality of Service) ที่รองรับ การทางานของบริ การสัญาณภาพและเสี ยง ซึ่งระบบเสี ยงบน
เทคโนโลยี WiMAX นั้นจะอยูใ่ นรู ปของบริ การ Time Division Muliplexed (TDM) หรื อ
บริ การในรู ปแบบ Voice over IP (VoIP) ก็ได้ โดยโอเปอร์เรเตอร์สามารถกาหนดระดับความสาคัญ
ของการใช้งานให้เหมาะสมกับรู ปแบบของลัษณะงาน
ส่วนเรื่ องระบบรักษาความปลอดภัยนั้น WiMAX มีคุณสมบัติของระบบรักษาความปลอดภัยสูงด้วยระบบรักษา
รหัสลับของข้อมูลและการเข้ารหัสในการเข้าถึงข้อมูลอย่างเป็ นระบบ พร้อมระบบตรวจสอบสิ ทธิในการใช้งาน
อินเทลร่ วมการเปิ ดตัวไวแม็กซ์ (WiMAX)
• อินเทลมองว่าการนาไวแม็กซ์ (WiMAX) มาใช้จะเกิดขึ้นเป็ นสามระยะ ระยะแรก คือ
เทคโนโลยีไวแม็กซ์ (WiMAX) ซึ่งอยูบ่ นมาตรฐาน IEEE 802.16 -2004 ที่จะ
ให้การเชื่อมต่อไร้สายแบบเฉพาะที่ผา่ นเสาสัญญาณกลางแจ้งซึ่ งจะเกิดขึ้นในครึ่ งแรกของปี
2548 ความสามรถไร้สายเฉพาะที่กลางแจ้งสามารถใช้ได้กบั องค์กรที่มีขอ้ มูลจานวนมาก
(บริ การระดับ T1/E1) ฮอตสปอตและช่องสื่ อสารภาคพื้นดินเครื อข่ายเซลลูลาร์และบริ การ
สาหรับที่อยูอ่ าศัยในตลาดระดับบน
....... อินเทล คอร์ปอเรชัน่ ในฐานะผูน้ าของเทคโนโลยี ไวแม็กซ์ (WiMAX) ได้เผยโฉม
ดีไซน์ของไวแม็กซ์ (WiMAX) แบบ “system-on-a-chop” ที่มีชื่อรหัสว่า
Rosedale ให้ได้ชมกันเป็ นครั้งแรกเมื่อเร็วๆนี้ ซึ่งเหมาะสาหรับอุปกรณ์ซ่ ึงสนับสนุน
มาตรฐาน IEEE 802.16 -2004 อุปกรณ์น้ ีจะมีการติดตั้งที่บา้ นหรื อธุรกิจเพื่อส่ งหรื อ
รับสัญญาณบรอดแบนด์ไร้สายทาให้อินเตอร์เน็ตสามรถเชื่อมต่อได้
• ในช่วงครึ่ งปี หลังของปี 2548 จะสามารถติดตั้งไวแม็กซ์
(WiMAX) ภายในอาคารได้โดยมีเสาอากาศเล็กๆคล้ายกับจุดเชื่อม
ต่อแลนไร้สายที่ใช้มาตรฐาน 802.11 ในปัจจุบนั แบบจาลองไว
แม็กซ์ (WiMAX) ที่ใช้ในอาคารแสดงให้เห็นว่าไวแม็กซ์
(WiMAX) สามารถใช้ได้กบั บรอดแบนด์ในที่อยูอ่ าศัยของผูบ้ ริ โภค
ที่ครอบคลุมพื้นที่ในระยะไกล เนื่องจากอุปกรณ์เหล่านี้ “ผูใ้ ช้สามารถ
ติดตั้งได้เอง” ลดต้นทุนการติดตั้งสาหรับผูใ้ ห้บริ การโทรคมนาคม
....... ในปี 2549 เทคโนโลยีที่ใช้มาตรฐาน IEEE
802.16e จะมีการติดตั้งเข้าไปในคอมพิวเตอร์ที่มีประสิ ทธิภาพไร้
สายเพื่อสนับสนุนความเคลื่อนไหวระหว่างบริ เวณที่ให้บริ การไวแม็กซ์
(WiMAX) สามารถใช้ได้กบั แอพพลิเคชัน่ และบริ การแบบพกพา
และแบบที่มีประสิ ทธิภาพไร้สาย ในอนาคตอาจมีการใส่ ประสิ ทธิภาพ
ของไวแม็กซ์ (WiMAX) ลงไปในโทรศัพท์มือถือ
สรุ ป
• ไวแม็กซ์ (WiMAX) เป็ นเทคโนโลยีบนบรอดแบนด์แบบไร้สาย มีอตั ราความเร็วในการ
รับส่ งข้อมูล ได้สูงสุ ดถึง75 เมกกะบิตต่อวินาที (Mbps) มีระยะรัศมีทาการที่ 31 ไมล์
หรื อประมาณ 48 กิโลเมตร ไวแม็กซ์ (WiMAX) ถูกคาดหวังว่าจะมีการนาใช้กนั อย่าง
แพร่ หลายในประเทศกาลังพัฒนา โดยนามาใช้เป็ นโพรโทคอลสาหรับการส่ งสัญญาณเสียง
รวมทั้งสื่ อในรู ปแบบอื่นๆ ผ่านอินเทอร์เน็ต (voice-over-internet-protocol)
แทนการส่ งสัญญาณผ่านสายทองแดง เทคโนโลยี WiMax จะช่วยให้การติดต่อระยะไกลๆ มี
ราคาถูกลง เนื่องจากผูป้ ระกอบการในอนาคตสามารถเปลี่ยนจากการวางสายทองแดงมาเป็ นการ
ติดตั้งหอสัญญาณ WiMax แทน มีการคาดการณ์วา่ หาก WiMax ถูกใช้อย่างแพร่ หลาย
แล้ว อุปกรณ์ต่างๆ ที่เคยอยูก่ บั ที่จะถูกเปลี่ยนเป็ นอุปกรณ์เคลื่อนที่ และสามารถติดต่อกันง่ายขึ้น
ซึ่งในเรื่ องนี้ผนู้ าในการผลิตชิปแนวหน้าของโลก เช่น บริ ษทั Intel ก็ให้การสนับสนุนและเริ่ ม
มีแผนที่จะผลิตชิปที่เป็ น WiMax เพื่อรองรับมาตรฐานของคอมพิวเตอร์ Laptop ที่ดี
ที่สุดในอนาคตซึ่งคาดว่าจะเริ่ มในปี 2006-2007
......และถึงแม้วา่ ในขณะนี้ประเทศไทยอยูใ่ นขั้นของการทดสอบในบางพื้นที่อยูก่ ต็ าม แต่ดว้ ย
เทคโนโลยี WiMAX เป็ นเทคโนโลยีที่มีประสิ ทธิภาพสูง อีกทั้งยังรองรับเครื อข่ายแบบไร้
สายที่กว้างขวางสาหรับการใช้งานอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง และหากมองถึงประโยชน์ในการ
ขยายเครื อข่ายบรอดแบนด์ให้เข้าถึงพื้นที่ที่อยูห่ ่างไกลแล้ว ผลประโยชน์กจ็ ะเกิดขึ้นกับผูใ้ ช้งาน
ทุกคนที่จะมีโอกาศได้ใช้เครื อข่ายสื่ อสารความเร็ วสู งอย่างเท่าเทียมกัน ทาให้อนาคตอันใกล้น้ ี
เราคงจะได้สมั ผัสถึงเทคโนโลยีที่มีประสิ ทธิภาพอย่าง WiMAX นี้อย่างแน่นอน
Web Services
What is Web Services?
. Web Services เป็ นชื่อเทคโนโลยีระดับสูงในการพัฒนาระบบ
ผ่านอินเตอร์เน็ต
. บริ การต่างๆ ที่เปิ ดให้ใช้ผา่ นทาง Internet หรื อ Private
(Intranet) Network
. ใช้ระบบข้อความ (Message) ที่เป็ นมาตรฐาน XML
. ไม่ข้ ึนอยูก่ บั ระบบปฎิบตั ิการหรื อภาษาใดในการท างาน
. อธิบายคุณสมบัติดว้ ยภาษา XML ที่เป็ นมาตรฐาน (WSDL)
. สามารถค้นหาได้โดยวิธีการที่ง่าย (UDDI)
Plate form Independence
Who? How?
SOAP
.Simple Object Access Protocol
(SOAP)
.SOAP is based on XML
.SOAP is platform independent
.SOAP is language independent
.SOAP is simple and extensible
.SOAP allows you to get around
firewalls
.SOAP will be developed as a
W3C standard
WSDL
• .Web Service Description Language (WSDL)
• .WSDL is an XML grammar for specifying a
public interface for a web
• service.
• .Information on all publicly available functions.
• .Data type information for all XML message.
• .Biding information about the specific transport
protocol to be used.
• .Address information for locating the specified
service.
• .Describing of SOAP Services
SOA
Why? SOA
•The business drivers for a new approach
–ความต้องการทางด้านธุรกิจเป็ นตัวขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนาซอฟต์แวร์ ในรู บแบบ
ใหม่ คือ Service-Oriented Architecture ภายใต้เงื่อนไขดังนี้
•ลดต้นทุนการพัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีที่มีอยูเ่ ดิมให้มากที่สุด
•ต้องมีการพัฒนาระบบอย่างต่อเนื่องเพื่อตอบสนองลูกค้า
•เพิ่มความสามารถการแข่งขัน และรองรับเงื่อนไขต่างทางธุรกิจ
•ความหลากหลายของระบบ (Heterogeneity)
–ระบบซอฟต์แวร์ในระดับ Enterprise ตัวอย่างเช่นระบบงานของหน่วยภาครัฐ
ซึ่ งประกอบไปด้วย ซอฟต์แวร์ ที่หลากหลาย และแตกต่างกัน ทั้งในส่ วนเทคโนโลยี
ผูผ้ ลิต การท างาน และอายุการใช้งาน
Why? SOA
•การรวมระบบที่มีความแตกต่างกัน เป็ นเรื่ องที่ทาได้ยากและเปรี ยบ
เหมือนฝันร้ายเลย
•ไม่สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงซอฟต์แวร์ ทุกตัวให้มาจากผูผ้ ลิต
เดียวกันได้ (Single-vendor approach)
–เพราะซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม และสนับสนุนการท างานในทุกเรื่ อง เป็ นเรื่ องที่ยาก
มาก
•การเปลี่ยนแปลง (Change)เนื่องจากการแข่งขันในโลกของธุรกิจ ที่
ต้องอาศัยความเร็ ว และการแข่งขันสู ง
–ลูกค้าเปลี่ยน Requirement เนื่องจากต้องการปรับ ขบวนการเพื่อกลยุทธ์
–การปรับเปลี่ยนคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ เพื่อทันต่อสถานการณ์
Service Oriented Architecture (SOA)
1. .A style of design that guides all aspects of creating and
using Business Services throughout their lifecycle.
2. .a way to define and provision an IT infrastructure to
allow different
3. applications to exchange data and participate in
business processes
4. .operating systems or programming languages
5. .New applications can be developed entirely, or almost
entirely, by
6. composing existing services.
7. .New applications can be assembled out of a collection
of existing,
8. reusable services.
What are Services?
.Bank Services
.Account management (opening and closing
accounts).
.Loans (application processing, inquiries
about terms and conditions,
accepting payments).
.Withdrawals, deposits, and transfers.
.Foreign currency exchange.
SOA Architecture
SOA Architecture
SOA Architecture
SOA Benefits
•Reuse
–The ability to create services that are reusable in
multiple applications.
•Efficiency
–The ability to quickly and easily create new
services and new applications using a
combination of new and old services, along
with the ability to focus on the data to be shared
rather than the implementation underneath.
SOA Benefits
•Loose technology coupling
–The ability to model services independently of
their execution environment and create
Messages that can be sent to any service.
•Division of responsibility
–The ability to more easily allow business people to
concentrate on business issues, technical
People to concentrate on technology issues,
and for both groups to collaborate using the
service contract.
SOA and Web Service Integration
•Web services integration (WSI)
–The tactical and opportunistic application of Web
services to solving integration and interoperability
problems.
•Service-oriented integration (SOI)
–Integration using Web services in the context of an
SOA that is, the strategic and systematic
application of Web services to solving integration
and interoperability problems.
Summary
•SOA is a style of design that guides all
aspects of creating and using business
services throughout their lifecycle. And
promise of
–Reuse
–Efficiency
–Loose technology coupling
–Division of responsibility
•Web Services is technology to help the
concept of SOA.
Web2.0
What is Web2.0?
Web 2.0 คือการให้ความหมายของสิ่ งที่เปลี่ยนไปของเทคโนโลยีเว็บไซต์ ซึ่งก็เหมือนกับที่สมัยก่อน เราเปลี่ยนจาก
ทีวีขาวดามาเป็ นทีวีจอสี นนั่ ล่ะครับ โดยกาหนดตัวเลขว่าเป็ น generation ที่ 2 ของเว็บนัน่ เอง สิ่ งต่างๆที่
เกี่ยวข้องกับ Web 2.0 นั้นก็ เช่น AJAX, Blog, Feeds, Podcast, Social
networking ฯลฯ โดย Web 2.0 application จะคุณสมบัติดงั ต่อไปนี้ครับ
1. ให้ความสาคัญกับผูเ้ ข้าชมเว็บไซต์ โดยที่ผเู้ ข้าชมเว็บไซต์จะมีส่วนร่ วมต่อเว็บไซต์มากขึ้น ไม่ใช่แค่เข้ามาชมเว็บไซต์
ที่เจ้าของเว็บจัดทาขึ้นเท่านั้น ผูเ้ ข้าชมเว็บไซต์สามารถสร้าง content ของเว็บไซต์ข้ ึนมาได้เองหรื อสามารถ
tag content ของเว็บไซต์ (คล้ายๆการกาหนด keyword ที่เกี่ยวข้องกับ content โดยผูเ้ ข้าชม
เว็บไซต์เป็ นผูก้ าหนดขึ้น) ตัวอย่างเช่น Digg, Flickr, Youtube , Wiki
2. Web 2.0 application จะมีคุณสมบัติที่เรี ยกว่า RIA (Rich Internet Application) นัน่
คือ Web 2.0 application จะมี userinterface ที่ดียงิ่ ขึ้น เช่น คุณสมบัติ drag & drop ซึ่ง
เราใช้กบั ใน desktop application ทัว่ ๆไปก็สามารถใช้ได้บนเว็บเช่นกัน โดยเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องใน
การสร้าง RIA เช่น AJAX, Flash
3. คุณสมบัติที่เรี ยกว่า mash-up ก็เป็ นส่วนสาคัญอีกส่วนนึงของ Web 2.0 application นัน่ ก็คือการ
ที่เราสร้าง Web application ขึ้นมาสักตัวนึง แล้วเราสามารถเปิ ด service ของ Web
application ให้คนอื่นๆสามารถมาใช้ได้ ยกตัวอย่างเช่น ผมสร้าง Web application เกี่ยวกับระบบ
การซื้อขายสิ้นค้า online ขึ้นมาโดยผมสามารถ mash-up ระบบของผมเข้ากับ Google maps ได้
อย่างง่ายดายเพื่อที่จะทา Web application ของผมนัน่ มีความสามารถในการ ซื้อขายสิ นค้า online แล้ว
ยังสามารถคานวนระยะทางและเวลาในการขนส่งสินค้าไปให้ลูกค้า รวมทั้งสามารถพิมพ์แผนที่เส้นทางได้ โดยที่ป
ผมไม่ตอ้ งสร้าง Application สาหรับสร้างแผนที่ข้ ึนมาเองเลย โดยเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องคือ Feeds,
RSS, SOA, Web services
เทคโนโลยีทนี่ ่ าสนใจสาหรับ Web 2.0
• AJAX สาหรับผมแล้วถือว่าเป็ น เทคโนโลยีที่สำคัญมำกๆ สาหรับ Web 2.0 application
เลยทีเดียว โดย AJAX ใช้สาหรับการสร้าง userinterface ที่สามารถใช้งานได้ง่ายยิง่ ขึ้นและ
รวดเร็ วยิง่ ขึ้นบนเว็บ สิ่ งที่สาคัญที่สุดก็คือ AJAX นั้นสามารถทางานบนทุก browser ไม่วา่ จะ
เป็ น IE, Firefox, Opera หรื อ Safari ก็ตาม ตัวอย่าง Web 2.0 application ที่
นา AJAX ไปใช้กเ็ ช่น Gmail, Google Docs & Spreadsheets,
Google Calendar หรื อ LetsProve VO
• XML, Web services ใช้ในการทาให้ Web 2.0 application สามารถ
integrate functional ในการทางานร่ วมกันได้ง่ายยิง่ ขึ้น application ที่เราคุน้ เคยก็เช่น
เราสามารถติดตามตาแหน่งงานที่เราสนใจใน Jobsdb ได้โดย RSS feeds
• SaaS (Software as service) เป็ น Model ใหม่สาหรับการใช้บริ การ software
โดยที่แต่ก่อนเราอาจจะต้องซื้ อ software เป็ น license แล้วนามา install บนเครื่ องเรา แล้ว
เมื่อถึงเวลาที่ผผู ้ ลิต update software เป็ น version ใหม่เราก็ตอ้ งไป download หรื อ
ซื้ อ software ใน version ใหม่ และถ้าหากมีผใู ้ ช้ software เป็ นจานวนมากๆก็จะต้อง
เสี ยเวลาและเงินอย่างมากในการ update software แต่ละที ซึ่ ง SaaS จะสามารถแก้ปัญหา
ในจุดนี้ได้โดยมอง software เป็ นเหมือนบริ การๆนึง โดยผูใ้ ช้บริ การเพียงแค่จ่ายเงินค่าบริ การ แล้วก็
สามารถใช้งาน software ผ่านทาง web browser ได้ทนั ที เมื่อมีการ update
software ก็จะทาเองอัตโนมัติโดยผูผ้ ลิต SaaS มีขอ้ ดีคือ ผูใ้ ช้จะสามารถวางแผนงบประมาณ
สาหรับการซื้ อ software ได้มากยิง่ ขึ้น (ไม่ใช่วา่ ซื้ อ software มาแล้วยังต้องจ่ายค่า
support, fix bug ตามมาอีก) และใช้เวลาน้อยกว่าในการ update version
software แต่ละครั้ง ตัวอย่าง SaaS เช่น Google, Salesforce, Zoho
It is all around the 8 Web 2.0
Principles
• What is Web 2.0 ?
Web 2.0 is a set of social, economic, and
technology trends that collectively form
the basis for the next generation of the
Internet—a more mature, distinct medium
characterized by user participation,
openness, and network effects.
(Source: O’Reilly Radar: Web 2.0 Principles and Best Practices)
It is all around the 8 Web 2.0
Principles
What are the Web 2.0 Principles
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
Harnessing Collective Intelligence
Data is the Next “Intel Inside”
Innovation in Assembly
Rich User Experiences
Software Above the Level of a Single Device
Perpetual Beta
Leveraging the Long Tail
Lightweight Models and Cost Effective
Scalability
Development Processes
• New ICT technologies makes software development
more and more complicated
• To deliver quality software people learn to use tools and
to work within a process improvement framework
• The difficulty part is to change the behavior of software
engineers; Agile development now becomes mainstream
• The SEI 3-Dimensional framework for process
improvement; including people and team work and
adding the “How to” part in the processes
• Facing problem of “Technology Silos”; need collaboration
• Ultimate solution is ALM (Application Lifecycle
Management); a new value chain system in a software
development organization
Complexity is increasing…
• Software development becomes more complex
– Distributed computing and SOA lead toward more
componentized software; more pieces to manage
– Composite applications
– More reusable
– New deployment methodology
– More methods and processes to choose; UP, Agile
processes such as XP, Scrum, etc.
• More decisions to be made
– Open standard, Open source, Outsourcing, process
reengineering, new technologies—Web 2.0, etc.
– More tools to choose—design tools, test tools, VSTS,
etc.
The SEI 3-Dimensional framework
for process improvement
• CMM/CMMI provides a powerful improvement
framework focusing on organization; what the
organization should do….
• Personal Software Process (PSP) provides
method focusing on best practices on individual
• Team Software Process (TSP) provides methods
to guide engineers on development and
maintenance teams; to combine personal
processes into an overall team process
Source: Pathway to process maturity by Watts Humphrey
Many roles, many players..
• People involved in Enterprise software
development are many, from users to
business analysts, to system analysts and
designers; from software architects to
deployment engineers, to data base
administrator to network engineers, to
developers, to project managers, to
testers, from client side programmers to
server side programmers, from CIO to
CEO, and so on…..
The end-to-end processes
• From requirement phase to design phase to
implementation and deployment, these phases
must be connected; output from one becomes
input to another
• The whole end-to-end processes must be well
coordinated and managed; we need a way to
get rid of the technology silos
• We need “Collaboration” and “Management” if
we want to guarantee high quality software
delivery
Application Lifecycle Management (ALM)
Source: Serena
Service Science
• Service covers everything except
manufacturing and agriculture products;
they are not tangible articles
• Science: Repeatable model based on a
model that yields predictable results.
Observed results through controlled
experimentation or empirical analysis may
or may not match the expected result
IT Infrastructure Library (ITIL)
framework
3
2
6
Business
Perspective
Service
Support
5
ICT
Infrastructure
1 Service
Delivery
4
Security
Management
7,8
Application Management
Software Asset Management
The Technology
The Business
Planning to implement Service Management
Source: ACM Computing Curricula 2004
Major computing disciplines
Source: ACM Computing Curricula 2004
1. Computer engineering is concerned with the design and
construction of computers, and computer based systems
(hardware, software, communications, and the
interaction among them)
2. Computer science spans from its theoretical and
algorithmic foundations to cutting-edge developments in
robotics, computer vision, intelligent systems,
bioinformatics, and other exciting areas.
3. Information systems specialists focus on integrating
information technology solutions and business processes
to meet the information needs of businesses and other
enterprises.
4. Information technology emphasizes on the technology
itself more than on the information it conveys.
5. Software engineering is the discipline of developing and
maintaining software systems that behave reliably and
efficiently, are affordable to develop and maintain.
Knowledge
Skills
Knowledge VS Skills
• We are entering an era where we will have
to emphasize on Skills development more
than just Knowledge development,
especially in Software
Future Storage
HD DVD
• HD DVD มาจากคาว่า High Density DVD ซึ่งพัฒนาขึ้นโดย
HD-DVD Promotion group ซึ่งมีบริ ษทั มากว่า 63 บริ ษทั ที่ให้
ความสนับสนุนเช่น Toshiba, Sanyo, NEC, Universal
Pictures และบริ ษทั อื่นๆ อีก ซึ่งมาตรฐานนี้ได้รับการรับรองจาก DVD
Forum ซึ่งเป็ นองค์กรที่คอยจัดการมาตรฐานของ DVD ในปัจจุบนั
• HD DVD แบบ Single Layer จะมีความจุอยูท่ ี่ 15 GB (มี
เส้นผ่าศูนย์กลาง 12 cm และความหนาประมาณ 1.2 mm. ) ส่ วน
Blu-ray แบบ Single Layer มีความจุอยูท่ ี่ 25 GB ซึ่งสาเหตุกม็ า
จากการใช้ Laser ของแสงที่มีความยาวคลื่นสั้น ความถี่สูง กว่าที่ใช้กนั ใน
DVD
CD และ DVD ในปั จจุบนั ใช้ความยาวคลื่นอยูท่ ี่ 650 nm.
ซึ่ งอยูใ่ นช่วงสี แดง แต่ท้ งั HD DVD และ Blu-ray จะใช้แสงที่มีความยาวคลื่น
เท่ากันคือ 405 nm.
Blue-ray Disc (BD)
• Blue-ray Disc (BD) คือเทคโนโลยีเก็บข้อมูลที่ออกแบบมาเพื่อให้สามารถ
ตอบสนองความต้องการในการเก็บข้อมูลที่มีปริ มาณความจุสูง และรองรับความต้องการชม
ภาพยนตร์ความละเอียดสูง (High Definition)และมี Hard-Coating
Technology ซึ่งเป็ นเทคโนโลยีที่ปกป้ องการขูดขีดแผ่นรู ปร่ างทางกายภาพของBD
• การที่แสงมีความยาวคลื่นเล็กลงทาให้เราสามารถบีบให้ลาแสงมีขนาด
เล็กลงได้มากขึ้น ทาให้สามารถอ่านบิตของข้อมูลที่ถูกเก็บในขนาดที่
เล็กกว่าได้ดีข้ ึน
• มีขนาดและรู ปร่ างเหมือนแผ่น CD และ DVD ทาการอ่านเขียนข้อมูลของแผ่นด้วย
ลาแสงเลเซอร์ โดย BD ใช้ลาแสงสี น้ าเงินในการอ่านข้อมูล แทนที่จะใช้แสงสี แดงเหมือนกับ
แผ่น CD และ DVD จึงเป็ นที่มาของการเรี ยกชื่อเทคโนโลยีน้ ีวา่ Blu-ray
• เหตุที่เลือกใช้ลาแสงเลเซอร์สีน้ าเงินเนื่องจากมีช่วงคลื่นที่เล็กมาก เพียง 405
Nanometer จึงทาให้ในแผ่นขนาดเดียวกัน BD สามารถจัดเก็บข้อมูลได้มากถึง 25
GB. ต่อ 1 Layer ในขณะที่แผ่น DVD เก็บข้อมูลได้ 4.7 GB. และแผ่น CD
เก็บข้อมูลได้ 700 MB. โดยขนาดที่เพิ่มขึ้นมาจากการใช้พ้นื ที่หลุม (pit/mark) ที่มี
ขนาดเล็กมาก และ BD มีความเร็ วในการหมุนของแผ่นที่มากกว่าเมื่อเทียบกับ CD ที่
สามารถถ่ายโอนข้อมูลได้ในการผลิตผูผ้ ลิตส่ วนมากเลือกที่จะผลิตออกมาในแบบ 2 ชั้น จึง
เก็บข้อมูลได้มากถึง 50 GB. ต่อแผ่น
• บลูเรย์ ดสิ ค์ (Blu-ray Disc) หรื อ บีดี (BD) คือรู ปแบบของแผ่นออพติคอล
สาหรับบันทึกข้อมูลความละเอียดสูง ชื่อของบลูเรย์มาจาก ช่วงความยาวคลื่นที่ใช้ใน
ระบบบลูเรย์ ที่ 405 nm ของเลเซอร์สี "ฟ้ า" ซึ่ งทาให้สามารถทาให้เก็บข้อมูลได้มากกว่าดี
วีดี ที่มีขนาดแผ่นเท่ากัน โดยดีวดี ีใช้เลเซอร์สีแดงความยาวคลื่น 650 nm
• โดยเฉพาะผูผ้ ลิตในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ที่จะผลิตภาพยนตร์ความละเอียดสูง BD
คล้ายกับ PDD(Professional Disc for Data) ที่พฒั นาโดย Sony
ในปี 2003 แต่ BD มีความจุและความเร็วในการอ่านข้อมูลที่สูงกว่า และวัตถุประสงค์
ของการพัฒนา PDD มุ่งไปที่การจัดเก็บและสารองข้อมูลมากกว่าใช้ในธุรกิจ Home
Video เหมือนกับ BD คู่แข่งสาคัญของ BD คือ HD DVD ที่พฒั นาโดยกลุ่ม
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ โดยมี Toshiba เป็ นผูน้ าซึ่ งได้พฒั นามา
ตั้งแต่ปี 2003 และมี Microsoft นามาใช้ในเครื่ องเกมส์ Xbox360 ในปี
2006 โดย HD DVD มีความจุ 15 GB. ต่อ Layerกลุ่มที่ทาหน้าที่กาหนด
มาตรฐาน BD คือ Blu-ray Disc Association (BDA) ที่รวมตัวกันใน
ปี 2002 โดย 9 ผูน้ าในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ Matsushita,
Pioneer, Pillips, Thomson, LG Electronics, Hitachi,
Sharp, Samsung และ Sony โดย Sony เป็ นผูน้ า ปัจจุบนั มีบริ ษทั เข้า
ร่ วมเป็ นจานวนมาก ทั้งผูผ้ ลิตคอมพิวเตอร์ อย่าง Apple, Dell, HP และผูน้ าใน
อุตสาหกรรมภาพยนตร์ อาทิ Walt Disney, Warner Bros. และ
Universal Music Group. มีสมาชิกมากกว่า 250 บริ ษทั
• ภาพเปรี ยบเทียบขนาดของแสงเลเซอร์และหลุม (pit) ที่ทาหน้าที่เก็บ
ข้อมูลบนแผ่น CD / DVD / BD
จะพบว่าลาแสงเลเซอร์สีน้ าเงินของ BD มีขนาดที่เล็กมากเมื่อเปรี ยบเทียบ
กับลาแสงเลเซอร์สีแดงที่ใช้กบั แผ่น CD และแผ่น DVD ทาให้ใช้
พื้นที่ซ่ ึงเป็ นหลุมในการเก็บข้อมูลที่มีขนาดเล็กมาก จึงสามารถเก็บข้อมูล
ได้ในปริ มาณมากกว่าในพื้นที่เท่ากัน
• เนื่องจากในการทางานหัวอ่านของเลนส์ของ BD จะอยูใ่ กล้ชิดกับ
ชั้นข้อมูลของแผ่น มากกว่า DVD ทาให้มีอตั ราในการสูญเสี ย
ข้อมูล หรื อได้รับสัญญาณรบกวนที่นอ้ ยกว่า
ผูส้ นับสนุน
• มาตรฐานของบลูเรย์พฒั นาโดย กลุ่มของบริ ษทั ที่เรี ยกว่า Blu-ray
Disc Association ซึ่งนาโดยโซนี และ ฟิ ลิปส์ เปรี ยบเทียบกับ
เอ็ชดีดีวีดี (HD-DVD) ที่มีลกั ษณะและการพัฒนาใกล้เคียงกัน บลู
เรย์มีความจุ 25 GB ในแบบเลเยอร์เดียว (Single-Layer) และ
50 GB ในแบบสองเลเยอร์ (Double-Layer) ขณะที่ เอ็ชดีดีวีดี
แบบเลเยอร์เดียว มี 15 GB และสองเลเยอร์มี 30 GB
BLU-RAY Disc ก็คือ แผ่นบันทึกข้อมูลที่มีความจุสูงถึง 25 กิกะไบต์ต่อหนึ่งเลเยอร์ ซึ่ งปกติแผ่นบลู
เรย์น้ นั จะมีลกั ษณะคล้ายกับแผ่นซีดี/ดีวดี ี โดยแผ่นบลูเรย์จะมีลกั ษณะแบบหน้าเดียว และแบบสองหน้า
โดยแต่ละหน้าสามารถรองรับได้มาถึง 2 เลเยอร์ อาทิ
แผ่ น BD-R (SL) หมายถึง BLU-Ray Disc ROM แบบ Single Layer แบบหน้ า
เดียว มีความจุ 25 GB
แผ่ น BD-R (DL) หมายถึง BLU-Ray Disc ROM แบบ Double Layer แบบหน้ า
เดียว มีความจุ 50 GB
แผ่ น BD-R (2DL) หมายถึง BLU-Ray Disc ROM แบบ Double Layer แบบ
สองหน้ า มีความจุ 100 BG
คุณสมบัติเด่นที่เหนือกว่า HD DVD ดังนี้
• 1. Laser Wavelength: ความยาวแสงเลเซอร์ Blu-Ray ใช้เลเซอร์ที่ยาว 405
นาโนเมตรทาให้เก็บข้อมูลได้มากถึง 25GB ในขณะที่ HD DVD จุได้แค่ 15GB ซึ่ง
รองรับการทางานของ HDTV นานถึง 4 ชัว่ โมงสาหรับการเก็บข้อมูลชั้นเดียว ทาให้มีเนื้อที่
ในการเก็บข้อมูลเหลือเมื่อพูดถึงระดับ 2 หรื อ 3 เลเยอร์
2. Aperture Size: ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง Blu-Ray มีถึง 0.85 นา
โนเมตรซึ่งทาให้ส่งข้อมูลได้รวดเร็ วกว่า HD DVD ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางแค่ 0.60 นาโน
เมตร
3. Thinner Layer: ความบางของชั้นเลเยอร์ Blu-Ray มีความหนาแค่
0.1 นาโนเมตรซึ่ งถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับ HD DVD หรื อ DVD ที่มีความหนาถึง
0.6 นาโนเมตร ทาให้ผวิ เลเยอร์ของ Blu-Ray มีความเรี ยบและป้ องการข้อมูลเสี ยหายได้
ดีกว่า
4. Protective Top Layer: ดิสก์ของ Blu-Ray ทามาจากโพลีเมอร์ซ่ ึง
ทาให้มีความทนทานต่อการขีดข่วนได้ดี ในขณะที่ HD DVD ใช้วสั ดุเดียวกับที่ใช้ผลิตแผ่น
DVD ที่ง่ายต่อการขีดข่วน
แผนแม่บท
กิจกรรมสาคัญด้านไอทีของไทยที่ผา่ นมา
2536
2537
2538
2539
2540
2541
2542
2543
2544
2545
คณะกรรมการ Y2K แห่งชาติ
สานักบริ การเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ และ GINet
Software Park Thailand
นโยบาย IT-2000
นโยบาย IT-2010
การกาหนดให้มี CIO ภาครัฐ และแผนแม่บท IT
IT-Year 2538-2539
เครื อข่ายไทยสาร
ถึงทุกมหาวิทยาลัย
เครื อข่ายไทยสาร-II
APAN และ Internet2
เครื อข่ายไทยสาร-III
บริ การอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิ ชย์
SchoolNet Thailand
SchoolNet@1509
เครื อข่ายกาญจนาภิเษก
5000 รร.
Govt IT Week and Govt
IT Awards
e-Thailand/e-ASEAN
บริ ษทั เทรดสยาม จากัด
EU-Asia PMO
E-Government
E-Commerce Resource Center
การยกร่ างกฎหมาย IT จานวน 6 ฉบับ
ร่ าง กม.ธุรกรรมและลายมือชื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ผา่ น ครม.
ร่ าง กม.ลาดับรอง ตาม รธน.๗๘ ผ่าน
ครม.
IT2010
ระยะเวลา 2544 - 2553
กรอบนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ:
นาประเทศไทยก้าวสู่
เศรษฐกิจแห่งภูมิปัญญาและการเรี ยนรู ้
(Knowledge-Based Economy)
พิจารณาและเห็นชอบ
โดยคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่ งชาติ เมื่อ ๓ ตุลาคม ๒๕๔๔)
ICT Development Program
for 2001-2006
Source: NITC Meeting presentation June 11, 2001
Economy
e-Industry
e-Commerce
services/agriculture/
and tourism
e-Government
Society
e-Society
e-Education
Science and Technology, R&D, Knowledge
Information Development, IT Literacy, IT HR
Telecommunication Infrastructure
Quantity
Quality
จากนโยบายสู่การปฏิบตั ิ
IT 2010
Policy
Framework
2544
ICT
ImplementMaster Plan tation
2545
มีนาคม
วัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ ICT
ส่ ง
ออก
การยกระดับของประเทศไทย
อุตสาหกรรม
ICT:
ไฟฟ้ า
อิเล็กทรอนิกส์
คอมพิวเตอร์
โทรคมนาคม
ซอฟต์แวร์
เพิม่ ขีด
ความ
สามารถ
ของการ
แข่ งขัน
สร้ างสั งคม
คุณภาพ และ เป็ นสั งคม
แห่ ง
ภูมปิ ัญญาและ
การเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่ อสาร และความรู้
เป็ น enabling technology
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร เครื่ องมือช่วยพัฒนาประเทศ
ตลาดในประเทศ จะช่วยให้เกิดกาลังในการพัฒนาเทคโนโลยี
การ
พัฒนา
ทีย่ งั่ ยืน
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารฉบับที่ 1
(2545-2549)
กรอบนโยบำยของกำรพัฒนำรัฐบำลอิเล็กทรอนิกส์
นโยบายรัฐบาล
แผนแม่ บทไอซีที พ.ศ. 2545-2549
แผน
พัฒน
า
เศรษ
ฐกิจ
และ
สังคม
ฉบับ
ที่ 9
กรอบ
นโยบาย
IT2010
( 2544-2553)
กลยุทธ :
eGovernment
e-Commerce
e-Industry
e-Education
e-Society
ยุทธศาสตร์ 7
กลยุทธ์ รัฐบาล
อิเล็กทรอนิกส์
การนา ICT มา
ใช้ ประโยชน์ ใน
การบริหารและ
การให้ บริการ
ภาครัฐ (e-Gov)
• พัฒนาระบบ
บริหารและบริการ
ภาครั ฐ
• การพัฒนา
โครงสร้ างพืน้ ฐาน
และมาตรฐานร่ วม
• การพัฒนา
บุคลากร
• ฯลฯ
เป้าหม
าย :
ประชา
ชน
ภาค
เป้ าหมายหลักที่เกีย่ วข้ องตามแผนแม่ บทฯ
เป้าหมาย
ื่ สารของ
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ
ประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549
ระยะเวลา
2546
2547
ให ้หน่วยงานภายในกระทรวงสามารถแลกเปลีย
่ นขอมู
้ ลและ
บริการฐานขอมู
้ ลภายในและระหว่างกรมผ่านระบบ
อิเล็กทรอนิกสไ์ ดทั
้ ่ วประเทศ
n.a.
ื่ มโยงขอมู
ให ้ทุกกระทรวงสามารถเช อ
้ ลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส ์
ไดทั
้ ่ วประเทศ
n.a.
ื่
ให ้หน่วยงานของภาครัฐสามารถให ้บริการพืนฐานผ่
้
านสอ
์ ี่เกีย
อิเล็กทรอนิกสท
่ วกับ การชาระค่าธรรมเนียมของรัฐในระดับ
จั งหวัดทุกจั งหวัด ไม่น ้อยกว่าร ้อยละ 50
n.a.
2548
2549
แนวทางการดาเนินการโครงการ e-Government
ของร ัฐบาลไทย กระทรวง ICT
ทุกสว่ นราชการมีเว็บ ไซต์ในการให ้บริการขอมู
้ ล
96%
ทุกสว่ นราชการมี Domain Name ขององค์กร
84%
์ อบกลับ
ทุกสว่ นราชการมีไปรษณียอ
์ เิ ล็กทรอนิกสต
79%
ทุกสว่ นราชการมีเว็บ บอร์ด
71%
ผูบริ
้ หารขององค์กรตองมี
้
e-mail และมีกระบวนการตอบกลับ
97%
ื่ อิเล็กทรอนิกส ์ (PKI)
พัฒนาระบบลายมือช อ
50% ของส่วนราชการมี PKI
0.4%
100% ของส่วนราชการมี PKI
0.4%
ื่ มโยงขอมู
พัฒนาโครงสร ้างเช อ
้ ล
ื่ มต่อขอมู
เช อ
้ ลประชาชนทั ง้ หมด
n.a.
ื่ มต่อ 40% ของ Transaction ขาม
เช อ
้ Domain ที่สาคัญ
n.a.
ื่ มต่อ 100% ของ Transaction ขาม
เช อ
้ Domain ที่สาคัญ
n.a.
ที่มา : NECTEC
E-Government Project
สถานภาพการเชื่อมโยงการให้บริการปั จจุบนั
ธุรกิจ
ประชาชน
รัฐบาล
GOVT
GOVT
กระทรวง/กรม
กระทรวง/กรม
กระทรวง/กรม
GOVT
กระทรวง/กรม
กระทรวง/กรม
สร ุปภาพรวมการพัฒนา e-Government
หน่วยงานส่วนใหญ่ยงั อยู่ ณ ขัน้ ตอนนี้
เว็บไซต์ของ
หน่ วยงาน
การประสานงาน
ระหว่ างหน่ วยงาน
ของรัฐ
DOC/MOC
การให้บริ การธุรกรรมอิ เล็กทรอนิ กส์กำรให้ บริกำร ณ จุดเดียว
“Single Point”
ของรัฐ
• e-Revenue
• e-payment
• e-Auction
สภาพปัญหาในปัจจุบนั
1. ขาดกรอบการพัฒนา e-Government Framework
ที่ชดั เจน
2. การพัฒนาเป็ นลักษณะโครงการขาดความเชื่อมโยง
ไม่ต่อเนื่ อง (Piecemeal Approach)
3. แนวคิดและศักยภาพของแต่ละหน่ วยงานมีความ
แตกต่างกัน ทาให้ระดับการพัฒนาที่ผา่ นมาไม่เท่ากัน
รวมทัง้ ขาดทิศทางที่ประสานกันระหว่างหน่ วยงาน
(Department/Ministry Centric)
สภาพปัญหาในปัจจุบนั (ต่อ)
4. ขาดการบริหารจัดการที่ดีและประสบการณ์การ
พัฒนาด้าน e-Gov & e-Service
5. ขาดการกาหนดมาตรฐานและการจัดระบบของ
e-Government ที่ดี เช่น Common service,ระบบ
Security ทาให้เกิดการซา้ ซ้อนการให้บริการ (Silo
and Duplicate)
6. ขาดการกากับดูแลและการให้บริการโครงสร้าง
พืน้ ฐานร่วม (Common Infrastructure)
กลยุทธ์การพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
1.Benchmark การพัฒนา e-Government ของไทย
เป้ าหมาย e-Government ของสิงคโปร์ (1มี.ค.2547)
สานประสบการณ์
การจัดทาแผนพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
2
กลุ่มของ E-Government ที่น่าสนใจ E-Gov ที่มีระดับการพัฒนาที่ดี
USA
ความโดดเด่นของกรอบแผน
รัฐบาลอิ เล็กทรอนิ กส์และปรากฏ
เห็นเป็ นรูปธรรม
Sri Lanka
Hong Kong
Australia
Citizen
Centric
Malaysia
Canada
UK
กระตุ้นแนวความคิ ดและพัฒนา
วิ สยั ทัศน์ ของรัฐบาลอิ เล็กทรอนิ กส์
ของไทยให้เป็ นจริ ง
Singapore
Government Centric
ด้วยโครงสร้างพื้ฯฐานที่ยืดยุ่นจะทา
ให้รฐั บาลอิ เล็กทรอนิ กส์ปรากฏผลได้
อย่างรวดเร็ว
ประสบการณ์ ความสาเร็จ
ของหลายๆรัฐบาล
ในภูมิภาค :
Malaysia electronic
Government
Department Centric
Program
Management
Industry Partnerships
E-Government Solutions
Hong Kong e-Service
Delivery Life
Australia eGovernment
3 สานความคิด
การจัดทาแผนพัฒนา e-Government
การดาเนินการที่ผา่ นมาแบ่งเป็ น 3 ขัน้ ตอน
ริเริ่มเสนอแนะบริการ
/จาแนก เป้ าหมาย 15
ประการ(milestone)
• ระดมความคิดเห็น
จากทุกกระทรวง
คัดเลือกและจัดลาดับ
ความสาคัญ
• ผูแ้ ทน CIO ของทุก
กระทรวงร่วมกัน
คัดเลือกและจัดลาดับ
ความสาคัญของบริการ
ภาครัฐ
กาหนด
แผนปฏิบตั ิ การ
• ทุกส่วนราชการที่
เกี่ยวข้องทางานร่วมกัน
เพื่อจัดทาแผนพัฒนา
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
4 ข้ อคิดเห็นและเสนอแนะจากการประชุมจัดทา
แผนรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
1. กระทรวง ICT จัดทามาตรฐาน และการจัดการรัฐบาล
อิเล็กทรอนิกส์
2. จัดทาโครงสร้างพืน้ ฐานร่วม (Common Government
Infrastructure) ในการให้บริการ (e-service) และ user log
on กลาง
3. มีแผนการจัดการการให้บริการ e-Service ที่สาคัญใน
ระดับยุทธศาสตร์ (Strategic e-Services)
5 สานสร้างโครงสร้างเทคโนโลยี
ของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
ช่องทาง
ให้บริการ
Cou
nter
Web
Applic
ations
Kiosks
iDTV
ความ
ปลอดภัย
Phone
เงื่อนไข
ทางธุรกิจ
การจัดการ
ข้อมูล
การจัดการ
แบบฟอร์ม
การค้นหา
ข้อ
มูล
โครงสร้าง
พื้นฐาน
Platforms
Storage
Networks
ความ
พร้ อมใช้
งาน
Sec Emaol
GIS
Directories
ePayment
PKI
SSO
MOT
MOF
MOI
MOC
MOJ
HR
FINABCE
AUCTION
การแลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐ / โครงสร้างเว็บ
เซอร์วิสภาครัฐ
โปรแกรมการใช้งานที่
โปรแกรมการใช้
มีอยู่แล้ว
งานร่วม
เชื่อถือได้
ปรับลด
ขนาดได้
วัดผลได้
ตรวจสอบ
ได้
6 สานสร้างการเข้าถึงบริการที่หลากหลาย
นักธุรกิจ
ประชาชน
Citizen
Business User
Cell Phone
Browser
Application
Kiosk
Telephone
PDA
Internet
พนักงานตอบรับ
Internet
Ca ll Centr e Sta ff
Pr esenta tion La y er
เว็บท่าประชาชน/ธุรกิจ
Call Center ภาครัฐ
Business Por ta l
G ov er nm ent Ca ll Centr e
Secur ity And Pr ocess Log ic
G ov er nm ent Inter fa ce
Tr a nsp or ta tion Fr a m ew or k
W eb Ser v ices M id d lew a r e La y er
Ap p lica tion Log ic, Da ta a nd Ba ck end Sy stem s
เจ้าหน้ าที่รฐั
Data
Com m on
Ser v ice
Application
Data
Com m on
Ser v ice
Application
Departmental Call
Centre
Departmental
Portal
Data
Business
Application
Departmental Call
Centre
Dep a r tm enta l Inter fa ce
Public Sector
Employee
เจ้าหน้ าที่รฐั
Public Sector
Employee
Departmental
Portal
Data
Dep a r tm enta l Inter fa ce
Business
Application
Government XML Namespace and Message Standards
Government Security Framew ork
Reliable Messaging - Guaranteed Message Delivery
Citizen /
7 สานสร้างการบริการที่ครอบคลุมทุกระดับ
Single Point Service : www.ecitizen.go.th
วัยชรา •• รัท่บอเงิงเทีนบ่ยวานาญ
การให้บริการภาครัฐ
การให้บริ การภาครัฐบา
แบ่งตามช่วงอายุ
ตัง้ แต่ เกิด วัยเด็ก
วัยรุ่น วัยทางาน
และวัยชรา
วัยทางาน
วัยทางาน
• ทาพินัยกรรม
• สมัครงาน
• เสียภาษี
• ประกันสังคม • ประกันสุ ขภาพ
• ซื้อบ้ าน / โฉนดที่ดนิ
• ชาระค่าบริการ นา้ ไฟฟ้า ประปา
• จดทะเบียนบริษทั
วัยรุ่ น • บัตรประจาตัวประชาชน
วัยเด็ก
Hospital
เกิด
• ศึกษามัธยม •/เอนทรานซ์
เกณฑ์ ทหาร
• ซื้อสินค้า • ใบขับขี่
• ท่ องเที
่ยว
• ตรวจสุ
ขภาพ
• สถานศึกษา อนุบาล
• สถานเลีย้ งเด็ก
• แจ้ งที่อยู่
• ตั้งชื่อ
• แจ้ งเกิด
8 ภาพลั
4.5
ภาพลักกษณ์
ษณ์ใใหม่
หม่ขของ
อง“รั“รัฐฐบาลอ
บาลอิ เิล็เล็กกทรอน
ทรอนิ กิ กส์ส์””
ศูนย์กลางเชื่อมโยงภาครัฐ
ประชาชน
Adaptive e-Gov Infrastructure
ธุรกิจ
Document manage &search
Citizen To Government
กระทรวง/กรม
ระบบ GIS
Secure Messaging
PKI / CA
Web Portal
GDX
Government To Government
Government To Employee
Business To Government
กระทรวง/กรม
9 ทิศทางของการพัฒนารั ฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
• ประชาชนเข้ าถึงทุกบริการ
ของภาครัฐ ณ จุดเดียว
• ให้ บริการร่ วมกันโดยมี
กระทรวง ICT เป็ นศูนย์ กลาง
Government
Centric
2547 & 2548
Department
Centric
< 2546
• แต่ ละหน่ วยงานต่ าง
ให้ บริการโดยอิสระ
Citizen
Centric
> 2548
10
แผนพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
• แผนพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ 3 ปี
ประกอบด้ วย :
(2547-2549)
– รูปแบบ e-Gov, Framework and Standards (technical
and business enablers) สาหรับประเทศไทย
– โครงสร้ างพืน้ ฐานของ e-Government Infrastructure
– แผนการดาเนินงาน e-Services
– ประมาณการค่ าใช้ จ่ายในการลงทุน
– แผนการดาเนินงานในระยะ 90 วันต่ อไป
Single Point Service Solution
การบูรณาการบริ การภาครัฐ
Wireless Broadband
Infrastructure
Broadband
Infrastructure
Provider
Ministry of ICT
Data Center
Web Service
Connectors
Internet
กรมสรรพากร
ทะเบียนราษฎร์ประกันสังคม
ก.แรงงานฯ
กรมทะเบียนการค้า
Thailand e-GOVERNMENT
ผลที่จะได้รับ
• ประชาชนสามารถขอใช้บริ การของรัฐ ได้ทุก counter ที่ให้บริ การ ทาให้
ประหยัดเวลา แลค่าใช้จ่าย
• รวดเร็ ว ประหยัด งบประมาณและค่าใช้จ่ายภาครัฐ เพราะไม่ตอ้ งทางาน
ซ้ าซ้อน
• รองรับการใช้บตั ร smart card เมื่อประชาชน แสดงบัตร smartcard และ
สามารถแสดงตน ด้วยลายนิ้วมือแล้ว สามารถทาธุรกรรมได้ทนั ที
• สามารถขยายการให้บริ การไปยังสื่ ออื่นๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ หรื อ
Kiosk ได้
การออกแบบ
• เริ่ มต้นที่ e-Information เป็ นการให้ขอ้ มูล ข่าวสาร วิธีการปฏิบตั ิ ซึ่ งส่ วนใหญ่
หน่วยงานราชการมีขอ้ มูลระดับนี้แล้ว
• ให้บริ การ e-Service โดยที่หน่วยงานยังคงเป็ นผูใ้ ห้บริ การอยูเ่ หมือนเดิม แต่เพิม่ ขึ้น
ตอนการตอบสนองกับระบบที่เกี่ยวข้องกันอยู่
• ประชาชนสามารถยืน่ คาร้องที่เดียว ระบบจะทาการคัดลอกคาร้องนั้นๆ และส่ งไป
ยังหน่วยให้บริ การ และรอรับผลของการทาธุรกรรม เพื่อส่ งให้กบั ประชาชนต่อไป
• ไม่จาเป็ นที่หน่วยให้บริ การจะต้องเป็ น computerized ทุกหน่วยงาน สามารถ
ผสมผสานวิธีการทางานกับระบบ manual ได้
• การส่ งเอกสาร หรื อ ผลการการทาธุรกรรม (logistic) สามารถใช้ระบบไปรษณี ยเ์ ข้า
ร่ วมได้
ICT To Generating Value
AIM
GOALS
Increase Services
 Open new
service
channels
 Accelerate time
to services
 Gain more
customer’s
satisfaction
METHOD
Reduce Costs
Leverage
Intangibles
 Improve service
processes
 Ability to adapt
to future needs
 Reduce
customer
acquisition
costs
 Increase
Organization
Image and
Customer loyalty
 Optimize
channel mix
 Improve
organization
performance
Collaborate – Integrate – Empower
What Does ICT Do To Generate Value?
1
Collaborate
among government
organizations, their
employees,business partners,
and customers
Working Together - Collaboration With ICT solution
without Solution
with Solution
Community Collaboration

Individual
process&thought
 Reactive
 High cost & time
 Dissatisfaction and
can not monitoring

Proactive
 Single point of
service contact
 Collaborative
processes and time
less monitoring
 Low cost & time
 Increase Satisfaction
What Does ICT Do To Generate Value?
2
Integrate
all people, data and
business processes within
and between organizations
Integration as Part of ICT Solution
Without Solution





Individual Linked Process
Difficult to change
High Maintenance
Data replication
High cost of ownership
With Solution





Seamless Integration
Standard Process & Flow
Services orientated
Quick response to change
High business agility
This Is What You Get From ICT
Solution
Single Front-end Solutions
ICT Services
Single Point of Contact
Organization
B
Organization
D
Organization
G
Organization
A
Organization
C
Organization
F
Organization
E
Organization
H
Service Portal
What Does ICT Do To Generate Value?
3
Empower
a single point of services for
customer with each of
employee focus to work at
their best by providing them
all information
Empower People– With The Right Tools And Access
Without Solution



Focused only their data.
Access to individual Org.
No syndication of content
With Solution



Customer Focused
Monitor end-to-end processes
Seamless Integration of
information, applications and
services
Manage All Your Relationships & Extend Your Reach
 Empower Services

Services Portal for all
different user types

Common platform for all users

Ease collaboration

Customize Look and Feel
Business
request
Individual
Request
 On Any Device

Web browser or
mobile devices

Synchronous & asynchronous

Online & offline

Automated mapping for
different devices
Partner
Request
Gov-to-Gov
Request
How Does Everything Fit
Together?
แนวโน้มของ ICT
Technology Convergence
แนวคิดในการจัดทาแผนแม่ บทเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่ อสาร ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2556)
พัฒนาการของนโยบายด้ าน ICT ของไทย
IT2000 (2539-2543) :  โครงสร้ างพืน้ ฐานสารสนเทศ
การพัฒนาบุคลากรด้ าน IT การปฎิรูปภาครัฐโดยใช้ IT
IT2010 (2544-2553): วิสัยทัศน์  นาสังคมสู่ KBS/KBE
ยุทธศาสตร์ 5E
แผนแม่ บท ICT#1 (2545-2549):
วิสัยทัศน์ ICT Hub ของภูมิภาค+
เข้ าถึงบริการทั่วถึง=> 7 ยุทธศาสตร์
แผนแม่ บท ICT
#2 (2552-2556)
ประเมินผลการพัฒนา ICT ตามกรอบ IT2010
เป้าหมายของนโยบาย IT2010
ผลการพัฒนา
 พัฒนาด้ าน IT ให้ เป็ น potential
leaders คือ มีการลงทุนในการ
พัฒนาทักษะกาลังคน มีการกระจาย
เทคโนโลยีท่ มี ีอยู่อย่ างกว้ างขวาง
การจัดอันดับของ IMD 2006: โครงสร้ าง
พืน้ ฐานด้ านการศึกษา (จาก 61 ประเทศ)
TH
48
KR
42
ML
30
TW
19
 จานวนแรงงานความรู้ ของไทยจะมี
30% ของแรงงานในประเทศทัง้ หมด
สัดส่ วนประชากรอายุ 15 ปี ขึน้ ไปจบมัธยม
ศึกษา15% และอุดมศึกษา 7.1%
 สัดส่ วนของอุตสาหกรรมบน
ฐานความรู้ จะเพิ่มเป็ น 50% ของ GDP
ปี 2547 อยู่ท่ ี 25.5% => ให้ ได้ ตามเป้าต้ อง
V.A. ของอุตสาหกรรมฐานความรู้ 20% p.a.
ประเมินแผนแม่ บทฯ 1: ผ่ านข้ อเสนอโครงการและทีไ่ ด้ รับอนุมัติ
(ปี 2545-2548) จาแนกตามยุทธศาสตร์
หน่ วย: จานวนโครงการ
4000
1. พัฒนาอุตสาหกรรม ICT เพือ่ เป็ นผู้นาในภูมิภาค
2. การใช้ ICT ยกระดับชีวติ คนไทยและสังคมไทย
3. การปฎิรูปและสร้ างศักยภาพการวิจยั และพัฒนา
4. การยกระดับศักยภาพพืน้ ฐานสังคมไทยเพือ่ การแข่ งขัน
5. การพัฒนาผู้ประกอบการเพือ่ มุ่งขยายตลาดต่ างประเทศ
6. การส่ งเสริม SME ใช้ ICT
7. การนา ICT มาใช้ ประโยชน์ ในการบริหารและบริการภาครัฐ
3500
3000
2500
2000
1500
1000
เสนอ
อนุ มต
ั ิ
500
3,572
รวม
4,610
296
526
0
ยุทธศาสตร์ 1
เสนอ
อนุมัติ
89
7
ยุทธศาสตร์ 2
ยุทธศาสตร์ 3
ยุทธศาสตร์ 4 ยุทธศาสตร์ 5
539
138
106
37
101
37
35
10
ยุทธศาสตร์ 6
129
40
ยุทธศาสตร์ 7
7.8% 18.7 26.8% 33.0% 27.0% 31.0% 8.3% 11.4%
%  เสนอ 2.3 พันล้ านบาท ได้ รับ 2.7 ร้ อยล้ านบาท = 11.7%
งบประมาณ ปี 2547-2549
ประเมินแผนแม่ บทฯฉบับที่ 1ผ่ านการวิเคราะห์ งบประมาณ
ปี 2547-2549
หน่วย: บาท
เสนอ
อนุมตั ิ
สดั สว่ น
ร้อยละ
204,406,900 19,264,500
8.7
9.4
525,889,291 4,545,500
22.4
0.9
-?
405,033,000
17.3
0.0
223,698,198 3,051,500
9.5
1.4
.5
.0
59,405,680
2
0
?
,
,
21 280 000
0.9
0.0
903,661,951 247,380,000
38.6
27.4
,343,375,020 274,241,500
.0
.7
2
100
11
ที่มา: www.mict.go.th , รวบรวมประมวลผลโดย FPRI
งบประมาณตาม
ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 1
ยุทธศาสตร์ที่ 2
ยุทธศาสตร์ที่ 3
ยุทธศาสตร์ที่ 4
ยุทธศาสตร์ที่ 5
ยุทธศาสตร์ที่ 6
ยุทธศาสตร์ที่ 7
รวม
ปี 2550
อัตราเพิม่ /ลด
เสนอ
จาก ปี 49
-75.0
39,257,900
-68.4
137,586,064
32,999,500
7.2
-74.1
52,416,300
-93.0
3,300,000
-100.0
2,301,463,269
184.3
2,567,023,033
52.6
มีขอ้ สังเกตว่ายุทธศาสตร์ที่ 3 --เรื่ อง R&D และยุทธศาสตร์ที่ 5 & 6 -- เรื่ องการพัฒนาและส่งเสริ มศักยภาพผูป้ ระกอบการ
ไม่ได้รับอนุมตั ิงบประมาณ อาจจะเนื่องมาจากแผนงาน/โครงการไม่ชดั เจน (ไม่เป็ นรู ปธรรม) เหมือนยุทธศาสตร์ที่ 7 ที่
ค่อนข้างชัดในการนา ICT มาใช้ในภาครัฐ จึงได้รับงบประมาณมากที่สุด
นัยเชิงนโยบาย => เน้ นการจัดทายุทธศาสตร์ ทชี่ ี้ให้ เห็นผลกระทบ/ประโยชน์ ทชี่ ัดเจนขึน้
กรอบการจัดทายุทธศาสตร์ ในแผนแม่ บทฯ
2
IT2010: 1st and 2nd Master Plans Linkage
Government: Strategies & Policies
DEMAND
SUPPLY
Government Sector =>E-Govt.
Education Sector => E-Edu.
Household Sector =>E-Soc.
Economic Sector => E-Ind,
E-com.
Hardware
Software
Services
Telecommunication
ICT Infrastructure
Human Resource Development
Management: Financial, Legal, Institute
ประเด็นสาคัญในแผนฯ
๑
โครงสร้างพืน้ ฐาน ICT
พัฒนาการใช้
๒
๓
ICT
E-Government
เป็ นกลไก facilitate
2
ประเด็นโครงสร้างโทรคมนาคม
ราคาถูก บริการทัวถึ
่ ง เป็ นธรรม
ภาคเศรษฐกิจ เพิ่มประสิ ทธิ ภาพ Value Added
(E-Ind, E-com.) แข่งขันได้ในระยะยาว
ภาคสังคม
เข้าถึงข้อมูลข่าวสารอย่างทัวถึ
่ ง
(E-Soc. E-Edu) ยกระดับความรู้ สร้างความเข้มแข็ง
ภูมิค้มุ กันในโลกาภิ วตั น์
พัฒนาอุตสาหกรรม
ICT
เน้ นที่ไทยมีศกั ยภาพ เช่น
Content
Software Digital
เป้ าหมายการพัฒนา ICT
ทิศทางการพัฒนา
ICT
ใน 5 ปี ข้างหน้ า
ทิศทาง/เป้ าหมายใน 5 ปี ข้างหน้ า
สถานภาพปัจจุบนั
โครงสร้างพื้นฐาน: ไม่เพียงพอ
-ราคายังสูง
-การเข้าถึงตา่
โครงสร้างพื้นฐาน: ทัวถึ
่ ง เป็ นธรรม
-ราคาลดลง
-การเข้าถึงเพิ่มขึ้น
การใช้ ICT: ตา่ ค่าใช้จ่ายต่อ GDP = 3.6%
-สัดส่วนภาครัฐ 18% ภาคการศึกษา 14%
-สัดส่วนภาคเกษตร 3%
-สัดส่วนภาคอุตสาหกรรมการผลิต 18%
-สัดส่วนภาคบริการ (Fin = 9%,Other 38%)
การใช้ ICT: เพิ่มขึ้น
-สัดส่วนภาครัฐ
-สัดส่วนภาคเกษตร
-สัดส่วนภาคอุตสาหกรรม
-สัดส่วนภาคบริการ
อุตสาหกรรม ICT: Value Added ตา่
-Hardware: ประกอบชิ้นส่วน
-Software: ยังไม่เป็ น World Class
-Services: ยังไม่ถึงขึ้นที่ปรึกษาทางธุรกิจ
-Telecommunication: พึ่งพา Tech. ตปท.
ภาค
ธุรกิจ
ภาค
ธุรกิจ
อุตสาหกรรม ICT: Niche Mark.
-Hardware: Export, Import Sub.
-Software: Thainess
-Services: พัฒนาบริการ
-Telecommunication:  พึ่ง ตปท.
วิสยั ทัศน์ : A Connected Nation
พ ันธกิจ
ว ัตถุประสงค์
เป้าหมาย
พัฒนาโครงสร้างโทรคมนาคม
เพื่อให้สามารถเข้าถึง ICT
อย่างทัวถึ
่ ง เป็ นธรรม
ราคาถูกลง ให้บริการ
ได้ครอบคลุมมากขึ้น
ส่งเสริมการใช้ ICT ในทุกภาค
-ภาครัฐ
-ภาคการศึกษา
-ครัวเรือน
-ภาคธุรกิจ
- เพื่อยกระดับความรู้ และ
มีภมู ิ ค้มุ กันต่อการ
เปลี่ยนแปลงของโลก
- เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ
ผลิต และการให้บริการใน
ทุกภาคส่วน
-ค่าใช้จ่ายด้าน ICT ต่อ
GDP เพิ่มขึ้น มีธรุ กิจที่
ใช้ ICT เพิ่มขึ้น
-ภาคสังคมเข้าถึงแหล่ง
ความรู้เพิ่มขึ้น
-มีผ้ทู ี่มีความรู้ ICT
เพิ่มขึ้น
พัฒนาอุตสาหกรรม ICT
มูลค่าตลาดของ
เพื่อเพิ่มศักยภาพ/ขีด
อุตสาหกรรม ICT
ความสามารถในการแข่งขัน เพิ่มขึ้น
ยุทธศาสตร์การพัฒนา ICT
Infrastructure
•พัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐาน ICT ให้ทวถึ
ั ่ งทุก
ภาคส่วนของประเทศ
•การกาหนดบทบาทและ
หน้ าที่ขององค์กรอิสระ
ให้มีเอกภาพ มีอานาจ
ตรวจสอบได้ และ
น่ าเชื่อถือ
•การเพิ่มการแข่งขันใน
ตลาดโทรคมนาคมให้
เป็ นธรรมแบบมีขนั ้ ตอน
(ต้องคานึ งถึงสัมปทานที่
มีอยู่ในปัจจุบนั ด้วย)
HRD
•พัฒนาศักยภาพของ
ประชาชนทุกกลุ่ม ให้
สามารถใช้ประโยชน์
จาก ICT ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
• พัฒนา แรงงานทักษะ
ICT และผู้เชี่ยวชาญ
ด้าน ICT
•การส่งเสริมผู้ประกอบ
ให้ร้จู กั บริหารจัดการ
ICT กับธุรกิจตนเอง
Innovation, R&D
•การสร้างรูปแบบ
ธุรกิจที่มีการใช้ ICT
ที่เหมาะสมแต่ละ
สาขาธุรกิจ
•การยกระดับ
คุณภาพ
อุตสาหกรรม ICT
Management
• การพัฒนาบทบาทของ
องค์กรที่ดแู ลด้าน ICT ของ
ภาครัฐและเอกชนทัง้ ระบบ
• การกาหนดมาตรการใน
การแก้ไขปรับปรุงกฏหมาย
ที่เกียวข้อง รวมทัง้ การ
เร่งรัดกฏหมาย/กฎระเบียบ
ให้มีผลในทางปฏิ บตั ิ
• มาตรการด้านการเงิ น/
งบประมาณ
•การบริ หารจัดการการนา
แผน ICT ไปปฏิ บตั ิ ให้
เกิ ดผล
โครงการเร่งด่วน
• ประเด็นสาคัญ 3 ด้ าน
 ปัจจัยพืน้ ฐานที่เอือ้ ต่ อการพัฒนา
โครงสร้ างโทรคมนาคมที่เหมาะสม
 ส่ งเสริมการใช้ ICT:
ใช้ 5E เป็ นกลไกผลักดันให้ มีการเพิม่ การ
ใช้ ICT โดยรวม
 พัฒนาอุตสาหกรรม ICT
รองรับการใช้ ในประเทศ และสร้ าง
ภูมิคุ้มกันจากผลกระทบภายนอก
ประเทศ
•
•
•
•
•
•




ยุทธศาสตร์ 4 Pillars
I. โครงสร้ างพืน้ ฐานด้ าน ICT
II. การพัฒนาบุคลากร
III. การสร้ างนวัตกรรม R&D
IV.การบริหารจัดการ ICT ทั้งระบบ
•
•
•
โครงการทบทวนโครงสร้างระบบ
โทรคมนาคม (การเสนอแก้กฏหมาย
ทบทวนบทบาท) (I)
โครงการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานเพื่อ
การศึกษาวิ จยั โดยเฉพาะทัง้ ในประเทศ
และเชื่อมโยงไปต่างประเทศ (I)
โครงการพัฒนาบุคลากรด้าน ICT (II):
Knowledge Worker, Professional
Training
โครงการพัฒนาหลักสูตรคณาจารย์
นักศึกษา และการวิ จยั ให้สอดคล้องกับ
การพัฒนา ICT ด้านต่างประเทศ (II+III)
โครงการจัดตัง้ หน่ วยงานพิ เศษเพื่อ
บริ หารจัดการแผนแม่บท ICT (IV)
โครงการรวมพลัง ICT ของจังหวัด ใน
การพัฒนา ICT และสร้างความตื่นตัวใน
การใช้ ICT ให้เกิ ดประโยชน์ (IV)
โครงการทบทวนบทบาท MICT ใน
การบูรณาการ ICT ภาครัฐ (แผนงาน
แผนเงิ น แผนคน) (IV)
โครงการยกระดับมาตรฐานอุตสาหกรรม
ICT (IV)
ผลกระทบต่อ
เศรษฐกิจและ
สังคม
การใช้ ICT เป็ นปัจจัยการผลิต:
ICT  1% ทาให้ เศรษฐกิจ
ขยายตัว  0.13%
 รายได้ต่อหัวสูงขึน้
จากการผลิ ตสิ นค้า
และบริ การบนฐาน
ความรู้ที่ 
 บุคลากรเข้าถึง
ข้อมูลข่าวสาร 
คุณภาพชีวิตที่ดีขึน้
โครงการทบทวนโครงสร้างระบบโทรคมนาคมไทย
หน่ วยงานของรัฐทีร่ ับผิดชอบด้ านโทรคมนาคม
1. กระทรวง ICT ตัง้ ปี 2545 รับผิดชอบทิศทางและนโยบายของรัฐ
2. กทช. ตัง้ ปี 2547 ผูใ้ ห้ใบอนุญาตและกากับดูแลผูป้ ระกอบการ
และจัดสรรคลื่นความถี่ร่วมกับ กสช.
(แต่ยงั ไม่ได้ตงั ้ กสช. และคงรออีกนาน รัฐธรรมนูญปี 2550 รวมทัง้
สองหน่ วยงานเป็ น กสทช.)
สถานภาพโทรคมนาคม ณ ม.ค. 50 (โดยประมำณ)
1. โทรศัพท์ประจาที่
ล้านเลขหมาย
Penetration
กทม
4.0
40%
ภูมิภาค
3.0
6%
เฉลี่ยทัง้ ประเทศ
7.0
11%
การเข้าถึงโดยเฉลี่ยของโลก
18%
ประเทศที่เจริญแล้ว
สูงกว่า 40%
สถานภาพโทรคมนาคม ณ ม.ค. 50 (โดยประมำณ) ต่ อ
1. Broadband Internet
Internet hosts
Internet users
ล้านราย Penetration
1.0
1.6%
9.0
14%
เกาหลี
สิงคโปร์
ไทย
Penetn. Avge Bandwidth
40%
3 – 10 Mbps
35%
1 – 2 Mbps
14%
128-512 Kbps
สถานภาพโทรคมนาคม ณ ม.ค. 50 (โดยประมำณ) ต่ อ
1. โทรศัพท์ ไร้ สาย
ล้ านเลขหมาย Penetration
ไทย
35
เกาหลี
80%
สิงคโปร์
100%
Wireless Broadband
ไทย
เกาหลี
สิงคโปร์
53%
(2.5G), WiFi
3G, WiBro
3G, (WiMax)
ประเทศไทย
Broadband ไปภูมิภาค
1. ด้วย Wireline number เกิดขึน้ ได้จากัด เพราะมี Penetration เพียง 6%
• ด้วย Wireless number ยังไม่มีการจัดสรร
ความถี่ เพราะยังไม่ตงั ้ กสช. (2552 ?)
• อัตราค่าบริการแพง ด้วยคิดตาม Bandwidth และระยะทาง
และอัตราค่าบริการในส่วนของการเชื่อมต่อออกต่างประเทศแพงมาก
แนวโน้ มของเทคโนโลยีโทรคมนาคม
1. โครงข่ายโทรคมนาคมจะเป็ น IP Broadband
Network, BB Convergence Network
2. Backbone Network จะเป็ นระบบ Fiber Optic
3. ระบบจ่ายสัญญาณด้วยสายจะเป็ น xDSL, FTTH
4. ระบบจ่ายสัญญาณแบบไร้สาย จะเป็ น 3G, 4G,
WiFi, WiMax, WiBro, IPStar, etc.
5. การพัฒนา SoC, RFID, etc. นาไปสู่ Ubiquitous
Sensor Network และ Ubiquitous Life
สิ่งที่ควรจะทา
1. พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานของโครงข่ายความเร็วสูง (Broadband
Network) ให้มีเอกภาพ นาโครงข่ายความเร็วสูง (Fiber Optic) ของ
หน่ วยงานต่างๆ ทัง้ ที่ได้รบั ใบอนุญาตจาก กทช. และกาลังจะได้รบั
ใบอนุญาต เช่น EGAT, PEA, ฯลฯมาใช้ในการบริการโทรคมนาคม
กระจายให้ถึงทุกท้องที่ เพื่อประโยชน์ สงู สุดของประชาชน
สิ่งที่ควรจะทา (ต่อ)
2. กากับดูแล Network Providers ให้เกิดประโยชน์
สูงสุดต่อประชาชน และการพัฒนาประเทศ ใช้
ทรัพยากรด้านโทรคมนาคมร่วมกันให้มากที่สดุ
เพื่อลดต้นทุนและค่าใช้จ่ายในภาพรวมของ
ประเทศ
สิ่งที่ควรจะทา (ต่อ)
3. กากับให้มีเพดานของอัตราค่าบริการโทรคมนาคม
เป็ นอัตราเดียวกันทัวประเทศ
่
ไม่มีความเหลื่อมลา้
ระหว่างในกรุงเทพฯ และในต่างจังหวัด เช่น อัตรา
ค่าบริการโทรศัพท์ อัตราค่าบริการอินเทอร์เน็ต
(Broadband) เพื่อลดช่องว่างของความเจริญ
ทางเศรษฐกิจ และ Digital Divide ระหว่าง
ต่างจังหวัดกับกรุงเทพฯ
สิ่งที่ควรจะทา (ต่อ)
4. แก้ไขกฏหมาย ให้รวม กทช. และ กสช. เข้าด้วยกัน
เป็ นองค์กรเดียว
ความก้าวหน้ าของเทคโนโลยี ทาให้เกิด
Convergence ในการส่งสัญญาณ Voice,
Video และ Data ผ่านโครงข่ายเดียวกัน
ไม่สามารถแยกงานทางเทคนิคระหว่าง
กทช. และ กสช.
สิ่งที่ควรจะทา (ต่อ)
แก้ไขมาตรา 79 และ 80 ของ พ.ร.บ. การประกอบ
กิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 ให้ผปู้ ระกอบการ
เอกชนที่ประกอบการอยู่เดิม ได้รบั ใบอนุญาตจาก
กทช. ทันที และให้อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์การ
ประกอบการที่กาหนดโดย กทช. เช่นเดียวกับ
บริษทั มหาชนทัง้ สองของรัฐ
เพื่อให้มีการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็ นธรรม
573 Framework &
โครงการพัฒนาบุคลากรด้าน ICT: Knowledge Worker, Professional Training
การอนุญาตให้ ผ้ เู ชี่ยวชาญต่ างประเทศเข้ ามาทางานและเผยแพร่ ความรู้
• เพื่อปิ ดช่ องว่ างความรู้ ของคนไทยกับต่ างประเทศ และพัฒนาความรู้ ในเชิง
ปฏิบัตติ ่ อยอดให้ รวดเร็ว จึงจาเป็ นต้ องมีการอนุญาตให้ Knowledge
Worker เข้ ามาทางานง่ ายขึน้ เป็ นการเร่ งด่ วน
• การดาเนินการดังกล่ าวอาจผ่ านกลไกของ BOI อุตสาหกรรมต้ องการ
นาเข้ า Knowledge Worker ประมาณปี ละไม่ เกิน 10,000 คนในระยะไม่ เกิน
3 ปี
Professional Training
• เพื่อพัฒนาบุคลากรให้ตรงกับความต้องการของอุตสาหกรรมซึ่งจาก
การคาดการณ์ เบือ้ งต้น ต้องการประมาณ 5,000 – 8,000 คนในระยะ
เร่งด่วน
• การอบรมเน้ น on-the-job-training เป็ นการทาโครงการ
ร่วมกับภาคเอกชน โดยเน้ นใน 2 เรื่องคือ
- การฝึ กอบรมทางทฤษฎี Tip & Technique
- การฝึ กอบรมภาคปฏิบตั ิ ในสภาพแวดล้อมเสมือนจริง
Professional Training
โครงการจัดตัง้ หน่ วยงานพิเศษเพื่อบริหารจัดการแผนแม่บท ICT
และโครงการรวมพลัง ICT ของจังหวัด
โครงการจัดตัง้ หน่ วยงานพิเศษเพื่อบริหารจัดการแผนแม่บท ICT
•
บริหารจัดการนโยบาย ICT และ แผนแม่ บทของชาติให้ บรรลุเป้าหมายที่ตัง้ ไว้
•
พัฒนาการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศให้ ขยายออกไปในวงกว้ าง เพื่อความเติบโตของ
เศรษฐกิจและผลผลิตมวลรวมของชาติ
•
พัฒนาอุตสาหกรรม ICT ให้ แข็งแรงเพื่อดึงดูดการลงทุนทัง้ ภายในและต่ างประเทศ
และ แข่ งขันได้ ในระดับภูมภิ าค
•
เป็ น CIO ของรัฐ เพื่อพัฒนาระบบบริหารราชการให้ ทนั สมัยและมีประสิทธิภาพ
เป็ นที่ม่ นั ใจต่ อภาคธุรกิจและสังคมทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ
•
จัดทามาตรฐานข้ อมูล เอกสาร ฯลฯ และมาตรฐานทางด้ านเทคนิค เพื่อให้ การใช้
งานคอมพิวเตอร์ เป็ นระบบที่ทางานร่ วมกันได้ (Interoperability) อย่ างสมบูรณ์
โครงการรวมพลัง ICT ของจังหวัด
วัตถุประสงค์ ให้ ทุกจังหวัดมีส่วนร่ วมในการพัฒนาการใช้ ICT ของชาติ
เป้าหมาย
หน่ วย
เพื่อแนะแนว
เทคโนโลยี
ใหม่ หรือ
กลางเพื่อลด
กระจุกตัวของ
ให้ แต่ ละจังหวัดทาโครงการการใช้ ICT อย่ างน้ อยหนึ่งโครงการ
ผลงานของโครงการต้ องสามารถนาไปปฏิบัตกิ ารจริงได้
หรือสามารถนาไปผสานกับงานของจังหวัดอื่น หรือ
ราชการกลางได้ ในเบือ้ งต้ นรัฐจะมีหน่ วยงานกลาง
ทางการทาโครงการ และ ให้ ความรู้ ทางด้ านเทคโนโลยี
และเปิ ดโอกาสให้ รัฐได้ คัดเลือกโครงการที่มีแนวคิด
ดีเด่ นจากทั่วประเทศมาใช้ หรือ เสริมระบบราชการ
Digital Divide ของประเทศ และแก้ ปัญหาของการ
การใช้ คอมพิวเตอร์ ในกรุ งเทพฯ
โครงการยกระดับมาตรฐานอุตสาหกรรม ICT
สร้ างมาตรฐานให้ อุตสาหกรรม และ หา niche market สาหรับ product
• กาหนดมาตรฐานที่เหมาะสมสาหรับ SME และเป็ นที่ยอมรับของนานาชาติ
(ใบรั บรองมาตรฐานจะเปรียบเสมือนใบเบิกทางในการรั บความช่ วยเหลือขัน้ สูงต่ อไป 
เลือกสนับสนุนในกลุ่มคนที่พร้ อมก่ อน)
• มาตรการช่ วยเหลือในการยกระดับมาตรฐานขัน้ ต้ น คือ ให้ ความช่ วยเหลือด้ านที่ปรึกษา/
แหล่ ง เงินทุน/แรงจูงใจ
• มาตรการช่ วยเหลือสาหรับผู้ท่ ผี ่ านเกณฑ์ มาตรฐานขัน้ ต้ น และต้ องได้ รับความช่ วยเหลือขัน้
สูง ได้ แก่
- การส่งเสริ มทางด้ านการตลาด
- Business matching ในการ outsource
- การให้ ความช่วยเหลือด้ านเทคโนโลยีระดับสูงขึ ้น
- การเข้ าถึงแหล่งเงินทุน
จัดกลุ่มของการสนับสนุนความช่ วยเหลือ โดย SME ที่มีศักยภาพในการยกระดับมาตรฐาน
อุตสาหกรรม ICT จึงจะได้ รับการสนับสนุน/ได้ รับความช่ วยเหลือในขัน้ สูงต่ อไป
IT2010: นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพือ่ การพัฒนาประเทศไทยสู่ สังคมแห่ งภูมิปัญญาและการเรียนรู้
กรอบนโยบาย
5E
Promote
Innovation
5E
Knowledgebased
Economy
Build
Human
Capital
5E
Strengthen Information
Infrastructure & Industry
เป้าหมายของนโยบาย IT2010 ในปี 2553
1. พัฒนาด้ าน IT ให้ เป็ น potential
leaders คือ มีการลงทุนในการพัฒนา
ทักษะกาลังคน มีการกระจาย
เทคโนโลยีท่ มี ีอยู่อย่ างกว้ างขวาง
การจัดอันดับของ IMD 2006: โครงสร้ าง
พืน้ ฐานด้ านการศึกษา (จาก 61 ประเทศ)
TH
48
KR
42
ML
30
TW
19
2. จานวนแรงงานความรู้ ของไทยจะมี
30% ของแรงงานในประเทศทัง้ หมด
สัดส่ วนประชากรอายุ 15 ปี ขึน้ ไปจบมัธยม
ศึกษา15% และอุดมศึกษา 7.1%
3. สัดส่ วนของอุตสาหกรรมบน
ฐานความรู้ จะเพิ่มเป็ น 50% ของ GDP
ปี 2547 อยู่ท่ ี 25.5% => ให้ ได้ ตามเป้าต้ อง
V.A. ของอุตสาหกรรมฐานความรู้ 20% p.a.
Evaluation of ICT
Master Plan I &
IT2010
Global Trend &
Sector Analysis
S W O T
Government Policy
+
National Plan 10
(Draft) ICT Master Plan II
Objective
VISION
MISSION
Strategy
Action Plan (Project)
Target
แนวทางในการจัดทาแผนแม่ บทฯ ฉบับที่ 2
2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554
1 IT-2010: กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ. 2544-2553 (2001-2010) ของประเทศไทย
2
แผนแม่ บท ICI ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2545-2549
(2002-2006) ของประเทศไทย
3 นโยบายรัฐบาล
พ.ศ.2549/2550
4 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ
ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554)
5
แผนแม่ บท ICI ฉบับที่ 2 พ.ศ. 25502554 (2002-2006) ของประเทศไทย
IT2010: นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพือ่ การพัฒนาประเทศไทยสู่ สังคมแห่ งภูมิปัญญาและการเรียนรู้
กรอบนโยบาย
Promote
Innovation
Knowledgebased
Economy
Build
Human
Capital
Strengthen Information
Infrastructure & Industry
การเปลี่ยนแปลงในระบบบริหารและบริการภาครัฐ (E-govt)
ความสามารถเชิงสร้ างสรรค์ของเยาวชนไทยในภาค
การศึกษา(E-education) การถ่ายทอดภูมิปัญญา
ท้ องถิ่น (E-society) R&D และการถ่ายทอดเทคโนโลยี
ในภาคเศรษฐกิจ (E-industry & commerce)
เป้าหมายของนโยบาย IT2010 ในปี 2553
• พัฒนาด้ าน IT ให้ อยู่ในกลุ่มประเทศที่มีศกั ยภาพใน
การเป็ นผู้นา (potential leaders) คือ มีการลงทุนใน
การพัฒนาทักษะกาลังคน มีการกระจายเทคโนโลยีที่
มีอยู่อย่างกว้ างขวาง
• จานวนแรงงานความรู้ของไทยจะมี 30% ของแรงงาน
ในประเทศทังหมด
้
• สัดส่วนของอุตสาหกรรมบนฐานความรู้จะเพิม่ เป็ น
50% ของ GDP
พัฒนาทักษะของข้ าราชการ (E-government)
พัฒนาบุคลากรและนักเรี ยน/นักศึกษา (E-Education)
ส่งเสริมการเรี ยนรู้ตลอดชีวิต (E-Society)
พัฒนาบุคลากรให้ เป็ นแรงงานความรู้ (E-industry & commerce)
พัฒนาเครื อข่ายและระบบบริหารจัดการ IT ภาครัฐ (E-government)
พัฒนาเครื อข่ายการศึกษาและตลาดการศึกษา (E-Education)
พัฒนาเครื อข่ายสารสนเทศท้ องถิ่นและชนบท (E-Society)
พัฒนา Supply Chain และอุตสาหกรรม Electronic (E-industry)
พัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และอุตสาหกรรม Software (E- commerce)
IT 2010: ยุทธศาสตร์
IT 2010 Flagships
เป้ าหมายในแต่ ละยุทธศาสตร์
e-Society
ลดความเหลือ่ มลา้ ในการเข้ าถึงสารสนเทศและความรู้ (digital divide)
ของสังคมในยุคสารสนเทศ และส่ งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวติ ที่ดี
e-Education
พัฒนาและเตรียมความพร้ อมด้ านทรัพยากรมนุษย์ ในทุกระดับของประเทศ
เพือ่ รองรับการพัฒนาสู่ การเป็ นสังคมแห่ งภูมิปัญญาและการเรียนรู้
e-Industry
ส่ งเสริมและพัฒนาการใช้ และการผลิต IT ในภาคเอกชนในปี 53
เพือ่ มุ่งสู่ การเป็ นอุตสาหกรรมที่ใช้ ความรู้เป็ นฐานในการผลิต
e-Commerce
เสริมสร้ างขีดความสามารถในการแข่ งขันของผู้ประกอบการไทย โดยเน้ น
e-commerce เพือ่ การส่ งออก การค้า บริการ และภายในประเทศ
e-Government
• ใช้ IT ในระบบบริหาร (back office) ครบวงจรในปี 47
• ให้ บริการผ่านระบบ E ได้ ร้อยละ 70 ในปี 48 และครบทุกขั้นตอน ในปี 53
ทิศทางการพัฒนา ICT ตามกรอบ IT2010
ยังคงให้ ความสาคัญกับเป้าหมายการพัฒนา ICT ไปสู่ สังคมแห่ งภูมปิ ัญญาและการเรียนรู้ ใน
5 สาขา (5 E) ตามกรอบ IT2010 โดยสานต่ อนโยบายแต่ ละด้ าน ดังนี้
• นโยบายการพัฒนา ICT ในภาครัฐ
1) ส่ งเสริมการนา ICT มาใช้ ใน front office เพือ่ การบริการประชาชน => ทามากขึน้
2) พัฒนาระบบบริหารภาครัฐ (back office) ด้ วย ICT => ทาต่ อเนื่อง
• นโยบายการพัฒนา ICT ในภาคอุตสาหกรรม
1) สร้ างเสริมภาคอุตสาหกรรมให้ ใช้ ความรู้เป็ นฐานทางการผลิต => ทามากขึน้
2) ส่ งเสริมให้ เกิดการใช้ ข้อมูลด้ านอุตสาหกรรม และการตลาด เป็ นแนวทางการตัดสิ นใจ
ผลิตสิ นค้ า => ทามากขึน้
3) ส่ งเสริมให้ เกิดการเชื่อมโยงทางการผลิตระหว่ างผู้ประกอบการรายใหญ่ และรายย่ อยของ
ไทย ทั้งใน ส่ วนกลางและส่ วนภูมภิ าค => ผลักดันให้ เกิดขึน้
4) ลดช่ องว่ างในการเข้ าถึงข้ อมูลของผู้ประกอบการ => ทาต่ อเนื่อง
ทิศทางการพัฒนา ICT ตามกรอบ IT2010 (ต่ อ)
• นโยบายการพัฒนาพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
1) E-commerce เป็ นยุทธศาสตร์ การค้ าสาคัญของประเทศ และจัดทาแผน E-commerce
รายสาขาทีเ่ อือ้ ต่ อการส่ งออก การค้ าบริการ และการบริโภคภายในประเทศ => ทามากขึน้
2) กระตุ้นให้ เกิดการขยายตัวด้ าน E-commerce ในประเทศ โดยรัฐสนับสนุน => ทาต่ อเนื่อง
3) ส่ งเสริมผู้ประกอบการไทยให้ ใช้ E-commerce โดยเฉพาะ SMEs => ทาต่ อเนื่อง
4) ลดเลิกและแก้ ไขปรับปรุ งระเบียบราชการ และกฎเกณฑ์ ทเี่ ป็ นอุปสรรคต่ อการพัฒนา
E-commerce และดูแลให้ การแข่ งขันเป็ นธรรมและคุ้มครองผู้บริโภค =>ผลักดันให้ เกิด
5) เร่ งปฏิรูประบบราชการให้ เกิด E-commerce ที่มีประสิ ทธิภาพ และเป็ นการสร้ างตลาด
E-commerce ให้ ภาคเอกชน Facilitate กิจกรรม B2G, B2B และ B2C =>ทาต่ อเนื่อง/มากขึน้
6) ภาครัฐร่ วมมือกับภาคเอกชนจัดระบบฐานข้ อมูล ศึกษานโยบาย/แนวทางการพัฒนา Ecommerce ในระดับสากลเพือ่ รักษาผลประโยชน์ ในเวทีการเจรจา และความร่ วมมือทางการค้ า
=> ผลักดันให้ เกิด
ทิศทางการพัฒนา ICT ตามกรอบ IT2010 (ต่ อ)
•
•
นโยบายการพัฒนา ICT ในภาคการศึกษา
1) สร้ างมูลค่าเพิม่ ในทรัพยากร IT เพือ่ การศึกษา โดยสร้ างระบบบริหารจัดการ และการ
พัฒนาบุคลากรที่มีคุณภาพ => ทาต่ อเนื่องและมากขึน้
2) เร่ งสร้ างโอกาสในการเข้ าถึงสารสนเทศและความรู้ และสร้ างความเท่ าเทียมในการใช้
ประโยชน์ จากโครงสร้ างพืน้ ฐาน IT => ทาต่ อเนื่องและมากขึน้
3) สนับสนุนการใช้ IT เพือ่ การพัฒนาอย่ างก้าวกระโดด => ทาต่ อเนื่องและมากขึน้
นโยบายการพัฒนา ICT ในภาคสังคม
1) รัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนครอบคลุมทั้งด้ าน Infrastructure การให้ บริการที่มีคุณภาพ ราคาเหมาะสม
การพัฒนาเนือ้ หาและสารสนเทศที่เหมาะสมกับชุมชนและท้ องถิน่ => ทามากขึน้ และผลักดันให้ เกิด
2) สร้ างขีดความสามารถของชุมชนในการใช้ ประโยชน์ จาก IT เพือ่ สนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวติ และ
พัฒนาอาชีพ => ทาต่ อเนื่องและมากขึน้
3) สร้ าง พัฒนา และต่ อยอดองค์ความรู้และภูมิปัญญาไทย ส่ งเสริมให้ มีการบูรณาการกับความรู้ สากล รู้เท่ า
ทันโลกาภิวตั น์ และมีฐานการพัฒนาสังคมที่แข้ มแข็งยัง่ ยืนภายใต้ เศรษฐกิจพอเพียง => ผลักดันให้ เกิด
แผนแม่ บท ICT ฉบับที่ 1
วิสัยทัศน์
สอดคล้ องกับเป้าหมายใน IT2010
1. เป็ นศูนย์ กลางการพัฒนาและประกอบธุรกิจด้ าน ICT ระดับภูมภิ าค 1. ในการพัฒนาสู่ potential Leader
2. ผู้ประกอบการและประชาชนส่ วนใหญ่ เข้ าถึงข้ อมูลจากระบบบริการ 2. การเพิ่มแรงงานความรู้ และ
อุตสาหกรรมบนฐานความรู้
อย่ างทัว่ ถึงและยุติธรรม
เป้ าหมาย
1. พัฒนา/ยกระดับทางเศรษฐกิจของประเทศ
โดยใช้ ICT
2. ยกระดับขีดความสามารถในการแข่ งขัน
ของอุตสาหกรรม ICT
3. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยเพิม่ การ
ประยุกต์ ใช้ ICT ด้ านการศึกษา และ
ฝึ กอบรม
4. สร้ างความเข้ มแข็งของชุ มชนในชนบทเพือ่
การพัฒนาประเทศทีย่ งั่ ยืน
ยุทธศาสตร์ 7 ด้ าน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
การพัฒนาอุตสาหกรรม ICTให้ เป็ นผู้นาในภูมิภาค (10
แผนงาน)
การใช้ ICT เพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ คนไทยและสังคมไทย (
9 แผนงาน)
การปฏิรูปและสร้ างศักยภาพ R&D ด้ าน ICT (7 แผนงาน)
ยกระดับศักยภาพพืน้ ฐานของสังคมไทยเพือ่ การแข่ งขันใน
อนาคต (4 แผนงาน)
การพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการเพือ่ มุ่งขยายตลาด
ต่ างประเทศ (4 แผนงาน)
การส่ งเสริม SMEs ใช้ ICT (8 แผนงาน)
การนา ICT มาใช้ ในการบริหารและบริการภาครัฐ (7 แผน)
นโยบายรัฐบาลทีเ่ กีย่ วข้ องกับ ICT
• โครงสร้ างพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจ ให้ความสาคัญกับการบริ หารจัดการ
โครงสร้างพื้นฐานให้มีคุณภาพ ประสิ ทธิภาพ ความโปร่ งใส และวางรากฐาน
การทางานอย่างเป็ นระบบที่ดี เน้นการลงทุนประเภทที่จะเพิม่ ประสิ ทธิภาพ
ระบบเครื อข่าย
• โครงสร้ างพืน้ ฐานทางปัญญา จะจัดทาแผนแม่บทโครงสร้างพื้นฐานทาง
ปัญญาขึ้น เพื่อเร่ งรัดให้มีการสร้างปัญญาในสังคม เพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจ
พอเพียง และเพื่อสร้างความสามารถของประเทศอย่างยัง่ ยืน ตลอดจน
สนับสนุนให้ภาครัฐและภาคเอกชนร่ วมกันสร้างนวัตกรรม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ที่เกี่ยวกับ ICT
• ยุทธศาสตร์ การพัฒนาคุณภาพคนและสั งคมไทยสู่ สังคมแห่ งภูมปิ ัญญาและ
การเรียนรู้
- การเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศมีมากขึน้ คนไทยมีคอมพิวเตอร์ใช้ ๕๗ เครื่ องต่อประชากร
พันคน การเข้าถึงเครื อข่ายอินเตอร์เน็ต ๑๑๖.๗ คนต่อประชากรพันคน แต่ยงั คงต่ากว่าอีกหลาย
ประเทศมาก => เร่ งขยายพืน้ ทีส่ ารสนเทศให้ เด็กและเยาวชน
• ยุทธศาสตร์ การปรับโครงสร้ างเศรษฐกิจให้ สมดุลและยัง่ ยืน
- ภาคบริ การมีฐานที่กว้างขึ้นจากความก้าวหน้าของบริ การด้านโทรคมนาคมและการสื่ อสาร
มีปัจจัยสนับสนุนจากการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ที่มีประสิ ทธิภาพมากขึ้น
 พัฒนาโครงข่ายและบริ การ สื่ อสารโทรคมนาคมที่ทนั สมัยและมีประสิ ทธิภาพ โดยคานึงถึงความ
คุม้ ค่าในการลงทุนและมุ่งเน้นให้มีการแข่งขันด้านการให้บริ การอย่างเสรี เพื่อสนับสนุนภาคการผลิต
ภาคธุรกิจ และบริ การ รวมทั้งรองรับการพัฒนาระบบรัฐบาลอิเล็คทรอนิคส์ สาหรับให้บริ การแก่
ประชาชน และภาคธุรกิจ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ที่เกี่ยวกับ ICT (ต่อ)
• การขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ ส่ ู การปฏิบัติ
- การจัดหาคอมพิวเตอร์เพื่อการเรี ยนการสอนอย่างทัว่ ถึง
- การลงทุนเพื่อพัฒนาบริ การภาครัฐ พัฒนาโครงข่าย IT ภาครัฐ และระบบ e-Government เช่น
e- Health e-Education และ e-Services เป็ นต้น โดยคานึงถึงความเหมาะสมของเทคโนโลยี และ
ความคุม้ ค่าในการลงทุนเพื่อการบริ การประชาชนและธุรกิจ
- การลงทุนเพื่อสร้างโอกาสการเข้าถึงบริ การพื้นฐานที่สมดุลและเป็ นธรรม ขยายโครงข่ายการให้
บริ การโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคมให้ครอบคลุมพื้นที่ชนบท และการลงทุนด้าน IT ใน
โรง เรี ยนและชุมชน สร้างโอกาสในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและพัฒนาความรู ้ของนักเรี ยนและ
ประชาชนในชนบท
- สนับสนุนการพัฒนาระบบฐานข้อมูลในทุกระดับและการเชื่อมโยงโครงข่ายข้อมูลข่าวสาร
ระหว่างหน่วยงานระดับนโยบาย ตลอดจนระดับพื้นที่และท้องถิ่น
- ดาเนินโครงการปรับปรุ งกฎ ระเบียบ และข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
สรุ ปแนวทางในการจัดทาแผนแม่บทฯ ฉบับที่ 2
 สานต่ อกรอบนโยบาย IT2010
=> e-Industry, e-Commerce, e-Government e-Education,
e-Society
 พิจารณาทบทวนแผนแม่ บทฯ ICT #1
=> ส่ งเสริม/พัฒนาต่ อเนื่อง—แผนงาน/โครงการทีล่ งทุนไปมากแล้ ว เช่น e-Government และแผนงาน/
โครงการทีเ่ ป็ นเกีย่ วข้ องกับปัจจัยพืน้ ฐานสาคัญในการพัฒนา ICT เช่น HR, Infrastructur
=> ผลักดันต่อ/ยกเลิก—แผนงาน/โครงการทีไ่ ม่ ได้ /ได้ งบประมาณน้ อย พิจารณาความเหมาะสมกับ
สถานการณ์ ใน 5 ปี ข้ างหน้ า และความสอดคล้ องกับนโยบายรัฐบาล/แผนฯ 10
 ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล => เน้นการใช้ ICT ในการสร้างเครื อข่ายและการเรี ยนรู้
รวมถึงการสร้างนวัตกรรม
 ความสอดคล้องกับแผนพัฒนาฯฉบับที่ 10 => เน้นการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน การ
พัฒนาฐานข้อมูล การให้ความสาคัญกับ ICT เพื่อสร้างโอกาสการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารอย่าง
ทัว่ ถึง และพัฒนาบริ การภาครัฐ ที่จะนาไปสู่ การพัฒนาประสิ ทธิ ภาพ/ลดต้นทุนภาคเอกชน
กรอบในการระดมความคิดเห็น
การใช้ ICT ในภาคเศรษฐกิจ
(e-Industry, e-Commerce)
•
•
•
•
ปัญหาอุปสรรคในการ Implement แผนงาน/
โครงการตามแผนฯแม่บท#1 เช่น ข้อจากัดด้าน
งบประมาณในการส่งเสริ มผูป้ ระกอบการใช้ ICT ใน
การขยายตลาดต่างประเทศ และส่งเสริ ม SME หรื อ
ข้อจากัดด้านกฎหมายในการพัฒนา e-services เป็ น
ต้น
แผนงาน/โครงการที่เห็นควรดาเนินการต่อเนื่ อง
ยกเลิก มีโครงการใหม่ จากแผนแม่บทฯ 1
ทิศทางการส่งเสริ มการพัฒนา ICT ในภาคเศรษฐกิจ
ในมุมมอง CIO ของกระทรวงที่เกี่ยวข้อง
ยุทธศาสตร์ที่เห็นว่าน่าจะมีความจาเป็ นเร่ งด่วนต่อ
การพัฒนา ICT ในระยะ 5 ปี ข้างหน้า
การใช้ ICT ในภาคสั งคม
(e-Education, e-Society)
e
G
O
V
E
R
N
M
E
N
T
•
•
•
•
ปัญหาอุปสรรคในการ Implement แผนงาน/
โครงการตามแผนฯแม่บท#1 เช่น ข้อจากัดด้าน
ความรู้ความสามารถของบุคลากรในการนา
แผนงาน/โครงการไปปฏิบตั ิ การขยายโครงสร้าง
พื้นฐานที่ไม่เพียงพอ เป็ นต้น
แผนงาน/โครงการที่เห็นควรดาเนินการต่อเนื่ อง
ยกเลิก มีโครงการใหม่ จากแผนแม่บทฯ 1
ทิศทางการส่งเสริ มการพัฒนา ICT ในภาคสังคม ใน
มุมมองของ CIO ของกระทรวงที่เกี่ยวข้อง
ยุทธศาสตร์ที่เห็นว่าน่าจะมีความจาเป็ นเร่ งด่วนต่อ
การพัฒนา ICT ในระยะ 5 ปี ข้างหน้า
(ร่ างวิสัยทัศน์ )
เชื่อมโยงประเทศไทยเพือ่ ขับเคลือ่ นเศรษฐกิจและสั งคมอย่ างบรู ณาการด้ วย ICT
• การสร้ างองค์ความรู้ภาครัฐ (E-govt)
• การสร้ าง Learning center และการ
ส่งเสริมงานวิจยั ในสถานศึกษา(Eeducation)
• การต่อยอดภูมิปัญญาท้ องถิ่น (Esociety)
• ส่งเสริม R&D ในภาคการผลิต (Eindustry & E-commerce)
IT2010+นโยบายรัฐบาล+แผนฯ10
Human
Resources
Innovation
Integrated
Thailand
IT2010+นโยบายรัฐบาล+แผนฯ10
Management
Plus++
Policies &
Legal
• พัฒนาระบบบริหารจัดการ ICT ภาครัฐ (E-government)
• พัฒนาระบบบริหารจัดการ ICT การศึกษา (E-education)
• พัฒนาระบบบริหารจัดการ ICT ในระดับท้ องถิ่นและชนบท (E-society)
• พัฒนาระบบบริการจัดการ ICT ในภาคธุรกิจ(E-industry, E-commerce)
• พัฒนาระบบบริหารจัดการ ICT ของ SMEs (E-industry, E-commerce)
• การส่งเสริมนโยบายการแข่งขันในภาคธุรกิจ ICT
• การพัฒนากฎหมาย ICT ต่างๆ
•พัฒนาทักษะ ICT ของข้ าราชการ
(E-government)
•พัฒนาหลักสูตรและบุคลากร ICT
(E-education)
•ส่งเสริมการข้ าถึง ICT ของ
ประชาชน (E-society)
•พัฒนาแรงงาน ICT ในภาคการ
ผลิต(E-industry & E-commerce)
IT2010+นโยบายรัฐบาล+แผนฯ10
Network &
Infrastructure
•พัฒนาเครื อข่าย ICT ภาครัฐ (E-government)
•พัฒนาเครื อข่ายการศึกษา (E-education)
•พัฒนาเครื อข่าย ICT ให้ ทวั่ ถึงทุกภาคส่วนของประเทศ (Esociety)
•พัฒนาเครื อข่าย ICT ภายในองค์กรและการเชื่อมโยงระหว่าง
องค์กรในแบบ Supply Chain & clustering (E-industry)
•พัฒนาเครื อข่ายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E- commerce)
Network & Infrastructure
E-government
E-society
E-Industry
Integrated
Thailand
E-education
E-commerce
E-Government
เป้าหมาย
Pillars
-
ทรั พยากร
บุคคล
-
-
-
โครงสร้ าง
พืน้ ฐานและ
เครื อข่ าย
•
•
-
การจัดการ
และกฎหมาย
•
•
- นวัตกรรม
•
•
ตัวชีว้ ัด
พัฒนาบุคลากรภาครัฐให้ มีความรู้ความสามารถใน
การดูแลและพัฒนาระบบ ICT และมีสามารถใช้
ICT อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ ้น (Back Office)
พัฒนาบุคลากรภาครัฐในการให้ บริการผ่านระบบ
อิเล็คทรอนิกส์ (e-Services) และมีความรู้ความ
เข้ าใจในการใช้ ICT เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพการ
ให้ บริการได้ ดียิ่งขึ ้น (Front Office)
มีการปรับระบบเครื อข่ายเพื่อเชื่อมโยงและสามารถ
แลกเปลี่ยนข้ อมูลระหว่างหน่วยงานภาครัฐด้ วยกัน
เองมากขึ ้น และสามารถเชื่อมโยงการให้ บริการ eService ระหว่างหน่วยงานภาครัฐ
จานวนบริการ e-Service เพิม่ ขึ ้น
•
มีหน่วยงานที่สามารถบริหารจัดการเชิงบูรณาการ
ทังด้
้ าน คน เงิน และงานได้
ปรับปรุงกฏหมายหรื อกฎระเบียบที่เอื ้อต่อการ
ให้ บริการทาง e-Services
ปรับปรุงกฎระเบียบเรื่ องการจัดซื ้อจัดจ้ าง
ส่งเสริม R&D ด้ าน ICT เพื่อ e-Services ที่ดีขึ ้น
•
•
•
•
•
•
จานวนบุคลากรที่มีความรู้ด้าน ICT คิดเป็ น
สัดส่วนร้ อยละ X ของจานวนบุคลากรภาครัฐ
ในแต่ละหน่วยงาน
จานวนบุคลากรที่ได้ รับการฝึ กอบรมหลักสูตร
...........หรื อมีประสบการณ์ด้าน ICT ไม่ต่ากว่า
.....ปี คิดเป็ นสัดส่วนร้ อยละ Y ของจานวน
บุคลากรภาครัฐในแต่ละหน่วยงาน
มีหน่วยงานภาครัฐที่ใช้ ระบบ GIN ครบทุก
กระทรวงภายในปี 2552
จานวนบริการผ่าน web-service เพิม่ ขึ ้นร้ อย
ละ Y หรื อคิดเป็ นร้ อยละ YY ของบริการภาครัฐ
ทังหมด
้
จานวนผู้ใช้ บริการผ่าน web-service เพิม่ ขึ ้น
ร้ อยละ X หรื อคิดเป็ นร้ อยละ XX ของ
ผู้ใช้ บริการทังหมด
้
ปรับบทบาท MICT และปรับปรุง กม. ภายในปี
2551
มูลค่าการจัดซื ้อจัดจ้ างผ่าน E เพิม่ ขึ ้นร้ อยละ..
E-Industry & E-Commerce
Pillars
•
ทรั พยากรบุคคล
เป้าหมาย
•
•
ตัวชีว้ ัด
มีแรงงานทักษะด้ าน ICT โดยทั่วไปสอดรั บ
ความต้ องการของภาคธุรกิจ
มีแรงงานทักษะด้ าน ICT เฉพาะด้ านสอดรั บ
ความต้ องการของภาคธุรกิจ
• เพิ่มสัดส่ วนแรงงาน ICT
ทั่วไปร้ อยละ …
• เพิ่มสัดส่ วนแรงงาน ICT
เฉพาะด้ านร้ อยละ …
•
เครื อข่ ายและ
โครงสร้ างพืน้ ฐาน
•
มีการเชื่อมโยงธุรกิจขนาดใหญ่ กลาง เล็ก ใน
ลักษณะ Cluster
• มีกลไกเชื่อมโยง และให้
ธุรกิจเข้ าถึงบริการ ICT ทั่วถึง
และประหยัด
•
การจัดการ และ
กฎหมาย
•
•
•
มีการออกกฎหมายอิเล็กทรอนิกส์ 5+ ฉบับ
สนับสนุนนโยบายการแข่ งขันด้ าน ICT
มีการบริหารจัดการใช้ ICT ในภาคธุรกิจ SMEs
•
นวัตกรรม
•
ส่ งเสริม R&D ในภาคธุรกิจ
• ออกกฎหมายพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ & อื่นที่เกี่ยวข้ อง
ให้ มีผลใช้ ภายในปี 2552
• แก้ ไขกฎหมายการแข่ งขันให้
เป็ นธรรม
• เพิ่มสัดส่ วนการเข้ าถึง ICT ของ
SMEs ร้ อยละ …
•มี R&D > 0.5% of GDP
E-Society
- ทรั พยากรบุคคล
ประชาชนมีความรู้ พนื ้ ฐานในการใช้ ICT
ประชาชนมีรายได้ ต่อหัว การศึกษาและ
สุขภาพที่ดีขนึ ้
-
ประชาชนทุกระดับและทุกพืน้ ที่สามารถ
เข้ าถึง ICT ได้ อย่ างเท่ าเทียม ในราคาที่
เป็ นธรรม
- มีแหล่ งเข้ าถึง ICT ของชุมชนทุกชุมชน
โดยเฉพาะในชนบท
-
-
-
-
- โครงสร้ างพืน้ ฐาน
และเครื อข่ าย
- การจัดการและ
กฎหมาย
- นวัตกรรม
ตัวชีว้ ัด
เป้าหมาย
Pillars
-
มีระบบการประเมินผลการใช้ ICT ของ
ประชาชน
- เปิ ดเสรี โทรคมนาคมภายในปี .....
- มีกฎหมายบังคับใช้ ในกรณีท่ ีมีการใช้
ICT ในทางที่ผิด ซึ่งรวมถึงการคุ้มครอง
ข้ อมูลส่ วนบุคคล และการคุ้มครอง
ทรั พย์ สินทางปั ญญา
แต่ ละชุมชนมี website ของตัวเองและมี
เนือ้ หาสาระที่เป็ นประโยชน์
-
-
-
-
สัดส่ วนประชากรที่มีความรู้พนื ้ ฐานใน
การใช้ ICT
เพิ่มระดับ Human Development Index
(HDI) จากระดับ medium level ไปสู่
high level
เพิ่มระดับ ICT Diffusion Index (ICTDI =
การเข้ าถึง + การเชื่อมต่ อ) จาก....
เพิ่มสัดส่ วนการเข้ าถึง PC & Internet
เป็ น 40 ของประชากรทัง้ หมด (จากร้ อย
ละ 10)
ค่ าบริการเชื่อมต่ ออินเตอร์ เนตลดลง
จาก....เป็ น.....
จานวนศูนย์ ข้อมูล/การเรี ยนรู้ ชุมชน
(อาจจะใช้ ห้องสมุด/โรงเรี ยน)
มีหน่ วยงานที่รับผิดชอบในการ
ประเมินผลการใช้ ICT
จานวนคดีทางอินเตอร์ เนตลดลงร้ อยละ
........
จานวน website ของชุมชนทั่วประเทศ
E-Education
เป้าหมาย
Pillars
- ทรั พยากรบุคคล
-
-
- โครงสร้ าง
พืน้ ฐานและ
เครื อข่ าย
-
- การจัดการและ
กฎหมาย
-
- นวัตกรรม
-
พัฒนาศักยภาพของครู และนักเรี ยนในการ
ใช้ ICT เพื่อการศึกษา
พัฒนาและสร้ าง content เพื่อใช้ ใน
การศึกษา
เพิ่ม HDI จากระดับ medium level
ไปสู่ high level
สร้ างศูนย์ การเรี ยนรู้ชุมชน อย่ างน้ อย
ตาบลละ 1 แห่ ง
ปรั บปรุ งโครงสร้ างพืน้ ฐานสาหรับภาค
การศึกษา ให้ มีการเรี ยนการสอนผ่ านสื่อที่
เข้ าถึงประชาชนได้ มากขึน้
Security
ส่ งเสริมรายการเพื่อการศึกษา โดยมีอย่ าง
น้ อย .... รายการ ต่ อวัน
ส่ งเสริม R&D ด้ าน ICT ในภาคการศึกษา
ตัวชีว้ ัด
- จานวนครู และนักเรี ยนที่มี
ความสามารถในการใช้ ICT
- อินเตอร์ เน็ตที่เข้ าถึงร.ร.
- จานวนตารา
- จานวนสื่อ
- ระดับ HDI
- จานวนศูนย์ การเรี ยนรู้ชุมชนในระดับ
ตาบล
- bandwidth ของเครื อข่ าย
- จานวนสถานีชุมชนที่มีรายการ
เพื่อการศึกษา
- จานวนรายการเพื่อการศึกษา
ICT Industry
Pillars
- นวัตกรรม
- ทรัพยากรบุคคล
เป้ าหมาย
1. Niche market
• Business expertise (animation, mobile,
embedded, RFID, tourism)
ให้ธุรกิจมีความชานาญธุรกิจให้เกิดขึ้นเพื่อเจาะตลาดทั้ง
ในและต่างประเทศ จะต้องหาตลาดเฉพาะที่
ประเทศไทยมีความสามารถที่จะก้าวขึ้นสู่ ผเู ้ ล่น
อันดับต้น ๆ ให้ได้
• Thainess
ให้ธุรกิจมีความชานาญธุรกิจให้เกิดขึ้นเพื่อเจาะตลาดทั้ง
ในและต่างประเทศ จะต้องหาตลาดเฉพาะที่
ประเทศไทยมีความสามารถที่จะก้าวขึ้นสู่ ผเู ้ ล่น
อันดับต้น ๆ ให้ได้
2. Increase business skills
ให้ธุรกิจมีทกั ษะทางด้านบริ หารในบริ ษทั สาหรับบริ ษทั
ขนาดเล็กและขนาดกลางเพื่อให้สามารถแข่งขัน
ได้ท้ งั ในประเทศและต่างประเทศ ไม่วา่ จะเป็ น
การตลาดเชิงรุ ก การทา 4P การหาจุดแข็ง จุดอ่อน
โอกาส และอุปสรรคของตนเอง ฯลฯ
HR @ right quality
ให้มีบุคลากรที่มีความรู ้ความสามารถตรงกับความของ
การของผูป้ ระกอบการ โดยบุคลากรที่มีอยูต่ อ้ ง
ตอบสนองความต้องการของผูป้ ระกอบการให้ได้
รวมถึงบุคลากรที่จะสร้างขึ้นมาใหม่จะต้องเรี ยนรู ้
ตัวชี้วดั
-
-
จานวนบริ ษทั ที่มีความชานาญด้านธุรกิจ
จานวนบริ ษทั ที่กา้ วสู่ผเู้ ล่นในอันดับต้น ๆ
จานวนบริ ษทั ที่มียอดส่งออก hardware,
software, services ไปต่างประเทศเพิ่มขึ้น
จานวนการผลิต Hardware, Software,
Services to domestic & International
แบบสอบถามจากผูผ้ ลิตในด้าน ICT
แบบสอบถามจากผูผ้ ลิตในด้านแรงงาน
จานวนสิ ทธิบตั รและเอกสารเผยแพร่ ดา้ น
เทคโนโลยี
รายจ่ายด้านการวิจยั และพัฒนา
E – Education(2)
Pillars
- ทรัพยากรบุคคล
เป้ าหมาย
ให้มีหลักสูตรการเรี ยนการสอนในระดับชั้นต่าง
ๆ มีหลักสูตรขั้นพื้นฐานที่สร้างให้มีทกั ษะ
ความรู้ความสามารถที่จะเหมาะสมกับระดับ
การศึกษาของผูเ้ รี ยน รวมถึงมีการเรี ยนการ
สอนที่จะต้องให้เข้ากับความต้องการของ
ผูป้ ระกอบการในกรณี ที่เป็ นระดับชั้น
การศึกษาที่เตรี ยมพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงาน
ให้ได้มากที่สุด
ตัวชี้วดั
-
จานวนหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง
จานวนผูจ้ บหลักสูตรและได้
ประกาศนียบัตร
การเงิน
Pillars
- การจัดการและ
กฎหมาย
เป้ าหมาย
ให้มีการสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงจากการนาเอา
ระบบ ICT มาใช้ โดยให้มีการสนับสนุนด้าน
การเงินที่มากกว่าในปัจจุบนั ให้สถาบัน
การเงินหรื อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้เห็น
ความสาคัญของการนาเอา ICT มาใช้
ตัวชี้วดั
-
ทุนวิจยั จากสกว.(กองทุนวิจยั )
venture capital
incentives
Budget
 กรอบแนวคิดในการจัดทายุทธศาสตร์
IT2010: 1st and 2nd Master Plans Linkage
Government: Strategies & Policies
DEMAND:
Government Sector
Education Sector
Household Sector
Economic Sector
SUPPLY:
Hardware
Software
Services
Telecommunication
ICT Infrastructure: Telecommunication
Human Resource Development
Management: Financial, Legal, Institute
ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์การพัฒนา ICT
วิสยั ทัศน์ : A Connected Nation
พันธกิจ
วัตถุประสงค์
เป้ าหมาย
พัฒนาโครงสร้างโทรคมนาคม
เพื่อให้สามารถเข้าถึง ICT อย่าง
ทัวถึ
่ ง เป็ นธรรม
ราคาถูกลง ให้บริ การได้
ครอบคลุมมากขึน้
ส่งเสริมการใช้ ICT ในทุกภาคส่วน
-ภาครัฐ
-ภาคการศึกษา
-ครัวเรือน
-ภาคธุรกิจ
- เพื่อยกระดับความรู้ และมี
ภูมิค้มุ กันต่อการเปลี่ยนแปลงของ
โลก
- เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
และการให้บริการในทุกภาคส่วน
-ค่าใช้จ่ายด้าน ICT ต่อ
GDP เพิ่ มขึน้ มีธรุ กิ จที่ใช้
ICT เพิ่ มขึน้
-ภาคสังคมเข้าถึงแหล่ง
ความรู้เพิ่ มขึน้
-มีผท้ ู ี่มีความรู้ ICT เพิ่ มขึน้
พัฒนาอุตสาหกรรม ICT
เพื่อเพิ่มศักยภาพ/ขีด
ความสามารถในการแข่งขัน
มูลค่าตลาดของ
อุตสาหกรรม ICT เพิ่ มขึน้
ประเด็นยุทธศาสตร์ 4 ด้าน
Infrastructure
HRD
Management
Innovation, R&D
จากประเด็นสู่กลุ่มยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 1: ยุทธศาสตร์ การพัฒนากิจการโทรคมนาคม
Infrastructure
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 2: ยุทธศาสตร์ การพัฒนาโครงสร้ างพื ้นฐาน ICT
ให้ ทวั่ ถึงทุกภาคส่วนของประเทศ
HRD
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 3: ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากรด้ าน ICT
และส่งเสริมความรู้ความเข้ าใจด้ าน ICT สาหรับประชาชนทุกภาคส่วน
Management
Innovation, R&D
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 4: ยุทธศาสตร์ การสร้ างนวัตกรรม R&D
และปั จจัยเกื ้อหนุนต่างๆ ที่พฒ
ั นาอุตสาหกรรม ICT ให้ เติบโต
และเกิดประโยชน์ต่อทุกภาคส่วน
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 5: ยุทธศาสตร์ การพัฒนาปั จจัยสนับสนุนสาคัญ
(หน่วยงาน กฏหมาย การเงิน) ต่อการบริหารจัดการด้ านICT ทั ้งระบบ
ยุทธศาสตร์ท่ี 1: ยุทธศาสตร์การพัฒนากิจการโทรคมนาคม
สาระสาคัญ: แข่งขันเสรี และเป็ นธรรม บริการมีคณ
ุ ภาพดี และทัวถึ
่ ง
ศึกษาแนวทางการบริหาร
จัดการโครงข่าย
ศึกษาการเพิม่ การแข่งขันใน
ตลาดโทรคมนาคมให้เป็ นธรรม
ใช้โครงข่ายความเร็วสูงทีม่ ใี ห้
เกิดประโยชน์สงู สุด
กาหนดบทบาทขององค์กรที่
เกีย่ วข้องให้มเี อกภาพ โปร่งใส
น่าเชือ่ ถือ
ยุทธศาสตร์ท่ี 2: ยุทธศาสตร์โครงสร้างพืน้ ฐานด้าน ICT
ให้ทวถึ
ั ่ งทุกภาคส่วน
สาระสาคัญ: ลด Digital Divide และเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้
ขยายโครงข่ายด้าน ICT ให้
ครอบคลุม
เชือ่ มโยงเครือข่ายของสถาบัน
ศึกษาทุกระดับชัน้
พัฒนาเครือข่ายสารสนเทศเพื่อ
ความมันคง
่
พัฒนาเครือข่ายสารสนเทศ
ภาครัฐทัง้ ระบบ และเชือ่ มต่อ
ฐานข้อมูล
พัฒนาเครือข่ายสารสนเทศเพื่อ
การบริหารจัดการส่วนท้องถิน่
กาหนดมาตรการจูงใจในการ
ลงทุนในทีห่ า่ งไกล
จัดตัง้ กองทุนในการพัฒนา
โครงสร้างพืน้ ฐานในภาค
การศึกษา
ยุทธศาสตร์ท่ี 3: ยุทธศาสตร์พฒ
ั นาบุคลากรด้าน ICT
และส่งเสริมความรูข้ องผูใ้ ช้ทุกภาคส่วน
สาระสาคัญ: เพิ่มปริมาณ/คุณภาพบุคลากรICT และใช้ให้เกิดประโยชน์ สงู สุด
ผู้สอนด้าน
ICT
ผู้ใช้
บุคลากร ICT
สร้าง
เครือข่าย
ระหว่างกัน
บุคลากรจาก
ต่างประเทศ
ยุทธศาสตร์ท่ี 3: ยุทธศาสตร์พฒ
ั นาบุคลากรด้าน ICT
และส่งเสริมความรูข้ องผูใ้ ช้ทุกภาคส่วน
สาระสาคัญ: เพิ่มปริมาณ/คุณภาพบุคลากรICT และใช้ให้เกิดประโยชน์ สงู สุด
ผู้ใช้
สร้างความตระหนักและออก
มาตรการจูงใจ
พัฒนาทักษะของผูใ้ ช้โดย
การศึกษา และอบรม
จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะ
ความรูป้ ระสบการณ์
ความร่วมมือระหว่างรัฐและ
เอกชนเพือ่ พัฒนาครู ICT
ส่งเสริมการนา ICT มาใช้ใน
การพัฒนาประเทศ
บุคลากร ICT
พัฒนาทักษะของบุคลากร ICT
โดยการศึกษา และอบรม
จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะ
ความรูป้ ระสบการณ์
บุคลากรจาก
ต่างประเทศ
ปรับกฎหมาย&ระเบียบเพือ่ เอือ้
ให้ต่างชาติมาทางานและลงทุน
เอือ้ ให้คนไทยในต่างแดน/
ต่างชาติมาลงทุนทางานในไทย
สร้าง
เครือข่าย
ระหว่างกัน
สร้างความร่วมมือระหว่างรัฐ
การศึกษา ธุรกิจ และ
อุตสาหกรรม ICT ในด้านต่างๆ
สร้างศูนย์ขอ้ มูลอัจฉริยะเพือ่
เก็บและให้ขอ้ มูล ICTครบวงจร
ยุทธศาสตร์ที่ 4: ยุทธศาสตร์การส่งเสริม นวัตกรรม และ R&D
รวมถึงปัจจัยเกื้อหนุนต่างๆ ที่ช่วยพัฒนาอุตสาหกรรม ICT
สาระสาคัญ: เพิ่มความสามารถ ICT ไทยในการแข่งขัน และสนับสนุนอุตสาหกรรมอื่น
การเพิ่ม
สมรรถภาพ
กุญแจสู่ ความ
น่ าเชื่อถือ และ
งานระดับโลก
เพิม่ ขีด
ความสามารถ สร้ าง
มูลค่าเพิม่ ด้ วย
นวัตกรรม และ
การตลาด
มาตรฐาน
อยู่รอดและ
เติบโตใน GVC
ต่ างๆ
หัวใจการ
พัฒนา
อุตสาหกรรม
การบริหาร
GVC
ยุทธศาสตร์ที่ 4: ยุทธศาสตร์การส่งเสริม นวัตกรรม และ R&D
รวมถึงปัจจัยเกื้อหนุนต่างๆ ที่ช่วยพัฒนาอุตสาหกรรม ICT
สาระสาคัญ: เพิ่มความสามารถ ICT ไทยในการแข่งขัน และสนับสนุนอุตสาหกรรมอื่น
ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม และ
การนามาใช้ในเชิงพาณิชย์
ยกระดับมาตรฐาน ICT ไทย
ปรับปรุงกฎระเบียบ ข้อบังคับ
ให้เอือ้ ต่อการสร้างนวัตกรรม
พัฒนาตลาดเพือ่ บ่มเพาะ
อุตสาหกรรม ICT ไทย
สารวจตลาดใหม่ทม่ี ศี กั ยภาพ
บริหารจัดการห่วงโซ่มลู ค่า
ระดับโลกเพือ่ ICT ไทย
กาหนดมาตรากรส่งเสริม
อุปกรณ์ Telco และ R&D โดย
มีรฐั และเอกชนร่วมมือกัน
ยุทธศาสตร์ที่ 5: ยุทธศาสตร์การพัฒนาปัจจัยสนับสนุน ( หน่ วยงาน
กฎหมาย การเงิน) ต่อการบริหารจัดการด้าน ICT ทัง้ ระบบ
In a Nutshell: สร้างกลไกในการนานโยบายไปปฏิบตั ิ ได้ผลจริง
ปรับบทบาทของ กสช.กทช ให้
ทางานอย่างบูรณการ
ปรับบทบาท ก. ICT ให้สนับสนุน
กสช. กทช. อย่างมีประสิทธิภาพ
ทบทวน ปรับปรุงกฎระเบียบ
ข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง
โครงสร้ างคณะกรรมการนโยบายและยุทธศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแห่ งชาติ
คณะกรรมการนโยบายและยุทธศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารแห่ งชาติ
CIO ทุกกระทรวง
หน่ วยงานใน
สังกัด MICT
ภาครัฐอื่นๆ
NECTEC
Software Park
สานักงานคณะกรรมการนโยบายและ
ยุทธศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารแห่ งชาติ (ฝ่ ายเลขานุการที่
เป็ น Project Manager อยู่ภายใต้
กระทรวง ICT)
องค์ กรอิสระ
กทช..
กสช.
สศช. แผนงาน
สงป. แผนเงิน
กพ. แผนคน
ภาคเอกชน: TCT
ATCI
ATSI
ขอบคุณมากครับ