รูปแบบ

Download Report

Transcript รูปแบบ

278206
Application of Software Package in Office
การใช้ งานโปรแกรมตารางคานวณ (ต่ อ)
(Spread Sheet)
อ.ธารารัตน์ พวงสุ วรรณ
[email protected]
1
การคานวณโดยใช้ ฟังก์ ชันของ โปรแกรม Excel
• โครงสร้ างของฟังก์ชัน
=ชื่อฟังก์ชนั (ค่าargument1,ค่าargument2,…)
•
•
•
•
สาหรับการป้ อนค่า argument เราต้องทราบก่อนว่าฟั งก์ชนั นั้นรับค่า argument แบบใดบ้าง
อาจใส่ ขอ้ มูลตัวเลขเข้าไปโดยตรง เช่น =SUM(1700,9800,7200) เพื่อให้หาผลรวม
หรื ออาจกาหนดให้ฟังก์ชนั อ้างอิงค่าในเซลล์กไ็ ด้ เช่น =SUM(E4:E7)
สาหรับการใช้ฟังก์ชนั บางประเภทเราอาจต้องป้ อนค่า argument ที่เป็ นข้อความ เวลา หรื อ
วันที่ โดยจะอยูภ่ ายในเครื่ องหมาย “” เสมอ
2
ฟั งก์ ชัน IF
Function IF เป็ นคาสัง่ ในเพื่อใช้ในการสร้างเงื่อนไข เพื่อทาการ
ตรวจสอบค่าในเซลล์ที่เราต้องการว่าเป็ นจริ ง หรื อไม่
รู ปแบบ
logical_test หมายถึง เงื่อนไขเพื่อทาการตรวจสอบค่า
value_if_true หมายถึง ค่าที่ใช้สาหรับแสดงผล เมื่อเงื่อนไขเป็ นจริ ง
value_if_false หมายถึง ค่าที่ใช้สาหรับแสดงผล เมื่อเงื่อนไขเป็ นเท็จ
3
ตัวอย่ างการใช้ งาน Function if
ใน Microsoft Excel 2007
4
กรณีมีหลายเงื่อนไข
5
ฟั งก์ ชันการหาผลรวม
คือ Function ในการหาผลรวมของข้อมูล ปกตินิยมใช้ ฟังชัน่ Sum
กรณี ที่ตอ้ งหาผลรวมแบบมีเงื่อนไขสามารถใช้ฟังชัน่ อื่นได้เช่น Sumif หรื อ
Sumproduct
6
< น้ อยกว่ า
> มากกว่ า
<= น้ อยกว่ าหรือเท่ ากับ
>= มากกว่ าหรือเท่ ากับ
= เท่ ากับ
<> ไม่ เท่ ากับ
ใช้ กับ น้ อยกว่ า,ไม่ ถงึ ,ต่ากว่ า,ก่ อน
ใช้ กับ มากกว่ า,หลัง
ใช้ กับ ไม่ เกิน
ใช้ กับ ตัง้ แต่ ...ขึน้ ไป
ใช้ กับ เท่ ากัน,เป็ น,คือ
ใช้ กับ ไม่ เท่ ากัน,ไม่ ใช่ ,ยกเว้ น
7
ฟั งก์ ชัน Sumif
SumIF เป็ นคาสัง่ ในหาผลรวมในการสร้างเงื่อนไข เพื่อทาการตรวจสอบค่า
ในเซลล์ที่เราต้องการว่าเป็ นจริ ง หรื อไม่
รู ปแบบ
range หมายถึง ช่วงข้อมูลที่ใช้ในการเปรี ยบเทียบ
criteria หมายถึง เงื่อนไขที่ใช้ในการเปรี ยบเทียบกับ range
Sum_range หมายถึง ช่วงของข้อมูลที่ใช้ในการรวมเมื่อเงื่อนไขเป็ นจริ ง
8
ตัวอย่ างการใช้ งาน Function Sumif
ใน Microsoft Excel 2007
ตัวอย่างการหาผลรวมยอดขายแต่ ละประเภทสิ นค้ า
9
ฟังก์ ชัน Sumproduct
Sumproduct เป็ นสูตรที่ใช้สาหรับ การหาผลคูณของคอลัมน์ต้ งั แต่
2 คอลัมน์ข้ ึนไป และเอาผลที่ได้จากการคูณนั้น มารวมกัน
รู ปแบบ
array1 หมายถึง ช่วงข้อมูล1
array2 หมายถึง ช่วงข้อมูล2
array3 หมายถึง ช่วงข้อมูล3
10
ตัวอย่ างการใช้ งาน FunctionSumproduct
ใน Microsoft Excel 2007
11
กรณีมีหลายเงื่อนไข
12
ฟั งก์ ชันการนับ
• Function ในการนับจานวนเซลล์ ใช้ในการนับจานวนเซลล์
ภายในพื้นที่ที่กาหนดภายใต้เงื่อนไขใดๆ
• เช่น
•COUNT
•COUNTA
•COUNTBLANK
• และ COUNTIF
13
ฟั งก์ ชัน Countif
Countif เป็ นคาสัง่ ในนับจานวนของเซลล์ภายในช่วงที่ตรงตาม
เงื่อนไขที่คุณระบุ
รู ปแบบ
range
criteria
หมายถึง ช่วงข้อมูลที่ใช้ในการเปรี ยบเทียบ
หมายถึง เงื่อนไขที่ใช้ในการเปรี ยบเทียบกับ range
14
ตัวอย่ างการใช้ งาน Function Countif
ใน Microsoft Excel 2007
ตัวอย่างการนับพนักงานทีม่ ีเงินเดือนน้ อยกว่ า 10000
15
กรณีมีหลายเงื่อนไข
16
ฟั งก์ ชัน COUNTA / COUNTBLANK
•
COUNTA
เป็ นคาสัง่ นับจานวนของเซลล์ที่ไม่วา่ งภายในช่วงที่ระบุ
• COUNTBLANK
เป็ นคาสัง่ นับจานวนของเซลล์ที่วา่ งภายในช่วงที่ระบุ
17
ฟังก์ ชันค้ นหา
• ฟังก์ชนั การค้นหา (LOOKUP) ใช้ในการค้นหาข้อมูล
• ประกอบด้วย ค่าที่ตอ้ งการค้นหา ช่วงของข้อมูลที่จะค้นหาและ
เงื่อนไขอื่น ๆ ขึ้นอยูก่ บั รู ปแบบของฟังก์ชนั
• เช่น
• VLOOKUP
• HLOOKUP
18
ฟังก์ ชัน Vlookup
• Vlookup ใช้สาหรับหาค่าในตารางข้อมูลแนวตั้ง
• โดยหาค่า (ที่เหมือน หรื อ ใกล้เคียง) จากคอลัมน์แรกของตาราง
• และคืนค่าเป็ นข้อมูลที่อยูใ่ นแถวเดียวกัน จากคอลัมน์ที่ระบุลงไปใน
Argument ของฟังก์ชนั่
• V ย่อมาจาก Vertical ซึ่ง VLOOKUP จะใช้กบั ตารางข้อมูลแนวตั้ง
• เป็ นลักษณะของตารางที่ใช้กนั ตามปกติ
• โดยคอลัมน์ที่ตอ้ งการเอารหัสไปเปรี ยบเทียบต้องอยูด่ า้ นซ้ายสุ ดของ
ตารางหรื อพื้นที่ของตารางที่เลือก
19
รูปแบบ
- Lookup_value เป็ นค่าที่ตอ้ งการหา สามารถเป็ นได้ท้ งั ตัวเลข หรื อตัวอักษร หรื อเซลล์
อ้างอิง โดยตัวพิมพ์เล็กและตัวพิมพ์ใหญ่มีค่าเหมือนกัน (Non-case-sensitive)
- Table_array เป็ นตารางที่เราต้องการไปหาค่า อาจเป็ นช่วงเซลล์ หรื อ Range Name ก็ได้
โดยคอลัมน์แรกของตารางต้องเป็ นเลขรหัสที่ตอ้ งการให้ Lookup_value มาเทียบค่า
Table_array
- Col_index_num เป็ นเลขลาดับคอลัมน์ของตาราง (Table_array) ซึ่ งเป็ นคอลัมน์ที่ตอ้ งการ
ให้ดึงค่ามา
- Range_lookup ถ้าเป็ น TRUE หรื อละไว้ จะเอาค่าที่ใกล้เคียงมา ถ้าเป็ น FALSE หรื อ 0
จะนาค่าที่ตรงกันมา)
20
ตัวอย่ างการใช้ งาน Vlookup
ใน Microsoft Excel 2007
ตัวอย่างการหา VLOOKUP แบบตรงตัว (Exact Match)
21
แบบค่ าเป็ นช่ วง (Approximate Match)
จะใช้หาค่าที่ตกอยูใ่ นช่วง เช่น การคานวณเกรด หรื อภาษี โดยดูเงินได้
เทียบกับช่วงของอัตราภาษีระดับต่างๆ โดยจะละเงื่อนไขใน Range_lookup
หรื อจะใส่ เป็ น TRUE ก็ได้
- การใช้งาน VLOOKUP แบบนี้จะใช้กบั หาค่าที่เป็ นช่วง เช่น การตัด
เกรด หรื อ การคานวณช่วงอัตราภาษี
- การใช้ฟังก์ชนั่ VLOOKUP แบบนี้ ค่าในคอลัมน์แรกต้องเรี ยง
ตามลาดับจากน้อยไปมาก
- ฟังก์ชนั่ VLOOKUP จะไปหาค่าที่เหมือนกันก่อน ถ้าไม่เจอก็จะไปหา
ค่าที่มากที่สุด แต่นอ้ ยกว่าค่าที่ตอ้ งการหา แล้วก็จะไปนาค่าของคอลัมน์ที่เรา
ต้องการมาแสดง
22
ฟังก์ ชัน Vlookup แบบค่ าเป็ นช่ วง (Approximate Match)
23
ตัวอย่ างการใช้ งาน Vlookup
ใน Microsoft Excel 2007
ตัวอย่ างการหา VLOOKUP แบบค่ าเป็ นช่ วง (Approximate Match)
24
ฟังก์ ชัน HLOOKUP
• HLOOKUP ใช้สาหรับหาค่าในตารางข้อมูลแนวนอน
• โดยหาค่าที่เหมือนกันหรื อใกล้เคียงจากแถวบนสุ ดของตาราง
• และคืนค่าเป็ นข้อมูลที่อยูใ่ นคอลัมน์เดียวกันจากแถวที่ระบุ
• H ย่อมาจาก Horizontal
• มีลกั ษณะโครงสร้างสูตรเหมือนกับ VLOOKUP แต่ตารางที่ใช้
อ้างอิงจะเป็ นตารางแนวนอน
• ไม่ค่อยได้ใช้เนื่องจากตารางส่ วนใหญ่เป็ นตารางข้อมูลในแนวตั้ง
25
รู ปแบบ
- Lookup_value เป็ นค่าที่ตอ้ งการหา สามารถเป็ นได้ท้ งั ตัวเลข หรื อตัวอักษร หรื อเซลล์
อ้างอิง โดยตัวพิมพ์เล็กและตัวพิมพ์ใหญ่มีค่าเหมือนกัน (Non-case-sensitive)
- Table_array เป็ นตารางที่เราต้องการไปหาค่า อาจเป็ นช่วงเซลล์ หรื อ Range Name ก็ได้
โดยแถวแรกของตารางต้องเป็ นเลขรหัสที่ตอ้ งการให้ Lookup_value มาเทียบค่า Table_array
- Row_index_num เป็ นเลขลาดับแถวของตาราง (Table_array) ซึ่ งเป็ นแถวที่ตอ้ งการให้ดึง
ค่ามา
- Range_lookup ถ้าเป็ น TRUE หรื อละไว้ จะเอาค่าที่ใกล้เคียงมา ถ้าเป็ น FALSE หรื อ 0
จะนาค่าที่ตรงกันมา
26
ตัวอย่ างการใช้ งาน Hlookup
ตัวอย่างการหา HLOOKUP(ไม่ เป็ นที่นิยมใช้ กนั เท่ าไรนัก)
27
ฟังก์ชันที่เกีย่ วกับการเงิน
• PMT ช่วยในการคิดคานวณเงินผ่อนชาระ
• FV คานวณมูลค่าในอนาคตของการลงทุน
• NPER คานวณจานวนงวดทั้งหมดในการผ่อนชาระสาหรับการ
ลงทุน
• PV คานวณมูลค่าปัจจุบนั ของการลงทุน
ฯลฯ
28
ฟังก์ชัน PMT
• Function PMT ช่วยในการคิดคานวณเงินผ่อนชาระ
• สาหรับการคานวณหาจานวนเงินที่ตอ้ งผ่อนชาระคืนในแต่ละงวด
• เช่น กรณี เรากูเ้ งินจากธนาคารมาเพื่อซื้อบ้าน
• ฟังก์ชนั นี้จะคานวณจานวนเงินที่เราต้องผ่อนธนาคารในแต่ละเดือน
29
ฟังก์ชันที่เกีย่ วกับการเงิน
รู ปแบบ
- Rate อัตราดอกเบี้ยต่อเดือน (ถ้ากาหนดเป็ นต่อปี ต้องเอา 12 ไปหาร)
- Nper จานวนเดือนในการผ่อนชาระ (ถ้ากาหนดเป็ นรายปี ต้องเอา 12 ไป
คูณ)
- Pv จานวนเงินที่กมู้ าจากธนาคาร
- Fv มูลค่าอนาคตของเงินกู้ หรื อจานวนเงินที่ตอ้ งการให้คงเหลือหลังจาก
ชาระงวดสุ ดท้าย ถ้าไม่ใส่ จะถือว่าเป็ น 0
- Type ตัวเลขระบุวนั ครบกาหนดชาระเงิน 0 คือ ชาระเมื่อสิ้ นงวด 1 คือ
ชาระเงินเมื่อต้นงวด ถ้าไม่ใช่จะถือว่าเป็ น 0
30
ตัวอย่ างการใช้ งาน PMT
*** ผลลัพธ์ ท่ ีได้ จะติดลบ แสดงถึงเงินที่เราต้ องจ่ ายออกไป ***
เวลาใช้ งานจริง นิยมใส่ เงินต้ นในสูตรเป็ นค่ าติดลบแทน เพื่อทาให้
ผลลัพธ์ เป็ นบวก
31
ตัวอย่ างการใช้ งาน PMT
32
ฟังก์ชนั Upper
• ใช้ในการแปลงสายอักขระข้อความให้เป็ นตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ท้งั หมด
• รู ปแบบ =upper()
33
ฟังก์ชนั BAHTTEXT
•
•
•
•
แปลงค่าตัวเลขให้เป็ นตัวอักษรแสดงจานวนเงินในภาษาไทย
และเพิม่ ต่อคาท้ายว่า “บาท”
รู ปแบบ BAHTTEXT(จานวน)
จานวน คือตัวเลขที่ตอ้ งการแปลงเป็ นข้อความ หรื อจะเป็ นการอ้างอิง
ไปยังเซลล์ที่มีตวั เลขอยู่ หรื อเป็ นสูตรที่ได้ประเมินค่าออกมาเป็ นตัวเลข
ก็ได้
34
การกาหนดคุณสมบัตเิ ฉพาะให้ กบั เซลล์
ในการแสดงค่ าหรือทั้งกลุ่มของเซลล์ ทตี่ ้ องการ
•
การกาหนดคุณสมบัติเฉพาะให้กบั เซลล์ เพื่อให้เซลล์น้ ันรั บข้อมูลที่
ถูกต้องตามชนิ ดของข้อมูลและทาให้การแสดงผลทางหน้าจอมีค วาม
ถูกต้องเหมาะสมตามที่ตอ้ งการ มีข้นั ตอนปฏิบตั ิดงั นี้
1. ทาการ Drag เลื อกกลุ่มเซลล์ที่ตอ้ งการ หรื อคลิกเซลล์ที่ตอ้ งการ
เพื่อให้เกิดกรอบสี่ เหลี่ยมเข้มล้อมรอบเซลล์ที่ตอ้ งการ
2. คลิกเมนู Format -> Cells จะเกิด Format Cells Dialog ดังรู ป
35
36
การกาหนดคุณสมบัตเิ ฉพาะให้ กบั เซลล์
ในการแสดงค่ าหรือทั้งกลุ่มของเซลล์ ทตี่ ้ องการ
•
•
•
•
•
จาก Format Cells Dialog สามารถกาหนดคุณสมบัติเฉพาะให้กบั เซลล์ใน
การแสดงค่าหรื อทั้งกลุ่มของเซลล์ ได้ดงั นี้
การปรับคุณสมบัติในการแสดงตัวเลขให้เป็ นแบบต่างๆ
การปรับคุณสมบัติในการจัดรู ปแบบของข้อมูลในเซลล์
การปรับคุณสมบัติของตัวอักษรที่แสดงในเซลล์
ปรับคุณสมบัติของเซลล์ กาหนดกรอบ (Border) ให้แก่เซลล์
การปรับคุณสมบัติของเซลล์ กาหนดสี พ้นื ให้แก่เซลล์
37
การปรับคุณสมบัตใิ นการแสดงตัวเลขให้ เป็ นแบบต่ างๆ
• คลิกเมนูยอ่ ย Number
• ในส่ วน Category เลือกรู ปแบบการแสดงตัวเลขต่างๆ มีดงั นี้
รู ปแบบตัวเลข
ความหมาย
General
ไม่มีการกาหนดรู ปแบบ ตัวเลขที่แสดงจะเป็ นไปตามที่เราพิมพ์
Number
ใช้ส าหรั บ การแสดงตัว เลขทั่ว ไป โดยเราสามารถก าหนดจ านวนหลัก
ทศนิ ยม การใช้เครื่ องหมาย “,” คัน่ ทุกๆ 3 หลักและการแสดงตัวเลขที่มีค่า
ติดลบ เช่นให้เป็ นสี แดง เป็ นต้น
สาหรับใช้แสดงตัวเลขที่เป็ นจานวนเงิน โดยเราสามารถกาหนดให้มี
เครื่ องหมายสกุลเงินนาหน้า และการแสดงตัวเลขเมื่อติดลบได้
Currency
38
รู ปแบบตัวเลข
Accounting
ความหมาย
Date
รู ปแบบการแสดงตัวเลขคล้ายกับ Currency แต่เครื่ องหมายสกุลเงินจะถูก
จัดชิดซ้ายของเซลล์ และตัวเลขจะถูกจัดชิดขวาของเซลล์
ใช้กาหนดรู ปแบบการแสดงวันที่
Time
ใช้กาหนดรู ปแบบการแสดงเวลา
Percentage
จะแปลงตัวเลขในเซลล์เป็ นเปอร์ เซ็นต์ โดยคูณด้วย 100 และแสดง
เครื่ องหมาย % ปิ ดท้าย เช่น ตัวเลข .75 จะถูกแสดงเป็ น 75%
แสดงตัวเลขเป็ นเศษส่ วนโดยเราสามารถกาหนดเลขส่ วนได้ดว้ ย เช่น เรา
อาจกาหนดให้ .75 แสดงเป็ น 3/4 12/16 หรื อ 75/100
แสดงตัวเลขเป็ นแบบวิทยาศาสตร์ เช่น .75 แสดงเป็ น 7.50E- 01
Fraction
Scientific
Text
แสดงตัวเลขชิดซ้ายเซลล์ และตัดเครื่ องหมายที่ใช้ เช่น , และ $ ออก ซึ่ งจะ
เหมือนกับการแสดงข้อความทัว่ ไป
39
รู ปแบบตัวเลข
Special
Custom
ความหมาย
จะใช้เครื่ องหมาย – คัน่ ตัวเลข แสดงตัวเลขที่เป็ นรหัสไปรษณี ย ์ หมายเลข
โทรศัพท์ และหมายเลขประกันสังคม
หากไม่มีรูปแบบการแสดงตัวเลขที่ตอ้ งการ ก็สามารถกาหนดรู ปแบบการ
แสดงข้อมูลได้เองตามลักษณะการใช้งาน
• สาหรับการกาหนดรู ปแบบการแสดงข้อมูลประเภทตัวเลข เราสามารถกาหนดได้จาก
Formatting Toolbar
–
แสดงเครื่ องหมายสกุลเงินนาหน้า
–
แปลงค่าตัวเลขให้เป็ น %
–
แสดงเครื่ องหมาย , คัน่ ตัวเลขที่เลือกทุกๆ 3 หลัก และมีทศนิยม 2 ตาแหน่ง
–
เพิ่มจานวนหลักทศนิยม 1 หลัก
–
ลดจานวนหลักทศนิยม 1 หลัก
40
41
การกาหนดรู ปแบบตัวเลข
• มีหลายรู ปแบบ เช่น ทัว่ ไป ตัวเลข บัญชี หรื อ กาหนดเอง
• กาหนดเอง จะเห็นรู ปแบบตัวเลขแสดงด้วยเครื่ องหมาย ดังนี้
– # แทนตัวเลข เช่น #,###
– 0 แทนเลขศูนย์
– _ เพิ่มช่องว่าง ถ้าใส่ เป็ น _) ค่าบวกจะเรี ยงตรงอยูใ่ นแถวเดียวกัน
กับค่าลบ
– ; คัน่ ค่าบวก และค่าลบ
– $ แสดงสกุลเงิน
• และสามารถกาหนดสี ให้กบั การแสดงผลของตัวเลขได้ เช่น [แดง]
42
การกาหนดรู ปแบบตัวเลข
• เช่น [Blue]#,##0.00; [Red](#,##0.00) หมายถึง
• ค่ าบวก จะแสดง , เมื่อมีตวั เลขหลักพันขึ้นไป
– ถ้าไม่มีตวั เลขใดๆใน cell หรื อ range จะแสดง 0.00
– ค่าทั้งหมดจะแสดงด้วยตัวอักษรสี แดง
• ค่ าลบ จะแสดง , เมื่อมีตวั เลขหลักพันขึ้นไป
– ถ้าไม่มีตวั เลขใดๆใน cell หรื อ range จะแสดง 0.00
– ค่าทั้งหมดจะแสดงอยูภ่ ายในวงเล็บเล็ก และมีตวั อักษรเป็ นสี เป็ นแดง
43
การกาหนดเงือ่ นไขให้ รูปแบบตัวเลข
• ทาได้โดยใส่ เงื่อนไขไว้ในวงเล็บ [ ] เช่น
• กาหนดให้จานวนมากกว่า 5000 ใช้ตวั อักษรสี เขียว จานวนต่ากว่าหรื อ
เท่ากับ 5000 ใช้ตวั อักษรสี แดง
• จะได้เป็ น [เขียว][>5000];[แดง][<=5000]
44
การจัดรู ปแบบข้อมูลตามเงื่อนไข
45
การจัดรู ปแบบข้อมูลตามเงื่อนไข
46
การจัดรู ปแบบข้อมูลตามเงื่อนไข
47
การจัดรู ปแบบข้อมูลตามเงื่อนไข
48
การเปลี่ยนเงื่อนไขหรื อรู ปแบบที่กาหนด
49
การเปลี่ยนเงื่อนไขหรื อรู ปแบบที่กาหนด
50
การเปลี่ยนเงื่อนไขหรื อรู ปแบบที่กาหนด
51
การลบรู ปแบบที่กาหนดเงื่อนไข
52
การปรับคุณสมบัติในการจัดรู ปแบบของข้อมูลในเซลล์
•
คลิกเมนูยอ่ ย Alignment จะมีตวั เลือกที่จะพิจารณาดังนี้
– ส่ วน Text alignment เป็ นการกาหนดให้การจัดวางข้อความอ้างอิงตาแหน่งการจัดใน
แนวนอน(Horizontal) และแนวตั้ง (Vertical) ตาแหน่งไหนบ้าง โดยมีตวั เลือกคลิกเลือก
ได้
– ส่ วน Orientation เป็ นการกาหนดให้ขอ้ มูลที่อยูใ่ นเซลล์มีการปรับเอียงเป็ นองศาใดบ้าง
จะอยูใ่ นช่วง -90 ถึง 90 องศา
– ส่ วน Text control เป็ นการกาหนดให้รูปแบบของเซลล์ขอ้ มูลที่แสดงเป็ นแบบต่างๆ ดังนี้
1. คลิก Wrap text เมื่อต้องการตัดข้อความที่ยาวเกินความกว้างของเซลล์ที่แสดงอยู่
ออกเป็ นหลายบรรทัดในเซลล์
2. คลิก Shink to fit เมื่อต้องการปรับขนาดตัวอักษรให้พอดีเซลล์
3. คลิก Merge Cell จะนาเซลล์ที่ทาแถบสี ท้ งั หมดรวมเป็ นเซลล์เดียวกัน
– คลิก OK เพื่อให้ Excel กาหนดคุณสมบัติให้กบั เซลล์ หรื อ Cancel เพื่อยกเลิก
53
54
การสร้างกราฟด้วย Graph Wizard
1. ให้ดาเนินการเลือกกลุ่มข้อมูลจะนามาสร้างกราฟโดยทาแถบสี
2. คลิกแถบเมนู insert -> chart หรื อคลิกที่แถบเครื่ องมือ สัญลักษณ์
3. จะปรากฏ Dialog box ให้ใส่ รายละเอียด 4 ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 1 เลือกชนิดและรู ปแบบกราฟ (Chart Type)
โดยเลือกประเภทของกราฟที่ช่อง Chart Type และรู ปแบบย่อยของกราฟ
ประเภทนั้นๆจากช่อง Chart-sub-type
4.
คลิกปุ่ ม Next > เพื่อเข้าสู่ข้นั ตอนที่ 2 Chart Source Data
55
56
การสร้างกราฟด้วย Graph Wizard (ต่อ)
ขั้นตอนที่ 2 กาหนดแหล่งข้อมูลที่ใช้สร้างกราฟ (Chart Source Data)
• Tab Data Range
– ในส่ วน Data Range ใส่ ช่วงข้อมูลที่นามาสร้างกราฟ ถ้าเลือกไว้แล้วอาจ
เปลี่ยนบริ เวณได้
– ในส่ วน series in เป็ นตัวเลือกที่ให้ผใู ้ ช้ระบุถึงลักษณะข้อมู ลที่ตอ้ งการให้
แกน X นาเสนอ
• Rows ถ้าต้องการสร้างกราฟใช้ขอ้ มูลตามแนวแถว
• Columns ถ้าต้องการสร้างกราฟใช้ขอ้ มูลตามแนวหลัก
57
58
การสร้างกราฟด้วย Graph Wizard (ต่อ)
ขั้นตอนที่ 2 กาหนดแหล่งข้อมูลที่ใช้สร้างกราฟ (Chart Source Data)
• Tab Series
– ในส่ วน Series จะปรากฏชื่อ series ที่เลือกแล้ว สามารถ Add หรื อ Remove
– ในส่ วน Name แสดงตาแหน่งเก็บชื่อ Series ใน Work Sheet สามารถ
เปลี่ยนแปลงได้
– Value แสดงตาแหน่งเก็บค่าใน Work Sheet สามารถเปลี่ยนแปลงได้
– Category(x) axis label แสดงตาแหน่งชื่อในแกน X
– คลิกปุ่ ม Next > เพื่อเข้าสู่ข้นั ตอนที่ 3 Chart Options
59
60
การสร้างกราฟด้วย Graph Wizard (ต่อ)
ขั้นตอนที่ 3 กาหนดรายละเอียดในการปรับแต่งกราฟ (Chart Options)
• เมนูย่อย Titles เกี่ยวกับการกาหนดชื่อกราฟ ชื่อแกนของกราฟ ประกอบด้วย
– Chart Title: ใส่ ชื่อกราฟ หรื อข้อความอธิบายกราฟ
– Category (X) axis:
ใส่ ขอ้ ความอธิบายแกน X
– Category (Y) axis:
ใส่ ขอ้ ความอธิบายแกน Y
• เมนูย่อย Axes เกี่ยวกับการกาหนด แกนหลัก Primary axis ประกอบด้วย
– Category (X) axis:
กาหนดให้มีการแสดงหรื อไม่แสดงค่าในแกน X
ตามรู ปแบบ Automatic; Category หรื อ Time-scale
– Value (Y) axis: กาหนดให้มีการแสดงหรื อไม่แสดงค่าในแกน Y
61
การสร้างกราฟด้วย Graph Wizard (ต่อ)
เมนู ย่ อ ย Gridlines
เกี่ ย วกับ การก าหนดเส้ น ตัด แกนเพื่ อ ให้อ่ า นกราฟได้ส ะดวก
ประกอบด้วย
– Category (X) axis:แสดงเส้นตัดแกน X ทั้งเส้นตัดแกนหลัก (Major gridlines) หรื อ
เส้นตัดแกนรอง (Minor gridlines)
– Category (Y) axis:แสดงเส้นตัดแกน Y ทั้งเส้นตัดแกนหลัก (Major gridlines) หรื อ
เส้นตัดแกนรอง (Minor gridlines)
• เมนูย่อย Legend เกี่ยวกับการแสดงคาอธิ บายกราฟแต่ละจุดหรื อแต่ละค่า ประกอบด้วย
– Show legend กาหนดให้แสดงหรื อไม่แสดงคาอธิ บาย
– Placement: กาหนดการจัดวางตาแหน่งของคาอธิ บาย ด้านล่างกราฟ (Bottom), ด้าน
มุมกราฟ (Corner), ด้านบนกราฟ (Top) ด้านขวากราฟ (Right) และ ด้านซ้ายกราฟ
(Left)
62
•
การสร้างกราฟด้วย Graph Wizard (ต่อ)
เมนูย่อย Data Labels เกี่ยวกับการกาหนดให้แสดงข้อมูลบนกราฟหรื อไม่
ประกอบด้วย
– Series Name กาหนดแสดงชื่อกลุ่มชุดข้อมูลบนกราฟ
– Category name กาหนดให้แสดงข้อความในแกน X บนกราฟ
– value กาหนดให้แสดงค่าในแกน Y บนกราฟ
• เมนู ย่อย Data Table
เกี่ ยวกับการแสดงตารางข้อมูลต่อท้ายกราฟ
ประกอบด้วย
– Show data table กาหนดให้แสดงตารางข้อมูลต่อท้ายกราฟ
– Show legend keys กาหนดให้แสดงสี ของ legend ที่ชื่อในตารางข้อมูล
•
63
• คลิกปุ่ ม Next > เพื่อเข้ าสูข่ นตอนที
ั้
่ 4 Chart Location
64
การสร้างกราฟด้วย Graph Wizard (ต่อ)
ขั้นตอนที่ 4 กาหนดตาแหน่งการสร้างกราฟ (Chart Location)
• ในส่ วน Place Chart
– AS new sheet
สร้างกราฟให้อยูใ่ น worksheet ใหม่ และพิมพ์ชื่อ worksheet ใหม่
ในช่อง
– AS object in
สร้างกราฟให้อยู่ใน worksheet เดียวกับตารางข้อมูล โดยเราอาจ
สร้างกราฟใน worksheet ที่ตอ้ งการได้ โดยเลือกจากรายการ
65
การสร้างกราฟด้วย Graph Wizard (ต่อ)
•
•
ผูใ้ ช้สามารถ คลิกปุ่ ม <Back เพื่อย้อนกลับไปแก้ไขในขั้นตอนที่ผา่ นมาแล้วได้
คลิกปุ่ ม Finish เพื่อให้ Excel สร้างกราฟที่ตอ้ งการ
66
การสร้างกราฟด้วย Graph Wizard (ต่อ)
•
คลิกปุ่ ม Finish เพื่อให้ Excel สร้างกราฟที่ตอ้ งการ กราฟที่สร้างได้ดงั รู ป
67
การแก้ ไขกราฟ เมื่อสร้ างเสร็จแล้ ว
• เมื่อสร้างกราฟได้แล้ว หากต้องการแก้ไข ปรับแต่งกราฟ ย่อ/ขยาย ขนาดของกราฟได้
เหมือนกับการย่อ/ ขยายขนาดของรู ปภาพหรื อ วัตถุ (object) ได้ ดังนี้
1. คลิกที่พ้นื ที่ของกราฟที่ตอ้ งการแก้ไข จะเห็นว่ามีกรอบและสี่ เหลี่ยมเล็กๆ ล้อมรอบกราฟ
2. คลิกปุ่ มขวาของเมาส์ ที่พ้นื ที่ของกราฟ เพื่อเลือกแก้ไข ดังรู ป จะมีตวั เลือกดังนี้
– Format Chart แต่งสี พ้นื ใส่ กรอบ ใส่ รูปภาพพื้นหลังให้กราฟได้
– Chart type (ขั้นตอนที่ 1) ปรับเปลี่ยนประเภทของกราฟ
– Source Data (ขั้นตอนที่ 2) ปรับเปลี่ยนแหล่งข้อมูล
– Chart Option (ขั้นตอนที่ 3) ปรับเปลี่ยนรายละเอียดคาอธิ บายกราฟต่างๆ
– Location (ขั้นตอนที่ 4) ปรับเปลี่ยนบริ เวณที่วางกราฟ
68
รูป แสดงการคลิกขวาที่กราฟเลือกแก้ ไขในขันตอนที
้
่ต้องการ
69
การตกแต่งแท่งแผนภูมิ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
คลิกที่แท่งแผนภูมิ
คลิกขวาเลือก Format Data Point หรื อ Format Data Series ( )
หรื อ ดับเบิลคลิกที่แท่งแผนภูมิ
คลิกที่เมนูยอ่ ย Patterns -> คลิกปุ่ ม Fill Effects หรื อ
คลิกที่เมนูยอ่ ย Picture -> Select Picture
เลือกรู ปภาพ แล้วคลิกปุ่ ม Insert
ในส่ วน Format ระบุรูปแบบการการแสดงรู ป
 Stretch แสดงรู ปเพียงรู ปเดียวยือเท่าขนาดแท่ง
 Stack แสดงรู ปหลายรู ปซ้อนกัน
 Stack and scale to แสดงหลายรู ปซ้อนกันกี่รูปขึ้นกับตัวเลขที่กาหนดใน Units / Picture
คลิก OK -> คลิก OK
70
การตกแต่งแท่งแผนภูมิ
71
72