การประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา ดร.สมชาย สั งข์ สี หลักการทาประกันคุณภาพภายใน ๑.ดาเนินการอย่ างเป็ นระบบ มีมาตรฐานเป็ น เป้าหมายในการดาเนินการ เน้ นการป้องกันมากกว่ า การแก้ไข ๒.การมีส่วนร่ วมจากบุคลากรภายในสถานศึกษา ชุ มชน หน่ วยงานต้ นสั งกัดร่ วมกันดาเนินการ ๓.ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา เป็

Download Report

Transcript การประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา ดร.สมชาย สั งข์ สี หลักการทาประกันคุณภาพภายใน ๑.ดาเนินการอย่ างเป็ นระบบ มีมาตรฐานเป็ น เป้าหมายในการดาเนินการ เน้ นการป้องกันมากกว่ า การแก้ไข ๒.การมีส่วนร่ วมจากบุคลากรภายในสถานศึกษา ชุ มชน หน่ วยงานต้ นสั งกัดร่ วมกันดาเนินการ ๓.ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา เป็

การประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา
ดร.สมชาย สั งข์ สี
หลักการทาประกันคุณภาพภายใน
๑.ดาเนินการอย่ างเป็ นระบบ มีมาตรฐานเป็ น
เป้าหมายในการดาเนินการ เน้ นการป้องกันมากกว่ า
การแก้ไข
๒.การมีส่วนร่ วมจากบุคลากรภายในสถานศึกษา
ชุ มชน หน่ วยงานต้ นสั งกัดร่ วมกันดาเนินการ
๓.ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษา เป็ นส่ วนหนึ่งของการบริหารการศึกษา
ซึ่งเป็ นกระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่ าง
ต่ อเนื่อง
ทาไมต้ องทา
เป็ นหน้ าที่ของสถานศึกษา ตาม พระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ในหมวดที่ 6
เป็ นกลยุทธ์ ของหน่ วยงานต้ นสังกัด สพฐ.
เน้ นการประกันคุณภาพภายใน
การแสดงความรั บผิดชอบที่ตรวจสอบได้
ทาเพือ่ อะไร
1.สร้ างความมั่นใจให้ กบั ผู้ปกครอง ชุมชน
และผู้ทเี่ กีย่ วข้ อง ว่ าผู้เรียนได้ รับการศึกษา
อย่ างทั่วถึงเท่ าเทียมและมีคุณภาพได้
มาตรฐานที่กาหนดไว้
ทาเพือ่ อะไร
2.เพือ่ ให้ สถานศึกษาดาเนินการอย่ างมีแบบแผน
เป็ นระบบ ในการพัฒนา ติดตาม ตรวจสอบ และ
ประเมิน คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตาม
มาตรฐานการศึกษา ที่กาหนดจาก
กระทรวงศึกษาธิการ (สพฐ.)
ทาอย่ างไร
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา มี 3 ขั้นตอน ดังนี้
1.ระบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (Quality Control)
โดยการการ กาหนดมาตรฐาน และการ พัฒนาสู่
มาตรฐาน
2. ระบบการตรวจสอบ ทบทวน และปรับปรุง คุณภาพ
(Quality Audit and Intervention)
3. ระบบการประเมินและรับรองคุณภาพ(Quality Assessment
and Accreditation)
การประกันคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
การทบทวน
(Quality Control)
ตรวจสอบ ทบทวน และปรับปรุงคุณภาพ
การกาหนดมาตรฐาน
(Quality Audit and Intervention)
และการพัฒนาสู่ มาตรฐาน
การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment)ภายใน-ภายนอก
และรับรองคุณภาพ (Quality Accreditation)
กระบวนการประกันคุณภาพภายใน
1.การกาหนดมาตรฐานของสถานศึกษา
2.การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ
3.การทาแผนพัฒนาสถานศึกษาทีม่ ุ่งเน้ นคุณภาพการศึกษา(SIP)
4.การดาเนินงานตามแผนพัฒนาสถานศึกษา
5.การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา
6.การประเมินคุณภาพการศึกษา
7.การรายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี ( SAR)
8.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่ างต่ อเนื่อง
๑.การกาหนดมาตรฐานของสถานศึกษา
1. ไม่ มีการ
ประกาศใช้
มาตรฐาน
การศึกษาระดับ
สถานศึกษา
2. มีประกาศแต่
ขาดหลักฐาน
3.มีการประกาศใช้ 4.มีการประกาศใช้
มาตรฐาน
มาตรฐาน
การศึกษาระดับ
การศึกษาระดับ
สถานศึกษา หรือ สถานศึกษา และ
เป้าหมายการ
เป้าหมายการ
พัฒนาคุณภาพ
พัฒนาคุณภาพ
การศึกษาอย่ าง
การศึกษาให้
ใดอย่ างหนึ่ง
ผู้เกี่ยวข้ องทราบ
มาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
มาตรฐานของหน่ วยงานต้ นสั งกัด (สพฐ. 18 มาตรฐาน)
มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย จาแนกเป็ น ๔ ด้ าน คือ
๑. ด้ านคุณภาพเด็ก ๘ มาตรฐาน ๓๒ ตัวบ่ งชี้
๒.ด้ านการจัดการเรียนรู้ ๒ มาตรฐาน ๑๔ ตัวบ่ งชี้
๓.ด้ านการบริหารและการจัดการศึกษา ๖ มาตรฐาน ๓๒ ตัวบ่ งชี้
๔.ด้ านการพัฒนาชุมชนแห่ งการเรียนรู้ ๒ มาตรฐาน ๔ ตัวบ่ งชี้
มาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน จาแนกเป็ น ๔ ด้ าน คือ
๑.ด้ านคุณภาพผู้เรียน ๘ มาตรฐาน ๓๓ ตัวบ่ งชี้
๒.ด้ านการจัดการเรียนการสอน ๒ มาตรฐาน ๑๔ ตัวบ่ งชี้
๓.ด้ านการบริหารและการจัดการศึกษา ๖ มาตรฐาน ๓๓ ตัวบ่ งชี้
๔.ด้ านการพัฒนาชุมชนแห่ งการเรียนรู้ ๒ มาตรฐาน ๔ ตัวบ่ งชี้
มาตรฐานด้ านคุณภาพผู้เรียน
ปฐมวัย-----------------------ขั้นพืน้ ฐาน
มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีคุณธรรม
จริยธรรม และค่ านิยมทีพ่ งึ ประสงค์
มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีจิตสานึกในการ
อนุรักษ์ และพัฒนาสิ่ งแวดล้ อม
มาตรฐานที่ ๓ เด็กสามารถทางาน
จนสาเร็จ ทางานร่ วมกับผู้อนื่ ได้
และมีความรู้ สึกทีด่ ตี ่ ออาชีพสุ จริต
มาตรฐานที่ ๔ เด็กสามารถคิดรวบ
ยอด คิดแก้ปัญหา และคิดริเริ่ม
สร้ างสรรค์
มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม
จริยธรรม และค่ านิยมทีพ่ งึ ประสงค์
มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีจิตสานึก
ในการอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่ งแวดล้ อม
มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีทกั ษะในการ
ทางาน รักการทางาน สามารถทางาน
ร่ วมกับผู้อนื่ ได้ และมีเจตคติทดี่ ตี ่ อ
อาชีพสุ จริต
มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถ
ในการคิดวิเคราะห์ คิดสั งเคราะห์ มี
วิจารณญาณ มีความคิดสร้ างสรรค์ คิด
มาตรฐานด้ านคุณภาพผู้เรียน
ปฐมวัย-----------------------ขั้นพืน้ ฐาน
มาตรฐานที่ ๕ เด็กมีความรู้ และทักษะ
เบือ้ งต้ น
มาตรฐานที่ ๖ เด็กมีความสนใจ
ใฝ่ รู้ รักการอ่ าน และพัฒนาตนเอง
มาตรฐานที่ ๗ เด็กมีสุขนิสัย สุ ขภาพ
กาย และสุ ขภาพจิตทีด่ ี
มาตรฐานที่ ๘ เด็กมีสุนทรียภาพและ
ลักษณะนิสัยด้ านศิลปะ ดนตรี
และการเคลือ่ นไหว
มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้ และ
ทักษะทีจ่ าเป็ นตามหลักสู ตร
มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทกั ษะในการ
แสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง รักการ
เรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่ างต่ อเนื่อง
มาตรฐานที่ ๗ ผู้เรียนมีสุขนิสัย
สุ ขภาพกาย และสุ ขภาพจิตทีด่ ี
มาตรฐานที่ ๘ ผู้เรียนมีสุนทรียภาพ
และลักษณะนิสัยด้ านศิลปะ ดนตรี และ
กีฬา
มาตรฐานด้ านการจัดการเรียนการสอน (ครู )
ปฐมวัย-----------------------ขั้นพืน้ ฐาน
มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม
จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้
ความสามารถตรงกับงานที่
รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ า
กับชุ มชมได้ ดี และมีครูพอเพียง
มาตรฐานที่ ๑๐ ครูมีความสามารถ
ในการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้
ได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพและเน้ นเด็ก
เป็ นสาคัญ
มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม
จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้
ความสามารถตรงกับงานที่
รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ า
กับชุ มชนได้ ดี และมีครูพอเพียง
มาตรฐานที่ ๑๐ ครู มีความสามารถ
ในการจัดการเรียนการสอนอย่ างมี
ประสิ ทธิภาพและเน้ นผู้เรียนเป็ น
สาคัญ
มาตรฐานด้ านการจัดการเรียนการสอน (ครู )
ปฐมวัย-----------------------ขั้นพืน้ ฐาน
มาตรฐานที่ ๙ ครูมคี ุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/
ความรู้ความสามารถตรงกับงานทีร่ ับผิดชอบ หมั่น
พัฒนาตนเอง เข้ ากับชุ มชมได้ ดี และมีครูพอเพียง
มาตรฐานที่ ๙ ครูมคี ุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/
ความรู้ ความสามารถตรงกับงานทีร่ ับผิดชอบ หมั่น
พัฒนาตนเอง เข้ า กับชุ มชนได้ ดี และมีครู พอเพียง
9.1 มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
9.2 มีมนุษยสั มพันธ์ ทดี่ ี กับ เด็ก/ผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุ มชน
เพือ่ นร่ วมงาน
9.3 มุ่งมั่นอุทศิ ตนในการสอน
9.4 แสวงหาความรู้ เทคนิคใหม่ ๆ รับฟังความคิดผู้อนื่
มาตรฐานด้ านการจัดการเรียนการสอน (ครู )
ปฐมวัย-----------------------ขั้นพืน้ ฐาน
มาตรฐานที่ ๙ ครูมคี ุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/
ความรู้ความสามารถตรงกับงานทีร่ ับผิดชอบ หมั่น
พัฒนาตนเอง เข้ ากับชุ มชมได้ ดี และมีครูพอเพียง
มาตรฐานที่ ๙ ครูมคี ุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/
ความรู้ ความสามารถตรงกับงานทีร่ ับผิดชอบ หมั่น
พัฒนาตนเอง เข้ า กับชุ มชนได้ ดี และมีครู พอเพียง
9.5 จบการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการศึกษาหรือเทียบเท่ า
ขึน้ ไป
9.6 สอนตรงตามวิชาเอก-โท หรือตรงตามความถนัด
9.7 มีจานวนพอเพียง (หมายรวมทั้งครูและบุคลากร
สนับสนุน)
9.8 ได้ รับการพัฒนาในวิชาทีส่ อน ตามทีค่ ุรุสภากาหนด
มาตรฐานด้ านการจัดการเรียนการสอน (ครู )
ปฐมวัย-----------------------ขั้นพืน้ ฐาน
มาตรฐานที่ ๑๐ ครู มคี วามสามารถในการจัด มาตรฐานที่ ๑๐ ครู มีความสามารถในการ
ประสบการณ์ การเรียนรู้ ได้ อย่ างมี
จัดการเรียนการสอนอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
ประสิ ทธิภาพและเน้ นเด็กเป็ นสาคัญ
และเน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
๑๐.๑ มีความรู้ ความเข้ าใจ เป้ าหมายการจัดการศึกษาและหลักสู ตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
๑๐.๒ มีการวิเคราะห์ ศักยภาพของผู้เรียนและเข้ าใจผู้เรียนเป็ นรายบุคคล
๑๐.๓ มีความสามารถในการจัดการเรียนการอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
๑๐.๔ มีความสามารถใช้ เทคโนโลยีในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและผู้เรียน
๑๐.๕ มีการประเมินผลการเรียนการอนทีส่ อดคล้ องกับสภาพการเรียนรู้ทจี่ ัดให้ ผ้ ูเรียนและอิงพัฒนาการ
ของผู้เรียน
๑๐.๖ มีการนาผลการประเมินพัฒนาการมาปรับเปลีย่ นการเรียนการสอนเพือ่ พัฒนาผู้เรียนให้ เต็มตาม
ศักยภาพ
๑๐.๗ มีการวิจัยเพือ่ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ ของผุ้เรียนและนาผลไปใช้ พฒ
ั นาผู้เรียน
มาตรฐานด้ านการบริหารและการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ ๑๑ ผู้บริหารมีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะผู้นา และมี
ความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดองค์ กร โครงสร้ าง ระบบการบริหารงาน และพัฒนา
องค์ กรอย่างเป็ นระบบครบวงจร
มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการบริหารและจัดการศึกษาโดยใช้ สถานศึกษาเป็ นฐาน
มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษามีการจัดหลักสู ตร และกระบวนการเรียนรู้ ทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ น
สาคัญ
มาตรฐานที่ ๑๕ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่ งเสริมคุณภาพผู้เรียนอย่ างหลากหลาย
มาตรฐานที่ ๑๖ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้ อมและการบริการทีส่ ่ งเสริมให้ ผ้ เู รียนพัฒนา
ตามธรรมชาติ
มาตรฐานด้ านการพัฒนาชุมชนแห่ งการเรียนรู้
•
•
มาตรฐานที่ 17 สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้ แหล่ งเรียนรู้ และ
ภูมิปัญญาในท้ องถิน่
มาตรฐานที่ 18 สถานศึกษามีการร่ วมมือกันระหว่ างบ้ าน องค์ กร
ทางศาสนา
2.การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ
ระดับ 1-2
ระดับ 3
ระดับ 4
1-2 ไม่ มีโครงสร้ างการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา
2.มีโครงสร้ าง แต่ ไม่ มี
ร่ องรอยว่ าบุคลากรรับรู้
และมีส่วนร่ วม
บุคลากรบางส่ วน (ร้ อยละ
50ขึน้ ไป) รั บรู้ ว่ามี
โครงสร้ างการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา
บุคลากรทุกคนรั บรู้ว่ามี
โครงสร้ างการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา
1-2 ไม่ มีแนวทางการประกัน
คุณภาพการศึกษาและไม่ มี
การแต่ งตัง้ กรรมการ
ตรวจสอบทบทวนคุณภาพ
การศึกษา
มีแนวทางการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา
แต่ ไม่ มีการแต่ งตัง้
กรรมการตรวจสอบ
ทบทวนคุณภาพการศึกษา
มีแนวทางการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา
และมีการแต่ งตัง้ กรรมการ
ตรวจสอบทบทวนคุณภาพ
การศึกษา
2.การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ
ระดับ 1-2
ระดับ 3
1.ไม่ มีการพัฒนา มีการพัฒนาระบบ
ยกระดับระบบ
สารสนเทศทันสมัย
ข้ อมูลสารสนเทศ ทุกปี การศึกษา
2.มีแต่ ไม่ เป็ นระบบ
ระดับ4
มีการพัฒนา
ยกระดับระบบ
สารสนเทศให้
ทันสมัย ทันต่ อการ
เปลี่ยนแปลงของ
นโยบายของ
หน่ วยงานต้ นสังกัด
3.การทาแผนพัฒนาสถานศึกษา
ทีม่ ่ ุงเน้ นคุณภาพการศึกษา(SIP)
1-2 ทุกโครงการ/
กิจกรรมใน
แผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา ไม่ มี
ขัน้ ตอนนาไปสู่การ
ปฏิบัตทิ ่ ชี ัดเจน
3 โครงการ/
กิจกรรมใน
แผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษา
น้ อยกว่ าร้ อยละ 50
มีขัน้ ตอนนาไปสู่
การปฏิบัตอิ ย่ าง
ชัดเจน
4. ทุกโครงการ/
กิจกรรม ใน
แผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษา
มีขัน้ ตอนนาไปสู่
การปฏิบัตอิ ย่ าง
ชัดเจน
4.การดาเนินงานตาม
แผนพัฒนาสถานศึกษา
1 ไม่ มีร่องรอยการ
พิจารณา
ยอมรับให้ ข้อคิดเห็น/
ข้ อเสนอแนะใน
แผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา
2.ไม่ มีร่องรอยการ
มอบหมายการ
ปฏิบัตงิ านใน
แผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษา
3. มีการ
มอบหมาย
การปฏิบัตงิ าน
ในแผนพัฒนา
คุณภาพ
การศึกษาอย่ าง
ไม่ เป็ นทางการ
4. มีการ
มอบหมายการ
ปฏิบัตงิ านใน
แผนพัฒนา
คุณภาพ
การศึกษาอย่ าง
เป็ นทางการ
5.การตรวจสอบและ
ทบทวนคุณภาพการศึกษา
1-2 ไม่ มีการนาเกณฑ์
ความก้ าวหน้ าของเรื่ อง
หรื อตัวบ่ งชี ้ ที่ต้องการ
ตรวจสอบทบทวน
คุณภาพฯ และ แจ้ ง
เกณฑ์ ฯให้ บุคลากร
ทราบ
3.บุคลากรบางส่ วน
(ร้ อยละ 50ขึน้ ไป) รั บรู้
และยอมรั บ เกณฑ์
ความก้ าวหน้ าของ
เรื่ องหรื อตัวบ่ งชี ้ ที่
ต้ องการตรวจสอบ
ทบทวนคุณภาพฯ
4.บุคลากรทุกคนรั บรู้
และยอมรั บ เกณฑ์
ความก้ าวหน้ าของ
เรื่ องหรื อตัวบ่ งชี ้ ที่
ต้ องการตรวจสอบ
ทบทวนคุณภาพฯ
6.การประเมินคุณภาพการศึกษา
1 ไม่ มีแผนการ
3.มีแผนการประเมิน
คุณภาพไม่ ครบ 3
ประเมินคุณภาพ
ด้ าน
การศึกษา
2. มีแผนการเพียง บาง
ด้ านไม่ สมบูรณ์
4. มีแผนการ
ประเมินคุณภาพ
การศึกษาทั้ง 3 ด้ าน
คือผลสั มฤทธิ์
คุณลักษณะสาคัญ
และคุณภาพตาม
มาตรฐาน
7.การรายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี ( SAR)
1-2 ไม่ มีร่องรอยว่ าได้
เผยแพร่ ต่อสาธารณชน
และผู้เกี่ยวข้ อง หรื อ
รายงานต่ อสานักงานเขต
พืน้ ที่การศึกษาไม่ ตรง
ตามกาหนดเวลา
3.เผยแพร่ เฉพาะ
ผู้เกี่ยวข้ อง และ
รายงานต่ อสพท.
กาหนดเวลา
4.รายงานคุณภาพ
ประจาปี เผยแพร่ ต่อ
สาธารณชนและ
ผู้เกี่ยวข้ อง และ
รายงานต่ อต้ นสังกัด
ตามกาหนดเวลา
(ภายในเดือน
พฤษภาคมของทุกปี )
8.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่ างต่ อเนื่อง
1.ไม่ มีการ
วิเคราะห์ ผล
รายงานคุณภาพ
ประจาปี
2.มีแต่ ขาด
หลักฐาน
3.มีการวิเคราะห์
ผลรายงาน
คุณภาพประจาปี
บาง กิจกรรมที่
เป็ นจุดอ่ อนที่
ส่ งผลต่ อคุณภาพ
การศึกษา
4.มีการวิเคราะห์
ผลรายงาน
คุณภาพ
ประจาปี ทุก
กิจกรรมที่ส่งผล
ต่ อคุณภาพ
การศึกษาอย่ าง
ต่ อเนื่อง
กระบวนการพัฒนาของสถานศึกษา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาทีม่ มี าตรฐานเป็ นเป้าหมาย
(School Improvement Plan : SIP)
ASSESSMENT
การรายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี
( SELF ASSESSMENT REPORT : SAR)
1.มาตรฐานการศึกษาของชาติ
1. มาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน/
มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย
1.มาตรฐานทีเ่ ขตพืน้ ทีเ่ พิม่ เติม
1.สถานศึกษา
พ.ร.บ.
ปัญหา/ความต้ องการ
ความร่ วมมือของชุมชน
1.มาตรฐานการศึกษา /
เป้ าหมายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
นโยบายต้ นสังกัด
แผนการศึกษาของชาติ
วิสัยทัศน์ ,พันธกิจ
2.สารสนเทศ
ศักยภาพสถานศึกษา
(ครู ผู้บริหาร ผู้เรียน)
3.แผนพัฒนาการศึกษา
(School Improvement Plan)
4.การพัฒนาหลักสู ตร
สถานศึกษา
4.จัดการเรียน
การสอน
4.การจัดกิจกรรมส่ งเสริม 4.การพัฒนาบุคลากร
(ภาวะผู้นา/มืออาชีพ)
คุณภาพผู้เรียน
4.การพัฒนาองค์ กร
ให้ เป็ นแหล่ งเรียนรู้
4.พัฒนาสภาพแวดล้อม
และการให้ บริการ
สพท.
5.การตรวจสอบและทบทวนภายใน อย่ างน้ อย 1 ครั้ง/ 3ปี
ร.ร.(SAR)
ผู้ปกครอง
ชุมชน
6.การประเมินคุณภาพภายใน/นอก
7.รายงานผล 8.พัฒนาคุณภาพอย่ างต่ อเนื่อง.
สมศ.
องค์ กร
ทีเ่ กีย่ วข้ อง
สวัสดี