การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม สมศ. กำหนดแนวคิดและทิศทำงไว้ 6 ประกำร ประเมินอิงเกณฑ์ ตำมจุดเน้ นของสถำนศึกษำ ประเมินคุณภำพจำกผลกำรจัดกำรศึกษำเป็ นหลัก ตำม พ.ร.บ. กำรศึกษำ ม.49 โดยให้ นำ้ หนักร้ อยละ 75 ใช้ ข้อมูลย้ อนหลัง 3 ปี ประเมินเชิงกระบวนกำรให้ นำ้

Download Report

Transcript การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม สมศ. กำหนดแนวคิดและทิศทำงไว้ 6 ประกำร ประเมินอิงเกณฑ์ ตำมจุดเน้ นของสถำนศึกษำ ประเมินคุณภำพจำกผลกำรจัดกำรศึกษำเป็ นหลัก ตำม พ.ร.บ. กำรศึกษำ ม.49 โดยให้ นำ้ หนักร้ อยละ 75 ใช้ ข้อมูลย้ อนหลัง 3 ปี ประเมินเชิงกระบวนกำรให้ นำ้

การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
สมศ. กำหนดแนวคิดและทิศทำงไว้ 6 ประกำร
1
2
3
ประเมินอิงเกณฑ์ ตำมจุดเน้ นของสถำนศึกษำ
ประเมินคุณภำพจำกผลกำรจัดกำรศึกษำเป็ นหลัก
ตำม พ.ร.บ. กำรศึกษำ ม.49 โดยให้ นำ้ หนักร้ อยละ 75
ใช้ ข้อมูลย้ อนหลัง 3 ปี
ประเมินเชิงกระบวนกำรให้ นำ้ หนักร้ อยละ 25
ให้ ควำมสำคัญกับ
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม








คณะกรรมกำรสถำนศึกษำ
ผู้บริหำรสถำนศึกษำ
ครู
เครื่องมือ/อุปกรณ์
ควำมพร้ อมของผู้เรี ยน
กำรจัดกำรเรี ยนกำรสอนที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสำคัญ
กำรบริหำรจัดกำรโดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐำน
กำรประกันคุณภำพภำยใน
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
4
5
ประเมินโดยวิธีกำรและข้ อมูลเชิงปริมำณและ
เชิงคุณภำพ และพัฒนำกำร โดยพิชญพิจำรณ์
(Peer Review)
ประเมินโดยกำรยืนยันรำยงำนกำรประเมินตนเองที่
ถูกต้ องเชื่อถือได้ เพื่อกระตุ้นให้ กำรประกันคุณภำพ
ภำยในมีควำมเข้ มแข็งยิ่งขึน้
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
6
ลดจำนวนตัวบ่ งชีแ้ ละจำนวนมำตรฐำนสำหรั บกำร
ประเมินคุณภำพภำยนอก โดยถ่ ำยโอนตัวบ่ งชีแ้ ละ
มำตรฐำนเกี่ยวกับปั จจัยนำเข้ ำ และกระบวนกำรให้ อยู่
ในระบบกำรประกันคุณภำพภำยใน
พิจำรณำผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบมำกกว่ ำกระบวนกำร
และคำนึงถึงควำมแตกต่ ำงของแต่ ละสถำนศึกษำ
กฎกระทรวงฯ (2553)
กาหนดให้ สมศ. ทาการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาแต่ ละ
แห่ งตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ และครอบคลุมหลักเกณฑ์ ดังนี้
มาตรฐานที่ 1
ผลการจัดการศึกษาในแต่ ระดับและประเภทการศึกษา
มาตรฐานที่ 2
การบริหารจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ 3
การจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
มาตรฐานที่ 4
การประกันคุณภาพภายใน
กลุ่มตัวบ่งชี้
1. กลุ่มตัวบ่งชี้พืน้ ฐาน
 ตัวบ่ งชี้ที่ประเมินภายใต้ ภารกิจของสถานศึกษา
 เกณฑ์ ที่สถานศึกษาทุกแห่ งต้ องมีและปฏิบัติได้
 สามารถชี้ผลลัพธ์ และผลกระทบได้ ดี
 เชื่อมโยงกับการประกันคุณภาพภายใน
กลุ่มตัวบ่งชี้
2. กลุ่มตัวบ่งชี้อตั ลักษณ์
 เป็ นการประเมินผลผลิตตามปรัชญา ปณิธาน/
วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ ของการจัดตั้ง
สถานศึกษา
 ความสาเร็จตามจุดเน้ นและจุดเด่ นที่ส่งผลสะท้ อน
เป็ นเอกลักษณ์ ของแต่ ละสถานศึกษา
 ผ่ านความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา
และต้ นสั งกัด
กลุ่มตัวบ่งชี้
3. กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม
 เป็ นการประเมินผลการดาเนินงานของสถานศึกษา
โดยสถานศึกษาเป็ นผู้กาหนดแนวทางการพัฒนา
 เพือ่ ร่ วมชี้แนะ ป้องกัน และแก้ ไขปัญหาสั งคม
ตามนโยบายรัฐ
 สามารถปรับเปลีย่ นตามเวลาและสภาพสั งคม
 เพือ่ เป็ นผู้ชี้นาสั งคมและแก้ ไขปัญหาสั งคม
ของสถานศึกษา
ตารางแสดงความสั มพันธ์ ระหว่ าง
กลุ่มตัวบ่ งชี้ ตัวบ่ งชี้ และมาตรฐานตามกฎกระทรวง
กลุ่มตัวบ่งชี้
มาตรฐานตามกฎ
กระทรวงฯ
ตัวบ่งชี้
1. ผูเ้ รียนมีสขุ ภาพกายและ มาตรฐานที่ 1
สุขภาพจิตที่ดี
ผลการจัด
2. ผูเ้ รียนมีคณ
ุ ธรรมและ การศึกษา
จริยธรรมที่พึงประสงค์
กลุ่มตัวบ่งชี้พืน้ ฐาน
3. ผูเ้ รียนมีความใฝ่ รู้และ
เรียนรู้อย่างต่อเนื่ อง
4. ผูเ้ รียนคิดเป็ น ทาเป็ น
5. ผลสัมฤทธ์ ิ ทางการเรียน
ของผูเ้ รียน
(นักเรียน)
กลุ่มตัวบ่งชี้
กลุ่มตัวบ่งชี้พืน้ ฐาน
มาตรฐานตามกฎ
ตัวบ่งชี้
กระทรวงฯ
6. ประสิทธิผลของการ
มาตรฐานที่ 3
จัดการเรียนการสอนที่
การจัดการเรียน
เน้ นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ
การสอนที่เน้ น
(ครู) ผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ
7. ประสิทธิภาพของการ
บริหารจัดการและการ
พัฒนาสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 2
การบริหารจัด
การศึกษา
(ผูบ้ ริหาร)
8. พัฒนาการของการประกัน มาตรฐานที่ 4
คุณภาพภายในโดย
การประกันคุณภาพ
สถานศึกษาและต้นสังกัด ภายใน
(การประกัน)
กลุ่มตัวบ่งชี้
กลุ่มตัวบ่งชี้
อัตลักษณ์
ตัวบ่งชี้
มาตรฐานตามกฎ
กระทรวงฯ
9. ผลการพัฒนาให้บรรลุ มาตรฐานที่ 1
ตามปรัชญา ปณิธาน
ผลการจัด
พันธกิจ และ
การศึกษา
วัตถุประสงค์ของการ
จัดตัง้ สถานศึกษา
10.ผลการพัฒนาตาม
จุดเน้ น จุดเด่นนี้ ส่งผล
สะท้อน เป็ นเอกลักษณ์
ของสถานศึกษา
กลุ่มตัวบ่งชี้
กลุ่มตัวบ่งชี้
มาตรการส่งเสริม
ตัวบ่งชี้
11.ผลการดาเนินงาน
โครงการพิเศษเพื่อ
ส่งเสริมบทบาทของ
สถานศึกษา
12.ผลการส่งเสริมพัฒนา
สถานศึกษาเพื่อ
ยกระดับมาตรฐาน
รักษามาตรฐาน และ
พัฒนาสู่ความเป็ นเลิศที่
สอดคล้องกับแนว
ทางการปฏิรปู การศึกษา
มาตรฐานตามกฎ
กระทรวงฯ
มาตรฐานที่ 1
ผลการจัด
การศึกษา
มาตรฐานที่ 2
การบริหารจัด
การศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายใน
กับประเมินคุณภาพภายนอก
การประกันคุณภาพภายใน
การปฏิบัติงาน
ของสถานศึกษา
รายงานประจาปี
การประเมิน
ตนเองของ
สถานศึกษา
ติดตามตรวจสอบ
โดยต้ นสั งกัดทุก 3 ปี
ข้ อมูลป้ อนกลับ
ข้ อมูลป้ อนกลับ
การติดตามผล
รายงานผลการประเมิน
การตรวจเยี่ยม
การประกันคุณภาพภายนอก
การรายงานสภาพทั่วไปของสถานศึกษาที่ต้องมี
1. ข้อมูลทัวไปของสถานศึ
่
กษา
(ที่ตงั ้ , สังกัด ประวัติความเป็ นมา, วัตถุประสงค์การจัดตัง้ )
2. แนวคิด / หลักการของสถานศึกษา
 ปรัชญา
 ปณิธาน
 พันธกิจ
 อัตลักษณ์
การรายงานสภาพทั่วไปของสถานศึกษาที่ต้องมี
3. แผนกลยุทธ์ / แผนพัฒนาคุณภาพ / แผนการดาเนินงาน /
แผนปฏิบตั ิ งานประจาปี
4. ข้อมูลผูเ้ รียน / ผูร้ บั บริการ
5. การจัดการศึกษา
6. ทรัพยากร / งบประมาณ
7. ชุมชน / ภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรูใ้ นชุมชน
8. เกียรติยศ ชื่อเสียง ผลงาน / โครงการดีเด่นของ
สถานศึกษา
ระดับคุณภาพของสถานศึกษา
ช่วงคะแนนเต็ม (100 คะแนน)
ระดับคุณภาพ
0.00 – 49.99
ต้ องปรับปรุ งเร่ งด่ วน
50.00 – 59.99
ต้ องปรับปรุง
60.00 – 74.99
พอใช้
75.00 – 89.99
ดี
90.00 – 10.00
ดีมาก
กลุ่มตัวบ่ งชี้
จานวนตังบ่ งชี้ คะแนนเต็ม
ตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน
8
80
ตัวบ่ งชี้อตั ลักษณ์
2
10
ตัวบ่ งชี้ทเี่ ป็ นมาตรการส่ งเสริม
2
10
รวม
12
100
เกณฑ์ การรับรองมาตรฐานคุณภาพของสถานศึกษา
1. ผลรวมคะแนนการประเมินคุณภาพภายนอก
80.00 คะแนนขึน้ ไป
2. มีตวั บ่งชี้อย่างน้ อย 10 ตัวบ่งชี้มีระดับคุณภาพแต่
ละตัว ระดับ ดี ขึน้ ไป
3. ไม่มีตวั บ่งชี้ใด อยู่ในคุณภาพ ต้องปรับปรุงหรือ
ต้องปรับปรุงเร่งด่วน
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้เรียน)
ตัวบ่งชี้ที่ 1 ผูเ้ รียนมีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีและมีสนุ ทรียภาพ
1.1 ผูเ้ รียนมีน้าหนักส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
รวมทัง้ รู้จกั ดูแลตนเองให้มีความปลอดภัย
(เชิงปริมาณ 4 คะแนน , พัฒนาการ 1 คะแนน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
1. บันทึกสุขภาพนักเรียน (นับย้อนหลัง 2 ปี บวกปี การศึกษาล่าสุด)
- ส่วนสูง
- น้าหนัก
- สมรรถภาพทางร่างกาย
* ใช้เกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย / กรมพลศึกษา / สสส.
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้เรียน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
2. สถิติการเจ็บป่ วย การใช้ห้องพยาบาล
3. ผลการตรวจสอบสารเสพติดจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้
4. สถิติจากฝ่ ายปกครองเกี่ยวกับปัญหาทางเพศ ยาเสพติด
สิ่งมอมเมา เช่น สุรา บุหรี่ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เกม
เป็ นต้น
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้เรียน)
1.2 ผูเ้ รียนมีสนุ ทรียภาพ
(เชิงปริมาณ 2 คะแนน , เชิงคุณภาพ 3 คะแนน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
1. บันทึกข้อมูลจานวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมด้าน
- ดนตรี / นาฏศิลป์
- วรรณศิลป์
- นันทนาการ
- ศิลปะ
2. รวบรวมผลงานของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมใน / นอก
หลักสูตร
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้เรียน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
3. รวบรวมเอกสาร / ใบประกาศเกียรติคณ
ุ / เกียรติบตั ร / รางวัล
4. แผนปฏิบตั ิ การเกี่ยวกับกิจกรรมส่งเสริมสุนทรียภาพ
5. ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเ้ กี่ยวข้องระดับดีขึน้ ไป
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้เรียน)
ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผูเ้ รียนมีคณ
ุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
(10 คะแนน)
2.1 ผูเ้ รียนเป็ นลูกที่ดีของพ่อแม่ /ผูป้ กครอง (เชิงปริมาณ 4 คะแนน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
- จัดทาแบบบันทึกคุณลักษณะการเป็ นลูกที่ดีของพ่อแม่/ ผูป้ กครอง
เกี่ยวกับ
• บารุง ดูแล กตัญญู สร้างความสุข ความสบายใจ ให้พ่อแม่/
ผูป้ กครอง
• ช่วยธุรกิจการงาน เช่น ทาความสะอาดบ้าน ซื้อของ ฯลฯ
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้เรียน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
• สืบทอด/รักษาวงศ์ตระกูล เช่น ไม่สร้างความเดือดร้อนให้พ่อ
แม่/ผูป้ กครอง
• ประพฤติตนเหมาะสม เช่น ตัง้ ใจเรียน ไหว้พ่อแม่/ผูป้ กครอง
ก่อนไปและกลับจากโรงเรียน
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้เรียน)
2.2 ผูเ้ รียนเป็ นนักเรียนที่ดีของโรงเรียน
(เชิงปริมาณ 2 คะแนน , เชิงคุณภาพ 2 คะแนน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
1. บันทึกข้อมูลสถิติการขาดเรียน จานวนการทะเลาะวิวาท
จานวนการผิดระเบียบของสถานศึกษา สถิติของหายใน
สถานศึกษา ปัญหาการปกครอง
2. สมุดบันทึกความดีของนักเรียน (โดยครู) 9 ข้อตามเกณฑ์ที่
สมศ. กาหนด
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้เรียน)
2.3 ผูเ้ รียนมีการบาเพ็ญประโยชน์ ต่อสังคม (เชิงปริมาณ 2 คะแนน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
1. ควรกาหนดกิจกรรมด้านนี้ ในแผนปฏิบตั ิ การประจาปี และ
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
2. ครูควรสอดแทรกกิจกรรมในแผนการจัดการเรียนรู้ตามบริบท
ของแผนฯ
3. หลักฐานการมอบหมายให้นักเรียนบาเพ็ญประโยชน์ ทงั ้ ในและ
นอกโรงเรียน
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้เรียน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
4. ภาพถ่ายกิจกรรมในภาคผนวกของการประเมินโครงการ
5. กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบ้ าเพ็ญประโยชน์ ชุมนุม
ชมรม ฯลฯ ควรรวบรวมหลักฐาน เช่น โครงการ ภาพถ่าย
กิจกรรม
6. สมุดบันทึกความดีของนักเรียน
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้เรียน)
ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผูเ้ รียนมีความใฝ่ ร้แู ละเรียนรู้อย่างต่อเนื่ อง (10 คะแนน)
3.1 ผูเ้ รียนค้นคว้าหาความรู้จากการอ่านและใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
(เชิงปริมาณ 5 คะแนน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
1. ออกแบบบันทึกการเรียนรู้ให้ผเ้ ู รียนบันทึกผลจากการอ่าน
การเขียน การฟัง การดู และการค้นคว้าประกอบการเรียนรู้
ทัง้ ใน/นอกห้องเรียน
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้เรียน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
2. การจัดกิจกรรมการสอนในแผนการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระฯ
ควรระบุให้ผเ้ ู รียนไปศึกษาค้าคว้าและนาผลมาบันทึกในผลการ
เรียนรู้
3. ห้องสมุดจัดทาแบบบันทึกการยืมหนังสือ สรุปเป็ นรายสัปดาห์/
รายเดือน
4. ออกแบบการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสืบค้นข้อมูล แล้วให้
ผูเ้ รียนบันทึกการใช้เป็ นรายวัน/รายสัปดาห์
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้เรียน)
3.2 ผูเ้ รียนเรียนรู้ผา่ นประสบการณ์ ตรงร่วมกับผูอ้ ื่นทัง้ ในและนอก
สถานศึกษา
(เชิงปริมาณ 5 คะแนน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
1. ครูควรจัดกิจกรรมให้ผเ้ ู รียนแบ่งกลุ่มนาปัญหาที่พบมาปรึกษา
ร่วมกัน หรืออาจพาไปศึกษานอกสถานที่ แต่ต้องระบุใน
แผนการจัดการเรียนรู้ให้ครบทุกกลุ่มสาระฯ โดยมีใบกิจกรรม
ประกอบแผนฯ ให้ชดั เจน
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้เรียน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
2. สถานศึกษาควรกาหนดแผนการจัดกิจกรรมในช่วงเทศบาล
ประเพณี วนั สาคัญต่างๆ รวมทัง้ การจัดทัศนศึกษา
3. ในโครงการที่สถานศึกษาจัด ควรดาเนินการประเมินผลตาม
แบบ CIPP Model แล้วสถานศึกษาเก็บรวบรวมโครงการ รวมทัง้
ภาพกิจกรรม
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้เรียน)
ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผูเ้ รียนคิดเป็ นทาเป็ น (10 คะแนน)
4.1 ผูเ้ รียนมีความสามารถด้านการคิด (เชิงปริมาณ 5 คะแนน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
1. ฝ่ ายวิชาการควรออกข้อสอบวัดความสามารถในการคิด
วิเคราะห์ โดยกาหนดสถานการณ์ ทวๆ
ั ่ ไป แล้วให้ผเ้ ู รียนคิด
แก้ปัญหา โดยไม่เน้ นความรู้จากเนื้ อหาที่เรียน แต่อาจใช้ความรู้
ที่เรียนเป็ นพืน้ ฐานในการคิด
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้เรียน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
2. แผนการจัดการเรียนรู้ของครูทกุ กลุ่มสาระ ควรระบุจดุ ประสงค์
ทัวไปหรื
่
อจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ให้ผเ้ ู รียนฝึ กการคิด โดย
ปรากฏในกิจกรรมที่ครูกาหนดให้ผเ้ ู รียนปฏิบตั ิ
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้เรียน)
4.2 ผูเ้ รียนมีความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสังคม
(เชิงปริมาณ 5 คะแนน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
1. ครูควรเขียนกิจกรรมในแผนการจัดการเรียนรู้ในแต่ละกลุม่
สาระฯ ให้ผเ้ ู รียนมีโอกาสทางานร่วมกันกับกลุ่ม
2. ในกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ควรตัง้ วัตถุประสงค์ให้ผเ้ ู รียนมีทกั ษะ
ทางสังคมควบคู่ไปด้วย พร้อมๆ กับมีแบบประเมินพฤติกรรมที่
ปฏิบตั ิ ต่อพ่อแม่ ผูป้ กครอง ครู เพื่อน และบุคคลทีเ่ กี่ยวข้อง
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้เรียน)
ตัวบ่งชี้ที่ 5 ผลสัมฤทธ์ ิ ทางการเรียนของผูเ้ รียน (20 คะแนน)
5.1 – 5.8 (ตัวบ่งชี้ละ 2.5 คะแนน เชิงปริมาณตัวบ่งชี้ละ 2 คะแนน
พัฒนาการตัวบ่งชี้ละ 0.5 คะแนน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
1. ครูควรนาผลการสอบปลายภาคแต่ละภาคเทียบเคียงกับคะแนน
O-Net ของสานักทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.)
2. ควรนาผลการประชุมครูในแต่ละกลุ่มสาระฯ เกี่ยวกับคะแนน
O-Net มาวิเคราะห์สภาพปัญหาและจดบันทึกรายงานการ
ประชุม
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ครู )
ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้ นผูเ้ รียน
เป็ นสาคัญ (10 คะแนน)
6.1 ประสิทธิผลการดาเนินการของสถานศึกษา
(เชิงคุณภาพ 5 คะแนน)
- สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูทกุ คนได้รบั การพัฒนาในวิชาที่สอน
หรือวิชาครูตามที่ครุ สุ ภากาหนด
- สถานศึกษามีการประเมิณการจัดการเรียนรู้ของครูทกุ คนอย่าง
สมา่ เสมออย่างน้ อย ภาคการศึกษาละ 1 ครัง้
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ครู )
ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้ นผูเ้ รียน
เป็ นสาคัญ (10 คะแนน)
- สถานศึกษามีการประเมินการจัดการเรียรรู้ของครูทกุ คนอย่าง
สมา่ เสมออย่างน้ อย ภาคการศึกษาละ 1 ครัง้
- สถานศึกษามีการประเมิณแบบวัด แบบทดสอบ ของครูทกุ คน
ทุกภาคการศึกษา
- สถานศึกษามีการนาผลการประเมิณจากข้อข้างต้นไปพัฒนาครู
แต่ละคนอย่างเป็ นระบบ
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ครู )
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
1. ให้ความรู้ครูและอบรมครูอย่างน้ อยปี ละ 1-2 ครัง้ หรือครูไป
อบรมพัฒนาตนเองอย่างน้ อย ปี ละ 1-2 ครัง้
2. ฝ่ ายวิชาการควรตัง้ คณะกรรมการประเมินแผนการจัดการ
เรียนรู้ของครูทกุ คนอย่างน้ อยภาคการศึกษาละ 1 ครัง้ โดยทา
บันทึกการประเมินไว้เป็ นหลักฐาน
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ครู )
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
3. จัดตัง้ คณะกรรมการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ของครูอย่างน้ อยภาคละ 1 ครัง้ (บันทึกไว้เป็ นหลักฐาน)
4. จัดตัง้ คณะกรรมการประเมินแบบวัด แบบทดสอบของครูทกุ คน
อย่างน้ อยภาคละ 1 ครัง้
5. นาผลจากข้อ 1- 4 ของครูแต่ละคนแจ้งให้ครูทราบแล้วนาเสนอ
แนวทางพัฒนาครูแต่ละคน
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ครู )
ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้ นผูเ้ รียน
เป็ นสาคัญ (10 คะแนน)
6.2 กระบวนการจัดการเรียนรู้ของครู (เชิงปริมาณ 5 คะแนน)
- การกาหนดเป้ าหมายที่ต้องการให้เกิดขึน้ กับผูเ้ รียนด้านความรู้
ทักษะกระบวนการที่เป็ นความคิดรวบยอด หลักการและ
ความสัมพันธ์ รวมทัง้ คุณลักษณะที่พึงประสงค์
- การศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเป็ นรายบุคคล และนาข้อมูลไปใช้ใน
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่ท้าทายความสามารถของ
ผูเ้ รียน
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ครู )
ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้ นผูเ้ รียน
เป็ นสาคัญ (10 คะแนน)
- การออกแบบการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้ ที่ตอบสนอง
ความแตกต่างระหว่างบุคคล และพัฒนาการณ์ ทางสมองเพื่อนา
ผูเ้ รียนไปสู้เป้ าหมาย
- การจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และดูแลช่วยเหลือผูเ้ รียน
- การจัดเตรียมและใช้สื่อที่เหมาะสมกับกิจกรรม นาภูมิปัญญา
ท้องถิ่น เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ในการจัดการเรียนรู้
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ครู )
ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้ นผูเ้ รียน
เป็ นสาคัญ (10 คะแนน)
- การประเมินความก้าวหน้ าของผูเ้ รียน ด้วยวิธีที่หลากหลาย
เหมาะสมกับธรรมชาติของวิชา และระดับพัฒนาการของผูเ้ รียน
รวมทัง้ การวางเงื่อนไขให้ผเ้ ู รียนประเมินความก้าวหน้ าของ
ตนเอง และนามาใช้ปรับปรุงและพัฒนาตนเอง
- การวิเคราะห์ผลการประเมิน และนามาใช้ในการซ่อมเสริมและ
พัฒนาผูเ้ รียน รวมทัง้ ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ครู )
ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้ นผูเ้ รียน
เป็ นสาคัญ (10 คะแนน)
- การศึกษาค้นคว้าวิจยั เพื่อพัฒนาสื่อและกระบวนการจัดการ
เรียนรู้ที่เน้ นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ครู )
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
- ให้ครูแต่ละคนจดบันทึกผลการปฏิบตั ิ งาน แล้วรวบรวมเป็ น
ภาพรวมของแต่ละกลุ่มสาระฯ ดังนี้
1. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ ความคิด
รวบยอด (สาระสาคัญ) คุณลักษณะที่พึงประสงค์จะให้ผ้เู รียน
เกิดสอดคล้องกับหลักสูตร 51
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ครู )
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
2. ทาทะเบียนสะสมผูเ้ รียนเป็ นรายบุคคล
3. นาผลการทดสอบมาวิเคราะห์ หาแนวทางซ่อม/เสริมตาม
ลักษณะของผูเ้ รียนเป็ นกลุ่ม/รายบุคคล
4. จัดห้องเรียนให้มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เช่น จัดกลุ่ม
เพื่อนช่วยเพื่อน
5. จัดหาสื่อ / อุปกรณ์ให้สอดคล้องกับที่กาหนดไว้ในแผนการ
จัดการเรียนรู้
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ครู )
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
6. ถ้ามีโอกาสให้เชิญภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเสริมความรู้ / ทักษะให้
ผูเ้ รียน
7. ใช้แบบทดสอบย่อย / แบบทดสอบระหว่างเรียน แล้วนาผลมา
ใช้ซ่อม/เสริมหรือปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ของครู
8. ควรทาวิจยั ในชัน้ เรียนที่ไม่ย่งุ ยาก โดยมีเจตนาจะแก้ไขผลการ
เรียนรู้ของผูเ้ รียน
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้บริหาร)
ตัวบ่งชี้ที่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพิจารณา
สถานศึกษา (5 คะแนน)
1. ประสิทธิภาพการบริหารจัดการตามบทบาทหน้ าที่ของผูบ้ ริหาร
สถานศึกษา (2 คะแนน)
- ด้านวิชาการ
- ด้านงบประมาณ
- ด้านการบริหารงานบุคคล
- ด้านการบริหารทัวไป
่
2. ประสิทธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษา (1 คะแนน)
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้บริหาร)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
1. จัดทารายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา / การ
ประชุมผูป้ กครอง การสื่อสารกับชุมชน อย่างน้ อยภาคเรียน
ละ 2 ครัง้ ผูบ้ ริหารสถานศึกษารายงานผลการประชุมต่อ
ผูบ้ งั คับบัญชาเหนื อขึน้ ไปชัน้ หนึ่ งภายใน 15 วัน นับแต่มี
การประชุม
2. มีหลักฐานยืนยันว่าคณะกรรมการสถานศึกษาอย่างน้ อย
ร้อยละ 75 รับทราบและพอใจในการดาเนินงานสถานศึกษา
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้บริหาร)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
3. ออกแบบวัดความพึงพอใจในผลการดาเนินงานของ
สถานศึกษาจากคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
4. หัวข้อที่คณะกรรมการสถานศึกษาจะต้องปฏิบตั ิ ตามหน้ าที่ ให้
เป็ นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ 2533 ข้อ 5, 13, และ 14
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้บริหาร)
ตัวบ่งชี้ที่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพิจารณา
สถานศึกษา (5 คะแนน)
3. บรรยากาศและสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา (2 คะแนน)
- สะอาด
- สุขลักษณะ
- สวยงาม
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้บริหาร)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
1. จัดเก็บข้อมูลผลการตรวจความสะอาด ถูกสุขลักษณะของ
อนามัย หรือ สสส.
2. ตรวจสอบสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ผเ้ ู รียนได้อยู่อาศัยใน
สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เอื้อต่อการมีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิต
ที่ดี
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (ผู้บริหาร)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
3. ดูแลรักษาวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้หรือทรัพยากรอื่นๆ
ให้อยู่ในสภาพที่ดี ใช้การได้และไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผูเ้ รียน
ครู บุคลากรทางการศึกษา
4. จัดสภาพภูมิทศั น์ ของสถานศึกษาให้สวยงาม รวมทัง้ บรรยากาศ
ที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรม ตามสภาพและ
บริบทของแต่ละสถานศึกษา
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (การประกัน)
ตัวบ่งชี้ที่ 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดย
สถานศึกษาและต้นสังกัด
1. ผลการประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด
(เชิงปริมาณ 2.5 คะแนน)
- ใช้คะแนนเฉลี่ยผลการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษาจากต้นสังกัด
- ต้นสังกัดเป็ นผูป้ ระเมินคุณภาพภายในของต้นสังกัดทุก
มาตรฐานที่ล่าสุด
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (การประกัน)
ตัวบ่งชี้ที่ 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดย
สถานศึกษาและต้นสังกัด
2. พัฒนาการของระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
(พัฒนาการ 2.5 คะแนน)
- ดาเนินการประเมินผลการดาเนินการตามมาตรฐานของต้น
สังกัด ได้แก่ ครู/บุคลากรทางการศึกษา หลักสูตร/ตารา
วิธีการเรียนการสอน สิ่งอานวยความสะดวกเพื่อการศึกษา
- จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่ม่งุ
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน (การประกัน)
ตัวบ่งชี้ที่ 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดย
สถานศึกษาและต้นสังกัด
- ดาเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
- จัดให้มีการตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
- จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา
- จัดทารายงานประจาปี ที่เป็ นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน
- จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่ อง
สถานศึกษาต้องจัดทา SAR ทุกปี การศึกษา
(Self Assessment Report)
กลุ่มตัวบ่ งชี้อตั ลักษณ์ (10 คะแนน)
ตัวบ่งชี้อตั ลักษณ์ หมายถึง ตัวบ่งชี้ที่
- ประเมินผลผลิตตามปรัชญา ปณิธาน/วิสยั ทัศน์ พันธกิจ
และวัตถุประสงค์ของการจัดตัง้ สถานศึกษา
- ความสาเร็จตามจุดเน้ นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็ น
เอกลักษณ์ของสถานศึกษา
- ได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาและ
หน่ วยงานต้นสังกัด
กลุ่มตัวบ่ งชี้อตั ลักษณ์ (10 คะแนน)
ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสยั ทัศน์
พันธกิจ และวัตถุประสงค์การจัดตัง้ สถานศึกษา
(5 คะแนน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
1. ประชุมครู บุคลากรเพื่อกาหนดอัตลักษณ์ในการผลิตผูเ้ รียน
ตามปรัชญา ปณิธาน/วิสยั ทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์การจัดตัง้
สถานศึกษา
2. จัดทาบันทึกรายงานการประชุมตามข้อ 1 โดยมีการลงนาม
ผูเ้ ข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ที่ให้ความร่วมมือ
3. มีแผนปฏิบตั ิ การดาเนินงานตามอัตลักษณ์ที่กาหนด
กลุ่มตัวบ่ งชี้อตั ลักษณ์ (10 คะแนน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
4. มีรายงานผลการปฏิบตั ิ ตามแผน
5. มีการประเมินความพึงพอใจในผลผลิต (คุณภาพผูเ้ รียน) ของผูม้ ี
ส่วนเกี่ยวข้องที่มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
6. ผลผลิต (คุณภาพผูเ้ รียน) บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสยั ทัศน์
พันธกิจ และวัตถุประสงค์ โดยจัดหาผลงาน ใบรับรอง ฯลฯ
แสดงเป็ นหลักฐาน
7. ผลการดาเนินงานด้านผลิตเกิดผลกระทบที่ดีต่อสถานศึกษา
ชุมชน โดยมีคาชมเชยครู ผูบ้ ริหารในการดาเนินการ
กลุ่มตัวบ่ งชี้อตั ลักษณ์ (10 คะแนน)
ตัวบ่งชี้ที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้ นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน
เป็ นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
(เชิงคุณภาพ 5 คะแนน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
1. จัดประชุมครู บุคลากร และรับรองรายงานการประชุมครู/
คณะกรรมการสถานศึกษา
2. เตรียมแผนปฏิบตั ิ การประจาปี ที่มีกิจกรรมตอบสนองจุดเน้ น
จุดเด่นของสถานศึกษา
กลุ่มตัวบ่ งชี้อตั ลักษณ์ (10 คะแนน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
3. ในแผนปฏิบตั ิ จดั ให้มีโครงการเสริมจุดเน้ น จุดเด่น โดยระบุผม้ ู ี
ส่วนร่วม ได้แก่ ผูเ้ รียน บุคลากรอื่นๆ ที่เข้าร่วมอย่างต่อเนื่ องไม่
น้ อยกว่าร้อยละ 50
4. ประเมินความพึงพอใจของผูม้ ีส่วนร่วมทัง้ ในและนอก
สถานศึกษาให้มีความพึงพอใจระดับดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5. นาหลักฐานยืนยัน เช่น ใบรับรอง ใบชมเชย ใบประกาศนี ยบัตร
มาเตรียมไว้
กลุ่มตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม (10 คะแนน)
ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม หมายถึง ตัวบ่งชี้ที่ประเมินผล
1. การดาเนินงานของสถานศึกษา โดยสถานศึกษาเป็ นผูก้ าหนด
แนวทางพัฒนา
2. เป็ นการชี้แนะ ป้ องกัน และแก้ไขปัญหาสังคมตามนโยบาย
ของรัฐ
3. สามารถปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาและปัญหาสังคมเปลี่ยนไป
กลุ่มตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม (10 คะแนน)
4. มีเป้ าหมายในการชี้นาสังคม เช่น
- การรักชาติ
- การทานุบารุงศาสนา และเทิดทูนพระมหากษัตริย์
- การส่งเสริมและสืบสานโครงการอันสืบเนื่ องมาจาก
พระราชดาริ
- การน้ อมนาเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบตั ิ เป็ นแบบอย่าง
- การสร้างสังคมความร่วมมือในกรอบประชาคมอาเซียน
- การส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม พลังงาน เศรษฐกิจ สุขภาพ
ค่านิยม จิตสาธารณะ และความประหยัด
- การแก้ปัญหาสังคม (ความขัดแย้ง อุบตั ิ ภยั สิ่งเสพติด)
กลุ่มตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม (10 คะแนน)
ตัวบ่งชี้ที่ 11 ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริม
บทบาทของสถานศึกษา
(เชิงคุณภาพ 2 คะแนน และพัฒนาการ 3 คะแนน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
1. จัดทาโครงการพิเศษตามตัวบ่งชี้ อย่างน้ อย 1 โครงการ
2. จัดทาแผนงาน (P) การดาเนินการตามแผน /กิจกรรม
ตามลาดับขัน้ (D) การตรวจสอบผลการดาเนินงานที่ระบุไว้
ในแผน (C) สรุปผลเพื่อนาไปปรับปรุง/พัฒนา/ทาต่อเนื่ อง (A)
กลุ่มตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม (10 คะแนน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
3. จัดประเมินโครงการตาม PDCA ที่ดาเนินการให้ได้ผลร้อยละ
80 ขึน้ ไป
4. จัดทารายชื่อผูเ้ ข้าร่วมโครงการ และมีผเ้ ู รียนร้อยละ 50 ของ
จานวนผูเ้ ข้าร่วมโครงการพิเศษ
กลุ่มตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม (10 คะแนน)
ตัวบ่งชี้ที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับ
มาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็ น
เลิศที่สอดคล้องกับแนวทางปฏิรปู การศึกษา
(เชิงคุณภาพ 5 คะแนน)
1. กลุ่มที่ยกระดับ
- รอบสองผลประเมินไม่รบั รอง
2. กลุ่มที่รกั ษาระดับ
- รอบสองรับรองระดับดี / ดีมาก
3. กลุ่มพัฒนาสู่ความเป็ นเลิศ - รอบสองรับรองระดับดีมาก
กลุ่มตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม (10 คะแนน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
1. ศึกษาข้อเสนอแนะจากผลการประเมินของ สมศ. รอบ 2 (ถ้ายัง
ไม่เคยประเมินรอบ 2 ให้ศึกษาจากผลการประเมินคุณภาพ
ภายใน)
2. ดูว่ามีการทา MOU ระหว่างสถานศึกษากับหน่ วยต้นสังกัด หรือ
หน่ วยงานสนับสนุนที่เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร / เชิงประจักษ์
3. ดาเนินงานตามแบบ PDCA
ด้ านกลุ่มตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม (10 คะแนน)
คาแนะนาการปฏิบตั ิ
4. มีรายงานผลว่า บรรลุเป้ าหมายตามแผนปฏิบตั ิ การประจาปี
ร้อยละ 80
5. แสดงว่าโครงการมีผลต่อสถานศึกษาตามแนวปฏิรปู การศึกษา
ทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552-2561)
ขั้นตอนและกระบวนการดาเนินงานการนาผลประเมินไปใช้ ในสถานศึกษา
กรณี : ผ่ านการรับรองมาตรฐานคุณภาพ
ระดับ
หน่ วยงาน
สถานศึกษา
1
ผูร้ บั ผิดชอบ
การดาเนินงาน
- ผูอ้ านวยการ
- ผอ.เชิญประชุมผูเ้ กี่ยวข้อง
- ครู/อาจารย์
- วิเคราะห์ตวั บ่งชี้ จุดเด่น จุดที่
- กก.สถานศึกษา ควรพัฒนา และคาแนะนาใน
การพัฒนา
- วางแผนพัฒนาตามคาแนะนา
- ดาเนินการตามแผน
- ประเมินผลการดาเนินงาน
- จัดทา SAR ทุกปี ส่งต้นสังกัด
ขั้นตอนและกระบวนการดาเนินงานการนาผลประเมินไปใช้ ในสถานศึกษา
กรณี : ผ่ านการรับรองมาตรฐานคุณภาพ
ระดับ หน่ วยงาน
2
ผูร้ บั ผิดชอบ
- ศึกษานิเทศก์
- ผอ.เขต /ผอ.กศน.
/ผอ.กทม.
- กก.เขตพืน้ ที่
- สช.
หน่ วยงาน - ศึกษานิเทศก์
ต้นสังกัด
- ผอ.กอง
ระดับ อปท./ การศึกษา
อบจ./อบต./ - สานักการศึกษา
เทศบาล
หน่ วยงาน
ต้นสังกัด
ระดับเขต
พืน้ ที่
การดาเนินงาน
- ร่วมกับสถานศึกษาใช้ผลการประเมิน
การจัดทายุทธศาสตร์ของเขต
- ติดตามให้คาแนะนา
- ประเมินผลสถานศึกษาอย่างน้ อย 3
ปี /ครัง้
- ร่วมกับสถานศึกษาใช้ผลการประเมิน
การจัดทายุทธศาสตร์ของเขต
- ติดตามให้คาแนะนา
- ประเมินผลสถานศึกษาอย่างน้ อย 3
ปี /ครัง้
ขั้นตอนและกระบวนการดาเนินงานการนาผลประเมินไปใช้ ในสถานศึกษา
กรณี : ผ่ านการรับรองมาตรฐานคุณภาพ
ระดับ หน่ วยงาน
3
ผูร้ บั ผิดชอบ
หน่ วยงาน - หน่ วยกากับติดตาม
ต้นสังกัด - สทศ./กลุ่มพัฒนา
ระดับ
ระบบประกัน
นโยบาย - สอศ.
- สกอ.
- สพท.
ฯลฯ
การดาเนินงาน
- พิจารณาผลการประเมิน
อภิมาน
- จัดทานโยบาย/ยุทธศาสตร์
- ติดตามการใช้ผลการประเมิน
การพัฒนาสถานศึกษา
- รายงานการนาผลการประเมิน
การพัฒนาคุณภาพในภาพรวม
ขั้นตอนและกระบวนการดาเนินงานการนาผลประเมินไปใช้ ในสถานศึกษา
กรณี : ไม่ ได้ รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพ
ระดับ หน่ วยงาน
1
ผูร้ บั ผิดชอบ
การดาเนินงาน
สถานศึกษา - ผูอ้ านวยการ - ผอ.เชิญประชุมผูเ้ กี่ยวข้อง
- ครู/อาจารย์ - วิเคราะห์ตวั บ่งชี้ ที่ไม่ผา่ นการประเมิน และ
ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
- กก.
สถานศึกษา - จัดทาแผนพัฒนาแก้ไขตัวบ่งชี้ที่เป็ นปัญหา
- ส่งแผนฯ ให้หน่ วยต้นสังกัด/ สมศ. ภายใน 30
วัน นับจากวันที่ได้รบั ผลประเมิน
- หน่ วยงานต้นสังกัดพิจารณาแผนฯ
- สถานศึกษาดาเนินการตามแผนฯ
- จัดทา SAR
- รายงานต้นสังกัดประเมิน
- รายงาน สมศ. ประเมินซา้ ภายใน 1 ปี นับจาก
วันได้รบั SAR
ขั้นตอนและกระบวนการดาเนินงานการนาผลประเมินไปใช้ ในสถานศึกษา
กรณี : ไม่ ได้ รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพ
ระดับ หน่ วยงาน
2
หน่ วยงาน
ต้นสังกัด
ระดับเขต
พืน้ ที่
ผูร้ บั ผิดชอบ
การดาเนินงาน
- ศึกษานิเทศก์
- ผอ.เขต /ผอ.กศน.
/ผอ.กทม.
- กก.เขตพืน้ ที่
- สช.
- พิจารณาแผนฯ ของสถานศึกษา
- ร่วมมือกับสถานศึกษาใช้ผลการประเมิน
จัดทายุทธศาสตร์ ฯลฯ
- ติดตามให้คาแนะนา
- ประเมินผลการดาเนินงานของ
สถานศึกษาขัน้ ต้น
- พิจารณาแผนฯ ของสถานศึกษา
- ร่วมมือกับสถานศึกษาใช้ผลการประเมิน
จัดทายุทธศาสตร์ ฯลฯ
- ติดตามให้คาแนะนา
- ประเมินผลการดาเนินงานของ
สถานศึกษาขัน้ ต้น
หน่ วยงาน - ศึกษานิเทศก์
ต้นสังกัด
- ผอ.กอง
ระดับ อปท./ การศึกษา
อบจ./อบต./ - สานักการศึกษา
เทศบาล
ขั้นตอนและกระบวนการดาเนินงานการนาผลประเมินไปใช้ ในสถานศึกษา
กรณี : ไม่ ได้ รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพ
ระดับ หน่ วยงาน
3
ผูร้ บั ผิดชอบ
หน่ วยงาน - หน่ วยกากับติดตาม
ต้นสังกัด - สทศ./กลุ่มพัฒนา
ระดับ
ระบบประกัน
นโยบาย - สอศ.
- สกอ.
- สพท.
ฯลฯ
การดาเนินงาน
- พิจารณาแผนฯ ของสถานศึกษา
- ร่วมมือกับสถานศึกษาใช้ผลการ
ประเมินจัดทายุทธศาสตร์ ฯลฯ
- ติดตามให้คาแนะนา
- ประเมินผลการดาเนินงานของ
สถานศึกษาขัน้ ต้น
- รายงานผลการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาต่อคณะกรรมการ
ติดตามการนาผลประเมินไปใช้ของ
สมศ.