บทบาทการพัฒนาเด็กออทิสติกในด้านการแพทย์ การศึกษา สังคม และอาชีพ

Download Report

Transcript บทบาทการพัฒนาเด็กออทิสติกในด้านการแพทย์ การศึกษา สังคม และอาชีพ

บทบาทการพัฒนาเด็กออทิสติกในด้ าน
การแพทย์ การศึกษา สั งคม และอาชีพ
โดย นางสาวฐาปณีย์ โลพันดุง
ตาแหน่ ง ครู / นักกายภาพบาบัด
ศูนย์ การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 11 จ.นครราชสี มา
LOGO
หน่ วยงานหลักของภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้ อง
กับการพัฒนาเด็กออทิสติก
กระทรวงการพัฒนาสั งคมและความมัน
่ คง
ของมนุ ษย ์ โดยสานักงานส่งเสริมและ
พัฒนาคุณภาพชีวต
ิ คนพิการแหงชาติ
่
(พก.)
กระทรวงศึ กษาธิการ รับผิดชอบการศึ กษา
และการฝึ กอาชีพสาหรับคนพิการ
กระทรวงแรงงาน
รับผิดชอบดูแลดาน
้
การประกอบอาชีพ การจ้างงานคนพิการ
การส่งเสริมการประกอบอาชีพของคน
กระทรวงสาธารณสุข มีอานาจหน้าทีเ่ กีย
่ วกับ
การสรางเสริ
มสุขภาพอนามัย การป้องกัน
้
ควบคุม และการรักษาโรค
กระทรวงมหาดไทย การจัดสรรเบีย
้ ยังชีพคน
พิการ เดือนละ 500 บาท
การพัฒนาเด็กออทิสติกด้ านการแพทย์
ทีมสหวิทยาการ /สหวิชาชีพ
(Multidisciplinary Team Approach)
ประกอบดวยแพทย
หรื
้
์ อจิตแพทย ์ จิตแพทย ์
เด็กและวัยรุน
่ วชาญดาน
่ กุมารแพทย ์ ผู้เชีย
้
ประสาทวิทยา นักจิตวิทยา/นักจิตวิทยาคลินิก
นักกิจกรรมบาบัด นักแกไขการพู
ด พยาบาล
้
พัฒนาการเด็ก พยาบาลจิตเวช นัก
ามเนื
กายภาพบาบัด(ในรายทีม
่ ป
ี ญ
ั หาดานกล
้อ
้
้
และการเคลือ
่ นไหวรวมด
วย)
เป็ นตน
่
้
้
การรักษาด้ วยยา (Pharmacotherapy)
 การรักษาด้ วยยาไม่ ได้ มเี ป้ าหมายเพือ่ รักษาให้ หายขาดจากโรคออทิสติกโดยตรง แต่ นามาใช้ เพือ่
บรรเทาอาการบางอย่ างทีเ่ กิดร่ วมด้ วย เด็กไม่ จาเป็ นต้ องรักษาด้ วยยาทุกคน
เมือ่ ทานยาแล้วก็ไม่ จาเป็ นต้ องทานต่ อเนื่องไปตลอดชีวิต แพทย์จะพิจารณาปรับขนาด
ยาหรือหยุดยา เมือ่ อาการเป้ าหมายทุเลาลงแล้ ว
ในปัจจุบันยังไม่ พบว่ ามียาตัวใดทีช่ ่ วยแก้ ไขความบกพร่ องด้ านสั งคมและการ
สื่ อสาร ซึ่งเป็ นปัญหาหลักได้ ส่ วนยาทีน่ ามาใช้ พบว่ามีประโยชน์ ในการลดพฤติกรรมอยู่ไม่ นิ่ง
(Hyperactivity) หุนหันพลันแล่ น (Impulsivity) ไม่ มสี มาธิ (Inattention) ก้ าวร้ าวรุ นแรง
(Aggression) และหมกมุ่นมากเกิน (Obsessive Preoccupation)
 ยาทีน่ ามาใช้ รักษามีหลายชนิด ได้ แก่ กลุ่มยารักษาอาการทางจิต (Neuroleptics) ยากลุ่ม SSRI
(Selective Serotonin Reuptake Inhibitor) และยาเพิม่ สมาธิ (Psychostimulant) เป็ นต้ น
การฟื้ นฟูสมรรถภาพ
ทางการแพทย ์
สาหรับเด็กออทิสติก
 การแกไขการพู
ด (Speech Therapy)
้
ผู้ปกครองสามารถกระตุนให
าน
้
้มีการพูดไดโดยผ
้
่
การเลนได
ี ารฝึ ก
่
้ นอกจากนี้ควรนาเทคนิควิธก
ซึ่งไดรั
่ วชาญ มาปฏิบต
ั ิ
้ บการแนะนาจากผู้เชีย
อยางต
อเนื
่ าน
และเทคนิคอืน
่ ๆ เพือ
่ ทดแทน
่
่ ่องทีบ
้
การพูดในกรณีทย
ี่ งั ไมสามารถพู
ดได้ เช่น การสื่ อ
่
ความหมายทดแทน (Augmentative and
Alternative Communication; AAC) กลวิธก
ี าร
รับรูผ
(Visual Strategies) โปรแกรม
้ านการมอง
่
แลกเปลีย
่ นภาพเพือ
่ การสื่ อสาร (Picture
Exchange Communication System; PECS)
เครือ
่ งโอภา (Communication Devices) และ
กิจกรรมบาบัด (Occupational Therapy)
เป็ นการประยุกตกิ
์ จวัตร หรือกิจกรรม มาใช้
ในการตรวจประเมิน วินิจฉัย ส่งเสริม
บาบัดรักษา และฟื้ นฟูสมรรถภาพ ให้สามารถ
กลับไปดารงชีวต
ิ ในสั งคมได้ ช่วยเสริมสราง
้
สมาธิ ทักษะการคิด พัฒนากลามเนื
้อมัดเล็ก
้
และการทางานประสานกันของกลามเนื
้อ ผาน
้
่
กิจกรรมการเรียนรูต
โดยนัก
้ างๆ
่
กิจกรรมบาบัด (Occupational Therapist)
รวมถึงการนาทฤษฎีการบูรณาการประสาทรับ
ความรูสึ้ ก (Sensory Integrative Theory) มา
่ กระตุนระบบการรับความรูสึก
ประยุกตใชเพือ
พฤติกรรมบาบัด (Behavior Therapy)
การทาพฤติกรรมบาบัด ตัง้ แตอายุ
น้อยๆ และทา
่
อยางต
อเนื
่ าคัญจะช่วยเสริมสร้างทักษะ
่
่ ่องเป็ นสิ่ งทีส
ดานภาษา
ดานสั
งคม และทักษะอืน
่ ๆ นอกจากนี้ยงั
้
้
ช่วยลดระดับความเครียดของผู้ปกครองดวย
้
เทคนิคทีใ่ ช้มีพน
ื้ ฐานมาจากหลักการของทฤษฎีการ
เรียนรู้ เทคนิคทีใ่ ช้ไดผลดี
คอ
ื การให้แรงเสริม เมือ
่
้
มีพฤติกรรมทีต
่ ้องการ แรงเสริมมีทง้ั สิ่ งทีจ
่ บ
ั ต้องได้
เช่น ขนม ของเลน
่ บ
ั ต้อง
่ สติกเกอร ์ และสิ่ งทีจ
ไมได
้ ให้ กอด เป็ น
่ ้ เช่น คาชมเชย ตบมือ ยิม
ต้ น
การบาบัดทางเลือก (Alternative Therapy)
ในปัจจุบน
ั มีแนวทางการบาบัดทางเลือกทีห
่ ลากหลาย
สามารถเลือกใช้ควบคูกั
่ บแนวทางหลัก ตามความ
เหมาะสมกับสภาพปัญหา และผลการตอบสนองที่
ไดรั
้ บของเด็กแตละคน
่
สิ่ งสาคัญทีค
่ วรทาความเขาใจคื
อ การบาบัดทาง
้
เลือกใช้เสริมแนวทางหลักให้มีประสิ ทธิผลเพิม
่ ขึน
้
ไมใช
ยวแลวได
ผล
่ ่ การนามาใช้โดดๆ เพียงอยางเดี
่
้
้
การบาบัดทางเลือกดังกลาวประกอบด
วย
่
้
1. การสื่ อความหมายทดแทน (Augmentative and
Alternative Communication; AAC)
2. ศิ ลปะบาบัด (Art Therapy)
4. เครือ
่ งเอชอีจี (HEG; Hemoencephalogram) เป็ น
เครือ
่ งมือตรวจวัดการปรับเปลีย
่ นกระแสการไหลเวียนของเลือดทีผ
่ วิ สมอง
เพือ
่ ทา
การตรวจสอบการอิม
่ ตัวของออกซิเจนในเส้นเลือดฝอยทีผ
่ วิ สมอง โดยแสงนี้สามารถ
ส่องผานเข
าไปบริ
เวณผิวสมองและสะทอนกลั
บมาทีห
่ นังศี รษะ ตรวจวัดไดโดย
่
้
้
้
photoelectric cells ซึ่งส่งไปวิเคราะหข
่ ง Biocomp เพือ
่ แปลผลขอมู
์ อมู
้ ลทีเ่ ครือ
้ ล
และป้อนกลับไปให้ผูฝึ
นรูปธรรมทางจอคอมพิวเตอร ์
้ กมองเห็นและเรียนรูได
้ อย
้ างเป็
่
5. การฝังเข็ม (Acupuncture)
6. การบาบัดดวยสั
ตว ์ (Animal Therapy) เช่น
้
อาชาบาบัด (hippo therapy) Dog therapy เป็ นต้น
การพัฒนาเด็กออทิสติกด้ านการศึกษา
การศึกษา มีบทบาทสาคัญในการเพิม่ ทักษะพืน้ ฐานด้ านสั งคม การ
สื่ อสาร และทักษะทางความคิดแก่เด็กออทิสติก ซึ่งทาให้ เกิดผลดีในระยะ
ยาว โดยเนือ้ หาหลักสู ตรจะเน้ นการเตรียมความพร้ อม เพือ่ ให้ เด็ก
สามารถใช้ ในชีวติ ประจาวันจริงๆ ได้ แทนการฝึ กแต่ เพียงทักษะทาง
วิชาการเท่ านั้น
การศึกษาในระบบ : การเรียนร่ วม / เรียนรวม / ห้ องคู่ขนาน
การศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย : การช่ วยเหลือระยะแรกเริ่ม
(Early Intervention: EI) การศึกษานอกระบบ การฝึ กอาชีพ การฝึ ก
ทักษะการดารงชีวติ ฯลฯ
การพัฒนาเด็กออทิสติกด้ านอาชีพ
แนวคิดการฟื้ นฟูสมรรถภาพทางอาชีพ ในปัจจุบันเปลีย่ นจากการให้ ทางานใน
สถานพยาบาล หรือโรงงานในอารักษ์ มาสู่ ตลาดแรงงานจริง หรือการประกอบ
อาชีพส่ วนตัว ภายใต้ การชี้แนะ การฝึ กอาชีพ การจัดหางาน และการสนับสนุน
อย่างเป็ นระบบ
เพือ่ ไปสู่ เป้ าหมายให้ บุคคลออทิสติกสามารถทางาน มีรายได้ และดารงชีวติ โดย
อิสระ พึง่ พาผู้อนื่ น้ อยทีส่ ุ ด จึงต้ องมีการเตรียมความพร้ อมทักษะทีจ่ าเป็ นในการ
ทางาน เช่ น การตรงต่ อเวลา การปรับตัวเข้ ากับหัวหน้ างาน และเพือ่ นร่ วมงาน
ความปลอดภัยในการทางาน เป็ นต้ น และฝึ กทักษะพืน้ ฐานเฉพาะทางอาชีพ ควบคู่
กันไป
ในการทางานจะมีผ้ ฝู ึ กสอนงาน (Job Coach) ฝึ กให้ ณ ทีท่ างานจริง คอยช่ วยเหลือ
แนะนาในเรื่องเทคนิคการทางาน และทักษะสั งคม ให้ คาปรึกษา ประเมินผล และ
พัฒนาในจุดทีย่ งั บกพร่ องอยู่
บุคคลออทิสติกสามารถประกอบอาชีพได้ ปกติ ตามความถนัดของแต่ ละคน ถ้ามี
การเตรียมความพร้ อมอย่ างเหมาะสม และสั งคมมีความเข้ าใจ เปิ ดโอกาสให้ ใน
กลุ่มออทิสติก ทีร่ ะดับความสามารถสู ง และได้ รับการเตรียมความพร้ อมมาตั้งแต่
เด็ก ทั้งในทักษะพืน้ ฐานเพือ่ การเรียนรู้ ด้านต่ างๆ และทักษะสั งคม สามารถ
ประกอบอาชีพ และใช้ ชีวติ ได้ ตามปกติเหมือนบุคคลทั่วไป เพียงแต่ ในเรื่องการ
ปรับตัว หรือกรณีทมี่ สี ถานการณ์ ย่ งุ ยากซับซ้ อน จะเป็ นกระบวนการให้ คาปรึกษา
เป็ นกรณีไป
www.themegallery.com
LOGO
“เด็กเป็นตัวตัง้
ครอบครัวเป็นตัวหาร
ผู้เชีย
่ วชาญเป็นตัว
ช่วย”
www.themegallery.com
LOGO
ศูนย์ วชิ าการ แฮปปี้ โฮม ศูนย์ วชิ าการเพือ่ การพัฒนาเด็กและวัยรุ่ น
http://www.happyhomeclinic.com/academy.html
สมาคมผู้ปกครองบุคคลออทิซึม(ไทย) : http://www.autisticthai.net/
โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้ าพีน่ างเธอ เจ้ า
ฟ้ากัลยาณิวฒ
ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ กรมสุ ขภาพจิต กระทรวง
สาธารณสุ ข : http://www.yuwaprasart.com/
มูลนิธิออทิสติกไทย : http://www.autisticthai.com/index.php
LOGO