รพ.เชียงคำ จ.พะเยา

Download Report

Transcript รพ.เชียงคำ จ.พะเยา

การพัฒนาเครื อข่ายบริ การ
กิจกรรมบาบัดกลุ่มผูร้ ับบริ การ
เด็กพัฒนาการช้าในชุมชน
รณสิทธิ์ สุปินะเจริญ
นักกิจกรรมบำบัด
โรงพยำบำลเชียงคำ
กิจกรรมบาบัด ( Occupational Therapy: OT )
- หน้ าที่ ส่งเสริ ม ดูแล ฟื น้ ฟู ป้องกัน ให้ คาแนะนา
- ผู้พิการทางร่างกาย
- เด็กที่มีปัญหาด้ านพัฒนาการหรื อการเรี ยนรู้
- ผู้ป่วยจิตเวช
- ผู้สงู อายุ
- สามารถทากิจกรรมต่างๆในชีวิตประจาวันได้ อย่างเต็ม
ความสามารถ
- โดยใช้ การวิเคราะห์กิจกรรม เป็ นสื่อในการรักษา
กิจกรรมบำบัดกับกำรให้ บริกำรเด็กพัฒนำกำรช้ ำ
1. เด็กทีมีปัญหาพัฒนาการช้ า delay development,
delay speech
2. เด็กที่มีความพิการทางกาย down’s syndrome,
post-encephalitis, head injury
3. เด็กที่มีความพิการซ ้าซ้ อน mental retard, Cerebral Palsy
4. เด็กที่มีปัญหาด้ านการเรี ยนรู้ Learning Disabilities
5. เด็กที่มีปัญหาด้ านพฤติกรรมและจิตใจ ADHD, autism
6. บกพร่องในการผสมผสานการรับความรู้สกึ และข้ อมูลสิ่งเร้ าที่ได้ รับ
sensory intergration dysfunction
ที่มำและปัญหำ
ตำรำงแสดงจำนวนเด็กพัฒนำกำรช้ ำที่เข้ ำรับบริกำรกิจกรรมบำบัดในโรงพยำบำล
จานวนเด็กพัฒนาการช้าเพิ่มขึ้นแต่การให้บริ การเด็กพัฒนาการช้าลดล
ปัญหำระบบกำรให้ บริกำรเด็กพัฒนำกำรช้ ำ
LD ADHD
โรงเรี ยนประถม
เด็กพัฒนาการช้ า
ในหมูบ่ ้ าน
Autism ADHD LD
พูดช้ า พูดไม่ชดั
โรงเรี ยนอนุบาล
ช้ าด้ านร่างกาย
autism พูดช้ า
จาก รพสต
เด็กพัฒนาการช้ า
รพ ชุมชน 4 แห่ง
เด็กพัฒนาการช้ า
Case walk in
เด็กพัฒนาการช้ า
คลินิกใน รพ เชียงคา
เจ้าหน้าที่ในชุมชนไม่มีระบบในการ คัดกรอ กระตุน้ ดูแล เด็กพัฒนาการช้า
ปัญหำระบบกำรให้ บริกำรเด็กพัฒนำกำรช้ ำ
1. การให้ บริ การทางกิจกรรมบาบัดในโรงพยาบาลและในชุมชน
ไม่ เพียงพอต่อจานวนผู้รับบริ การ
2. ชุมชนขาดความรู้ความเข้ าใจในเรื่ องการกระตุ้นพัฒนาการ
เด็กพัฒนาการช้ า
3. ไม่มีเครื อข่ายการให้ บริ การเด็กพัฒนาการช้ าในชุมชน
ขาดความร่วมมือและการประสานงานกันอย่างเป็ นระบบ
แนวทา แก้ปัญหา
1. เพิ่มการรับบริ การทา กิจกรรมบาบัดในชุมชน
คัดกรองพัฒนาการศูนย์เด็กเล็ก
ประเมินเด็ก LD ในโรงเรี ยน
ให้ ความรู้
บุคคลากร
ในองค์กร
เพื่อ
ส่งเสริม
พัฒนาการ
ติดตาม
ประเมิน
ผล
พัฒนา
การ
คัดกรองเด็กพัฒนาการช้ า ที่ รพสต
ส่ ต่อรพ. รายที่อาการหนัก
2. ให้ ความรู้เรื่ องโรค วิธีการคัดกรองเด็กพัฒนาการช้ า วิธีการกระตุ้น
พัฒนาการทางกิจกรรมบาบัด แก่ผ้ ปู กครอง ครูในโรงเรี ยน ครูศนู ย์
พัฒนาเด็กเล็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ อาสาสมัครสาธารณสุข
องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น และชุมชนที่เกี่ยวข้ อง
3. เพิ่มควำมร่ วมมือของเครือข่ ำยระหว่ ำงหน่ วยบริกำร
สร้ าง
เครื อ
ข่าย
บริการ
เด็ก
พัฒนา
การ
ช้ า
สร้า ระบบส่ ต่อ
เด็กพัฒนาการช้า
เข้าคลินิคเด็ก
พัฒนาการช้า
คลินิก
พัฒนาการช้ า
รพ เชียงคา
งาน
กิจกรรม
บาบัด
การให้บริ การ
กิจกรรมบาบัด
อสม
กิจกรรมการพัฒนาระบบบริ การกิจกรรมบาบัดเด็กพัฒนาการช้า
1. การประเมินพัฒนาการเด็กในศูนย์เด็กเล็กเขต อ.เชียงคา-อ.ภูซาง
ได้ รับการประเมินครบทุกศูนย์จานวน 73 ศูนย์ คิดเป็ นร้ อยละ 100
เด็กทังหมด
้
2130 คน มีเด็กพัฒนาการช้ าจานวน 63 คน
มีเด็กพัฒนาการช้ าคิดเป็ นร้ อยละ 2.96
ผู้ปกครองนาเข้ ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพียง 4 ราย คิดเป็ นร้ อยละ 6.35
ภาพกิจกรรมประเมินพัฒนาการศูนย์เด็กเขตเชีย คา-ภูซา
2. คัดกรอ เด็กบกพร่ อ ด้านการเรี ยนรู ้-รับรู ้ และกระตุน้ พัฒนาการ
นาร่ อ 2 โร เรี ยนคือ โร เรี ยนอนุบาลเชีย คา โร เรี ยนอนุบาลหฤทัยวิทยา
ชัน้ ประถมศึกษำ
เด็ก LD
ป.1
6 คน
ป.2
8 คน
ป.3
10 คน
ป.4
8 คน
ป.5
9 คน
ป.6
6 คน
รวม
47 คน
ระดับชัน้
เด็กพัฒนำกำรช้ ำ
เด็กเล็ก
4 คน
อนุบาล
2 คน
ป.1
2 คน
ป..3
1 คน
รวม
9 คน
เด็กโร เรี ยนอนุบาลหฤทัยวิทยาได้รับ
เด็กโร เรี ยนอนุบาลเชีย คาได้รับการติดตามกระตุน้ การติดตามกระตุน้ พัฒนาการ 3 ราย คิด
เป็ นร้อยละ 33
พัฒนาการจานวน 15 ราย คิดเป็ นร้อยละ 32
ภาพกิจกรรมการคัดกรอ เด็กพัฒนาการช้าในโร เรี ยน
3. ให้ ควำมรู้เรื่องโรคและวิธีกระตุ้นพัฒนำกำรเด็กบกพร่ องด้ ำนกำรเรียนรู้ –
กำรรับรู้ เด็กพัฒนำกำรช้ ำ แก่ผู้ปกครองโรงเรียนอนุบำลเชียงคำ และโรงเรียน
อนุบำลหฤทัยวิทยำ และผู้ปกครองเด็กพัฒนำกำรช้ ำในชุ มชน
4. ครูในโรงเรียนอนุบำลเชียงคำ และโรงเรียนอนุบำลหฤทัยวิทยำ มีควำมรู้
เรื่องโรคและวิธีกระตุ้นพัฒนำกำรเด็กบกพร่ องด้ ำนกำรเรียนรู้ - กำรรับรู้
และสำมำรถดูแลเด็กพัฒนำกำรช้ ำได้ อย่ ำงเป็ นระบบ
5. อบรมครูผู้ดูแลเด็กเล็กในศูนย์ พฒ
ั นำเด็กเล็กในเขต อ.เชียงคำ – อ.ภูซำง
เรื่องเด็กพัฒนำกำรช้ ำและวิธีกระตุ้นพัฒนำกำร กำรคัดกรองพัฒนำกำร
เบือ้ งต้ น และวิธีกำรส่ งต่ อเข้ ำสู่ ระบบบริกำรในโรงพยำบำล โดยมีครูผู้ดูแล
เด็กเล็กเข้ ำร่ วมอบรมทั้งหมด 53 ศูนย์ คิดเป็ นร้ อยละ 73
6. สร้ ำงเครือข่ ำยกำรให้ บริกำรเด็กพัฒนำกำรช้ ำระหว่ ำง โรงพยำบำลส่ งเสริม
สุ ขภำพตำบล องค์ กำรบริหำรส่ วนตำบล และงำนกิจกรรมบำบัดใน
โรงพยำบำลเชียงคำ
7. ประชุ มเชิงปฏิบัติกำร ครูเขตพืน้ ทีก่ ำรศึกษำประถมศึกษำ พะเยำเขต 2
เรื่อง กำรพัฒนำศักยภำพเด็กบกพร่ องกำรรับรู้ -กำรเรียนรู้
8. ผู้ปกครองเด็ก กลุ่มพัฒนำกำรช้ ำได้ รับกำรเสริม empowerment
และจัดกลุ่ม self help group ให้ กบั ผู้ปกครองเด็กกลุ่มพัฒนำกำรช้ ำ
ด้ ำนร่ ำงกำย ผู้ปกครองเด็กกลุ่มพูดช้ ำ ผู้ปกครองกลุ่มเด็กสมองพิกำร
ผู้ปกครองเด็กกลุ่มออทิสติก ผู้ปกครองกลุ่มสมำธิส้ั น
9. อบรมเรื่ อ การส่ เสริ มพัฒนาการเด็กในวัย แรกเกิด - ๖ ปี ให้กบั
ผูป้ กครอ เด็กใน ตาบลแม่ลาว ตาบลทุ่ กล้วย ตาบลทุ่ ผาสุ ก
10. สร้า เครื อข่ายการขออนุเคราะห์อุปกรณ์สาหรับเด็กสมอ พิการระหว่า
โร พยาบาลเชีย คาและศูนย์พฒั นาการเด็กราชนคริ ทร์ จ.เชีย ใหม่
เด็กพัฒนำกำรช้ ำที่เข้ ำรับบริกำรทำงกิจกรรมบำบัดมีผลกำรรั กษำทีด่ ขี นึ้
83.3%
ผลการรักษาเด็กพัฒนาการช้ามีแนวโน้มที่ดีข้ ึนเนื่อ จาก มีการจัดระบบเครื อข่ายใน
ชุมชน และเจ้าหน้าที่ ผูป้ กครอ มีความรู ้มากขึ้น เด็กที่ส่ มามีอายุนอ้ ยล
บทเรี ยนที่ได้รับ
1. เด็กพัฒนาการช้ าเมื่อได้ รับการกระตุ้นพัฒนาการเมื่ออายุยงั น้ อย
และผู้ปกครองมีสว่ นร่วมในการกระตุ้นพัฒนาการส่งผลให้ เด็กมี
พัฒนาการที่ดีขึ ้นอย่างรวดเร็ว
2. ความร่วมมือจากชุมชนในการดูแลช่วยเหลือเด็กพัฒนาการช้ า ส่งผล
ต่อการดูแลเด็กพัฒนาการช้ าในชุมชนแบบยัง่ ยืน
3. มีการเฝ้าระวังคัดกรองเด็กพัฒนาการช้ าของเจ้ าหน้ าที่ในชุมชน และ
ส่งต่อได้ อย่างรวดเร็ว
4. มีการจัดระบบดูแลเด็กพัฒนาการช้ าในชุมชน ทาให้ เด็กได้ รับการ
ดูแลแบบองค์รวม
แนวทา การพัฒนา
1. สร้ างครูผ้ ชู ่วยฝึ กกิจกรรมบาบัด ในโรงพยายาลชุมชน 4 แห่ง
2. ทาการประเมิน คัดกรอง กระตุ้นส่งเสริ ม เด็ก LD, ADHD
ในโรงเรี ยน
3. จัดกิจกรรมกลุม่ กระตุ้นพัฒนาการ สัญจรในศูนย์พฒ
ั นาเด็กเล็ก
เชียงคา-ภูซาง
4. สร้ าง อาสาสมัคร อสม ดูแลเด็กพิการในชุมชน