เด็กที่มีความบกพร่องทางการการเรียนรู้

Download Report

Transcript เด็กที่มีความบกพร่องทางการการเรียนรู้

เด็กทีม่ คี วามบกพร่ องทางการการเรียนรู้
(Leaning Disabilities)
ความหมาย
เด็กทีม่ ปี ัญหาทางการเรียนรู้ (Learning Disabilities)
(L.D) หมายถึง คนที่มีมีความบกพร่ องอย่ างใดอย่ างหนึ่ง
หรือหลายอย่ างในกระบวนการพืน้ ฐานทางจิตวิทยาที่
เกีย่ วกับความเข้ าใจหรือการใช้ ภาษา อาจเป็ นการพูดหรือ
ภาษาเขียน หรือการคิดคานวณ รวมทั้งสภาพความบกพร่ อง
ในการรับรู้ สมองได้ รับบาดเจ็บ การปฏิบัตงิ านของสมอง
สู ญเสี ยไป
ลักษณะของเด็กทีม่ ีความ
บกพร่ องทางการการเรียนรู้
• มีความบกพร่ องทางการพูด
• มีความบกพร่ องทางการสื่ อสาร
• มีปัญหาในการเรียนวิชาทักษะ
• มีปัญหาในการสร้ างแนวความคิดรวบยอด
• การทดสอบผลการเรียนให้ ผลไม่ แน่ นอนมากแก่การ
พยากรณ์
• มีความบกพร่ องทางการรับรู้
• มีความบกพร่ องทางการเคลือ่ นไหว
• มีอารมณ์ ไม่ คงที
• โยกตัวหรือผงกศีรษะบ่ อยๆ
• ลักษณะการนอนไม่ คงที่
• มีพฒ
ั นาการทางร่ างกายไม่ คงที่
• มีพฤติกรรมไม่ คงเส้ นคงว่ า
• เสี ยสมาธิง่ายแสดงพฤติกรรมแปลกๆ
• มีปัญหาในการสร้ างความสั มพันธ์ กบั เพือ่ น
สาเหตุ
1.การได้ รับบาดเจ็บทางสมองเนื่องจากระบบประสาทส่ วนกลาง
ได้ รับบาดเจ็บไม่ สามารถทางานได้ เต็มที่
2.กรรมพันธุ์ เนื่องจากงานวิจัยจานวนมากระบุว่า ถ้ าหากพ่อแม่
ญาติ พีน่ ้ องที่ใกล้ ชิดเป็ นจะมีดอกาส ถ่ ายทอดทางพันธุ์กรรม
3.สิ่ งแวดล้ อม เป็ นสาเหตุอนื่ ๆ ที่ไม่ ใช่ การได้ รับบาดเจ็บทางสมอง
หรือกรรมพันธุ์ เช่ น การพัฒนาการช้ า เนื่องจากการได้ รับสารอาหาร
ไม่ ครบ ขาดสารอาหาร มลพิษ การเลีย้ งดู
ความบกพร่ อง
1.บกพร่ องทางการอ่ าน
• จาตัวอักษรไม่ ได้ จาตัวอักษรได้ แต่ อ่านเป็ นคาไม่ ได้
• ความสามารถในการอ่ านตา่ กว่ านักเรียนอืน่ ในชั้นเดียวกัน
• ระดับสติปัญญาอยู่ในเกณฑ์ เฉลีย่ หรือสู งกว่ าเกณฑ์
• เข้ าใจภาษาได้ ดหี ากได้ ฟังหรือมีคนอ่ านให้ ฟัง
• อ่ านคาโดยสลับตัวอักษร
• ไม่ สามารถแยกเสี ยงสระในคาได้
• ความสามารถในการอ่ านตา่ กว่ านักเรียนอืน่ ในชั้นเดียวกัน
• ระดับสติปัญญาอยู่ในเกณฑ์ เฉลีย่ หรือสู งกว่ าเกณฑ์
• เข้ าใจภาษาได้ ดหี ากได้ ฟังหรือมีคนอ่ านให้ ฟัง
• อ่ านคาโดยสลับตัวอักษร
• ไม่ สามารถแยกเสี ยงสระในคาได้
• ไม่ เข้ าใจว่ าตัวอักษรใดมาก่ อน – หลัง
• พูดไม่ เป็ นประโยค
• เด็กบางคนมีความไวในการฟัง
• เด็กบางคนอาจมีความไวในการใช้ สายตา
2.บกพร่ องทางการเขียน
• ไม่ สามารถลอกคาทีค่ รู เขียนบนกระดานลงบนสมุดได้
• เขียนประโยคตามครู ไม่ ได้
• ไม่ สามารถแยกรู ปทรงทางเรขาคณิตได้
• ใช้ สายตาในการจดจาสิ่ งของไม่ ได้ หรือได้ ไม่ ดี
• เขียนไม่ เป็ นคา อาจเป็ นสายเส้ น แต่ อ่านไม่ ได้
• เขียนเป็ นประโยคไม่ ได้
• เรียงคาไม่ ถูกต้ อง
• รู ปของตัวอักษรทีเ่ ขียนไม่ แน่ นอน
3.บกพร่ องทางคณิตศาสตร์
• มีปัญหาในการบอกความสั มพันธ์ แบบหนึ่งต่ อหนึ่ง
• ไม่ เข้ าใจความหมายของจานวน
• ไม่ เห็นความสั มพันธ์ ระหว่ างสิ่ งทีไ่ ด้ ยนิ กับสิ่ งทีม่ องเห็น
• ไม่ เข้ าใจปริมาณ เมือ่ ขนาดเปลีย่ นไป
• ทาเลขไม่ ได้ ไม่ ว่าจะเป็ นบวก ลบ คูณ หาร เพียงอย่ างเดียว
หรือทั้ง 4 อย่ าง
• ไม่ เข้ าใจความหมายของตัวเลขทีน่ ามาเรียงกันทาง
คณิตศาสตร์
• ไม่ สามารถปฏิบัตติ ามขั้นตอนในการคานวณได้
• ไม่ เข้ าใจในการอ่ านแผนและกราฟ
• มีปัญหาในการทาเลขโจทย์ ปัญหา
4.บกพร่ องทางกระบวนการคิด
• ไม่ สามารถบอกความแตกต่ างของสิ่ งทีม่ องเห็นได้
• ไม่ สามารถบอกความแตกต่ างของเสี ยงทีไ่ ด้ ยนิ
• ไม่ เห็นความสั มพันธ์ ระหว่ างส่ วนย่ อยกับส่ วนใหญ่
• มีความจาไม่ ดี ไม่ ว่าจะเป็ นความจาระยะสั้ นหรือระยะยาว
• ไม่ มคี วามมานะอดทนในการประกอบกิจกรรม
• จาสิ่ งทีม่ องเห็นได้ แต่ หากนาสิ่ งนั้นให้ พ้นสายตาแล้ ว
ก็ตามจะจาสิ่ งนั้นไม่ ได้ เลย
• ไม่ ชอบการเปลีย่ นแปลง
• มีพฤติกรรมเหมือนถูกควบคุมโดยสิ่ งอืน่ ทีอ่ ยู่ภายนอก
• ไม่ สนใจสิ่ งรอบตัว ไม่ อยู่นิ่ง
5.บกพร่ องทางการฟังและการพูด
•มีพฒ
ั นาการทางการพูดล่ าช้ า
•ไม่ เข้ าใจสั ญลักษณ์ ทางภาษา
•รู้ คาศัพท์ น้อย
•จาแนกเสี ยงพูดไม่ ได้
•ใช้ อวัยวะในการพูดไม่ ถูกต้ องทาให้ พดู ไม่ ชัด
•รู้ ว่าจะพูดอะไร แต่ พดู ออกเป็ นคาพูดไม่ ได้
•ไม่ เข้ าใจคาพูดของผู้อนื่
•พูดไม่ เป็ นประโยค พูดแล้ วคนอืน่ ฟังไม่ ร้ ู เรื่อง
เกณฑ์ การตัดสิ นว่ าเป็ นเด็กที่มีปัญหาทาง
การเรียนรู้หลักฐานทีใ่ ช้ ประกอบ
• การทดสอบทางสติปัญญา
• การทดสอบเกีย่ วกับขบวนการเบือ้ งต้ นทางจิตวิทยา
• การทดสอบเกีย่ วกับการรับรู้
• การสั งเกตอย่ างเป็ นระบบ
• การทางานของนักเรียน
• ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน
• หลักฐานเกีย่ วกับความบกพร่ องทางร่ างกาย
เทคนิคการสอนเด็กที่มีความบกพร่ อง
ทางการเรียนรู้
1.ให้ โอกาสเด็กได้ มบี ทบาทในการวางแผนการเรียน
2.ใช้ เทคนิคการเสริมแรง
3.อธิบายให้ เด็กเข้ าใจว่ าพฤติกรรมใดเป็ นพฤติกรรมที่ดี ทีค่ วร
แสดงออก พฤติกรรมใดทีไ่ ม่ ดไี ม่ เป็ นที่ยอมรับของสั งคม เด็ก
ไม่ ควรแสดงออก ครู และเพือ่ นๆไม่ ชอบ
4.ครู ควรนาเทคนิคในการปรับพฤติกรรมาใช้ อย่ างเป็ นระบบ
5.ครู ควรขอคาแนะนาและปรึกษาหารือกับผู้ปกครอง หรือ
ผู้เชี่ยวชาญ เพือ่ ช่ วยให้ เด็กได้ เรียนรู้ อย่ างมีประสิ ทธิผล
ยิง่ ขึน้
แหล่ งที่มา
http://www.youtube.com/watch?v=_IMKM-KRG8c&feature=related
http://biology.ipst.ac.th/index.php/aticle-2550/177-2009-12-23-0658-06.html
http://th.wikipedia.org/wiki