หน่วยที่ 4 พันธุกรรมและการใช้เทคโนโลยีชีวภาพ

Download Report

Transcript หน่วยที่ 4 พันธุกรรมและการใช้เทคโนโลยีชีวภาพ

หน่ วยที่ 4 พันธุกรรมและการใช้ เทคโนโลยีชีวภาพ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนออนไลน์
วิชาวิทยาศาสตร์ 4
โดย อาจารย์อมั พร ปรากฏมงคล
www.themegallery.com
LOGO
หน่ วยที่ 4
พันธุกรรมและการใช้ เทคโนโลยีชีวภาพ
แบบทดสอบ
ก่ อนการเรียนรู้
เนือ้ หา
หน่ วยที่ 4
แบบทดสอบ
หลังการเรียนรู้
Add Your Text
Add Your Text
www.themegallery.com
แบบทดสอบก่ อนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ 4 3000-1423
1. ลักษณะใดไม่ ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
1
ตาบอดสี
2
โรคเบาหวาน
3
โรคฮีโมฟี เลีย
4
ดาวน์ ซินโดรม
www.themegallery.com
แบบทดสอบก่ อนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ 4 3000-1423
2. ข้ อใดเป็ นจานวนโครโมโซมมยุษย์
1
46
2
48
3
44 xx
4
44 xy
www.themegallery.com
แบบทดสอบก่ อนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ 4 3000-1423
3. ข้ อใดเป็ นโครโมโซมเพศชาย
1
46
2
48
3
44 xx
4
44 xy
www.themegallery.com
แบบทดสอบก่ อนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ 4 3000-1423
4. ข้ อใดเป็ นโฮโมโลกัสโครโมโซม
1
46
2
48
3
44 xx
4
44 xy
www.themegallery.com
แบบทดสอบก่ อนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ 4 3000-1423
5. ลักษณะในข้ อใดเป็ นลักษณะด้ อย
1
ความสู ง
2
ตาสี นา้ ตาล
3
ผมเหยียดตรง
4
ถนัดมือขวา
www.themegallery.com
แบบทดสอบก่ อนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ 4 3000-1423
6. ถ้ าพันธุ์แท้ ผสมกับพันธุ์แท้ พันธุ์ลูก (F1) ทีไ่ ด้ คอื ข้ อใด
1
พันธุ์แท้ เหมือนเดิม
2
พันธุ์ทางเหมือนกันหมด
3
พันธุ์แท้ ครึ่งหนึ่ง พันธุ์ทางครึ่งหนึ่ง
4
พันธุ์แท้ เหมือนพ่ อหรือแม่ ทมี่ ลี กั ษณะเด่ น 1 ส่ วน และพันทาง 2 ส่ วน
www.themegallery.com
แบบทดสอบก่ อนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ 4 3000-1423
7. ความผิดปกติข่ องยีนที่โครโมโซม x ในเพศชาย จะทาให้ เกิดโรคใด
1
โรคไตรโซเมีย
2
โรคทางพันธุกรรม
3
โรคเทอร์ เนอร์
4
โรคไคลน์ เฟลเตอร์
www.themegallery.com
แบบทดสอบก่ อนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ 4 3000-1423
8. ข้ อใดเป็ น Hybridization ทีเ่ ป็ นไปได้
1
ม้ าผสมกับม้ า
2
ม้ าผสมกับวัว
3
ม้ าผสมกับลา
4
ม้ าผสมกับควาย
www.themegallery.com
แบบทดสอบก่ อนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ 4 3000-1423
9. ข้ อใดเป็ นวิธีการนายีนจากสิ่ งมีชีวิตต่ างๆทีไ่ ม่ ใช่ พชื มาใส่ ให้ พชื
เพือ่ เพิม่ ผลผลิตพืชตามที่ต้องการ
1
GMOS
2
Cloning
3
Recombinant
4
Hibridization
www.themegallery.com
แบบทดสอบก่ อนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ 4 3000-1423
10.วิธีการใดเป็ นกระบวนการย้ ายนิวเคลียสของเซลไข่ ออกแล้วใส่
นิวเคลียสซึ่งเป็ นของสั ตว์ ชนิดเดียวกัน
1
GMOS
2
Cloning
3
Recombinant
4
Hibridization
กลับเมนูหลัก
www.themegallery.com
พันธุกรรมและการใช้ เทคโนโลยีชีวภาพ
วิทยาศาสตร์ 4 3000-1423
เนือ้ หาวิชา
5
1
การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
2
การกาหนดเพศในสิ่ งมีชีวติ
3
ความผิดปกติของโครโมโซม
4
พันธุวศิ วกรรม
การใช้ เทคโนโลยีชีวภาพทีม่ ผี ลต่ อมนุษย์ และ
สิ่ งแวดล้ อม
www.themegallery.com
1.การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
VARIETY
พันธุศาสตร์
SPECIES
Genetics
พันธุกรรม
Heredity
www.themegallery.com
1.การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
พันธุกรรมหรือกรรมพันธุ์ ( Heredity )
พันธุกรรมหรือกรรมพันธุ์ หมายถึง การถ่ ายทอด ลักษณะต่ างๆ ของสิ่ งมีชีวติ จากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่น
หนึ่ง อัลลีน (Allele) หมายถึง ยีน 2 ยีนซึ่งอยู่ตาแหน่ งเดียวกันบนโครโมโซมคู่เหมือนกันโดยควบคุม
ลักษณะเดียวกัน
- ถ้ ามี gene เหมือนกันเรียกว่ า พันธุ์แท้ (homozygous)
- ถ้ ามี gene ไม่ เหมือนอยู่ด้วยกัน เรียกว่ าพันธุ์ทาง (heterozygous)
ลักษณะทางพันธุกรรม( Genetic Charactor) ถูกควบคุมโดย ยีน (Gene) อยู่บนโครโมโซม
(Chromesome) หรือสารพันธุกรรม DNA (Deoxyribonucleic Acid) ลูกจะได้ รับจากพ่ อครึ่งหนึ่งแม่ ครึ่งหนึ่ง
จีโนไทป์ (Genotype) หมายถึง ชุ ดของ gene ทีม่ าเข้ าคู่กนั ซึ่งสิ่ งมีชีวติ ได้ รับมาจากพ่ อและแม่
ฟี โนไทป์ (Phenotype) หมายถึง ลักษณะต่ าง ๆ ทีส่ ามารถแสดงออกมาให้ เห็นได้ เป็ นผลมาจาก genotype
และสิ่ งแวดล้ อม
www.themegallery.com
1.การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
พันธุกรรม
HEREDITY
หน่ วยทีม่ คี ุณสมบัติ
ควบคุมลักษณะต่ างๆ
ของสิ่ งมีชีวติ
เกีย่ วกับการถ่ ายทอด
ลักษณะของสิ่ งมีชีวติ จากรุ่ น
หนึ่งไปยังอีกรุ่ นหนึ่งต่ อ ๆ ไป
เรียกว่ าพันธุศาสตร์
(Genetics)
www.themegallery.com
1.การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
สารพันธุกรรม DNA
สารพันธุกรรม ( genetic materials) คือ สารชีวโมเลกุล
(Biomolecules) ที่ทาหน้ าที่เก็บข้ อมูลรหัสสาหรับการทางานของของ
สิ่งมีชีวติ ต่ าง ๆ เอาไว้ เช่ น เมื่อสิ่งมีชีวติ มีการสื บพันธุ์ จะมีการแบ่ งเซลล์
แบบไมโอสิส (meiosis) ก็จะมีการแบ่ งสารพันธุกรรมนีไ้ ปยังเซลล์ที่แบ่ งไป
แล้วด้ วย โดยยังคงมีข้อมูลครบถ้ วน
สารชีวโมเลกุลที่ทาหน้ าที่เป็ นสารพันธุกรรมในเซลล์ของสิ่งมีชีวติ ชั้นสู ง
สิ่ งมีชีวติ ส่ วนใหญ่ใช้ดีเอ็นเอสำหรับเก็บข้อมูลทำงพันธุกรรม
ซึ่งพบได้ จาก นิวเคลียส ของเซลล์ เรียกรวมว่า กรดนิวคลีอคิ (Nucleic
acids) โดยคุณสมบัตทิ างเคมีแบ่ ง กรดนิวคลีอคิ ได้ เป็ นสองชนิดย่ อย คือ อาร์
เอ็นเอ (RNA - Ribonucleic acid) และดีเอ็นเอ(DNA Deoxyribonucleic acid) สิ่งมีชีวติ ส่ วนใหญ่ มีสารพันธุกรรมเป็ น ดีเอ็นเอ
รหัสบนสารพันธุกรรม หากมีการถอดรหัส (Transcription) ออกมาได้ เรียกรหัส
ส่ วนนั้นว่ า ยีน (Gene)
www.themegallery.com
1.การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Gregor Johann Mendel บิดาแห่ งวิชาพันธุศาสตร์
เกรเกอร์ โจฮันน์ เมนเดล : Gregor Mende เกิด วันที่
27 กรกฎาคม ค.ศ. 18 ทีเ่ มืองโมราเวีย (Moravia) ประเทศ
สาธารณรัฐเชค (Republic of Czech) เสี ยชีวติ วันที่ 6
มกราคม ค.ศ. 1884 ทีเ่ มืองเบิร์น (Brunn) ประเทศ
สาธารณรัฐเชค (Republic of Czech)
ผลงาน - ค้ นพบลักษณะการถ่ ายทอดพันธุกรรม
ของสิ่ งมีชีวติ
- ให้ กาเนิดวิชาพันธุศาสตร์ (Genetices)
เมนเดลได้ รับการยกย่ องว่ าเป็ นบิดาแห่ งพันธุศาสตร์
ด้ วยผลงานการค้ นพบความลับทางธรรมชาติ ทีว่ ่ าด้ วยการ
ถ่ ายทอดลักษณะต่ าง ๆ ของพ่อแม่ ไปยังลูกหลาน หรือที่
เรียกว่ า กรรมพันธุ์ (Heredity)
www.themegallery.com
1.การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Gregor Johann Mendel บิดาแห่ งวิชาพันธุศาสตร์
จากกฎสรุปได้ ดงั นี้
พันธุ์แท้ ผสมกับพันธุ์แท้
พันธุ์ลูก( F1)ได้ พนั ธุ์แท้ เหมือนเดิมหมด
พ่ อแม่ พนั ธุ์แท้ ผสมกับแม่ หรือพ่อพันทาง
พันธุ์ลูก(F1)เหมือนพ่อครึ่งหนึ่งแม่ ครึ่งหนึ่ง
พ่อแม่ พนั ธุ์ทางผสมกัน
พันธุ์ลูก(F1)เป็ นพันธุ์แท้ เหมือนพ่อหรือแม่
มีลกั ษณะเด่ น 1 ส่ วน ลักษณะด้ วย 1 ส่ วนและ
พันทาง 2 ส่ วน
ได้ ทดลองโดยใช้ พชื ตระกูลถั่ว
www.themegallery.com
1.การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Gregor Johann Mendel บิดาแห่ งวิชาพันธุศาสตร์
จากกฎสรุปได้ ดงั นี้
พันธุ์แท้ ผสมกับพันธุ์แท้
พันธุ์ลูก( F1)ได้ พนั ธุ์แท้ เหมือนเดิมหมด
พ่ อแม่ พนั ธุ์แท้ ผสมกับแม่ หรือพ่อพันทาง
พันธุ์ลูก(F1)เหมือนพ่อครึ่งหนึ่งแม่ ครึ่งหนึ่ง
พ่อแม่ พนั ธุ์ทางผสมกัน
พันธุ์ลูก(F1)เป็ นพันธุ์แท้ เหมือนพ่อหรือแม่
มีลกั ษณะเด่ น 1 ส่ วน ลักษณะด้ วย 1 ส่ วนและ
พันทาง 2 ส่ วน
ได้ ทดลองโดยใช้ พชื ตระกูลถั่ว
www.themegallery.com
2.
การกาหนดเพศในสิ่ งมีชีวติ Determination of Sex
แบ่ งเป็ นเพศผู้และเพศเมียโดยมีความแตกต่ างกันจากความหมายของคาเหล่ านีท้ คี่ วรทราบ
Gene ยีน
Chromosome โครโมโซม
Sex Chromosome
โครโมโซมเพศ
การกาหนดเพศในสิ่ งมีชีวิต
Autosome
โครโมโซมร่ างกาย
www.themegallery.com
2. การกาหนดเพศในสิ่ งมีชีวต
ิ Determination of Sex
Gene ยีน
หน่ วยพันธุกรรม หรือ ยีน คือ ส่ วนหนึ่ง
ของโครโมโซม (Chromosome segment) ที่
ถอดรหัส (encode) ได้ เป็ นสาย ยีนสามารถ
เป็ นได้ ท้งั ดีเอ็นเอ หรือว่ า อาร์ เอ็นเอ ก็ได้
แต่ ในสิ่ งมีชีวติ ชั้นสู งนั้นจะเป็ นดีเอ็นเอ
หมดเพราะเสถียรมากเหมาะแก่ การเก็บข้ อมูล
ขณะทีอ่ าร์ เอ็นเอ จะพบในพวกไวรัส ยีน
ทั้งหมดของสิ่ งมีชีวติ หรือเซลล์ จะรวมเรียกว่ า
จีโนม
ภาพยีน GENE
www.themegallery.com
2. การกาหนดเพศในสิ่ งมีชีวต
ิ Determination of Sex
โครโมโซม Chromosome
โครโมโซม (chromosome) เป็ นทีอ่ ยู่ของยีน ซึ่งทา
หน้ าทีค่ วบคุมและถ่ ายทอดข้ อมูล เกีย่ วกับลักษณะทาง
พันธุกรรมต่ างๆ ของสิ่ งมีชีวติ เช่ น ลักษณะของเส้ นผม
ลักษณะดวงตา เพศ และผิว จากการศึกษาลักษณะ
โครโมโซม จะต้ องอาศัยการดูด้วยกล้ องจุลทรรศน์ ที่
กาลังขยายสู งๆ จึงจะสามารถ มองเห็นรายละเอียดของ
โครโมโซมได้
ในภำวะปกติเมื่อมองผ่ำนกล้องจุลทรรศน์จะเห็นโครโมโซมมีลกั ษณะ
คล้ำยเส้นด้ำยบำงๆ เรี ยกว่ำ “โครมำติน (chromatin) ” ขดตัวอยูใ่ น
นิวเคลียส
ภาพโครโมโซม Chromosome
www.themegallery.com
2.
การกาหนดเพศในสิ่ งมีชีวติ Determination of Sex
แบ่ งเป็ นเพศผู้และเพศเมียโดยมีความแตกต่ างกันจากความหมายของคาเหล่ านีท้ คี่ วรทราบ
โครโมโซมเพศ
โครโมโซมร่ างกาย
Sex Chromosome
Autosome
สาหรับโครโมโซมทีเ่ หลืออีก 1 คู่จากทั้งหมด 23
คู่ จะเป็ นโครโมโซมที่ทาหน้ าที่กาหนดเพศ เรียกว่า
โครโมโซมเพศ (Sex chromosome) โดยโครโมโซม
จะเป็ นการจับคู่กนั ของโครโมโซม 2 ตัวที่มีลกั ษณะ
ต่ างกันคือ โครโมโซม X เป็ นตัวกาหนดเพศหญิง
และโครโมโซม Y เป็ นตัวกาหนดเพศชาย ซึ่งมีขนาด
เล็กกว่าโครโมโซม X
สาหรับในมนุษย์ มจี านวนโครโมโซม 46
โครโมโซม หากนามาจัดเป็ นคู่จะได้ 23 คู่ซึ่งจะมี
22 คู่ ทีเ่ หมือนกันในเพศชายและเพศหญิงเราจะ
เรียกคู่โครโมโซมเหล่ านีว้ ่ า โครโมโซมร่ างกาย
(autosome) ซึ่งจะมีบทบาทในการกาหนดลักษณะ
ทางพันธุกรรมต่ างๆในร่ างกาย
www.themegallery.com
2.
การกาหนดเพศในสิ่ งมีชีวติ Determination of Sex
การเกิดเพศหญิงเพศชาย
เพศชาย
เพศหญิง
เซลล์เพศที่ถูกสร้ างขึน้ มาแต่ ละเซลล์จะมีโครโมโซมเพศเพียงชุดเดียวโดยที่เซลล์สืบพันธุ์เพศชาย (สเปิ ร์ ม) จะมีเซลล์
สืบพันธุ์ ซึ่งมีโครโมโซม 2 ชนิด คือ 22+X หรือ 22+Y ส่ วนเซลล์สืบพันธุ์ของเพศหญิงจะมีโครโมโซมได้ เพียงชนิดเดียว คือ
22+X ดังนั้นโอกาสในการเกิดทารกเพศหญิง (โครโมโซม 44+XX) หรือทารกเพศชาย (โครโมโซม 44+XY) จึงเท่ ากัน ขึน้ อยู่กบั
สเปิ ร์ มที่เข้ าผสมกับไข่ จะเป็ นสเปิ ร์ มชนิดใด
โครโมโซมในร่ างกายมนุษย์ มีท้งั หมด 46 แท่ ง
แบ่ งเป็ น
1.โครโมโซมร่ างกาย (autosome) จานวน 44 แท่ ง
2.โครโมโซมเพศ (sex chromosome) จานวน 2
แท่ ง มีรูปแบบเป็ น XX หรือ XY
มนุษย์ ผู้หญิง มีโครโมโซม 44+XX แท่ ง
มนุษย์ ผู้ชาย มีโครโมโซม 44+XY แท่ ง
เซลล์ไข่
มีโครโมโซม 22+X
แท่ ง
เซลล์อสุ จิ มีโครโมโซม 22+X แท่ ง หรือ 22+Y แท่ ง
www.themegallery.com
3.
ความผิดปกติของโครโมโซมในคน
ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ( Sex Chrosome)
กลุ่มทีม่ คี วามผิดปกติของโครโมโซมเพศ
1. อาการไคลน์ เฟลเตอร์ ซินโดรม (Klinefelter , s Syndrome)
โครโมโซมเพศแบบ
XXXY
โครโมโซมเพศชายคู่ที่ 23 มีโครโมโซม x เพิม่ ขึน้ มา 1 อันทาให้ โครโมโซมคู่ที่ 23 เป็ น 44+xxy = 47 โครโมโซม
www.themegallery.com
3.
ความผิดปกติของโครโมโซมในคน
ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ( Sex Chrosome)
กลุ่มทีม่ คี วามผิดปกติของโครโมโซมเพศ
2. อาการเทอร์ เนอร์ ซินโดรม (turner, s Syndrome)
เกิดในเพศหญิง มีโครโมโซมเพศคู่ที่ 23 มีโครโมโซม x อีกอันเป็ น 0 เนื่องจากผสมกับเซลอสุ จทิ ี่ไม่ มีโครโมโซมเพศ
ทาให้ มีโครโมโซมเป็ น 44+x0 = 45 โครโมโซม
www.themegallery.com
3.
ความผิดปกติของโครโมโซมในคน
ความผิดปกติของโครโมโซมร่ างกาย (Autosome)
กลุ่มทีม่ คี วามผิดปกติของโครโมโซมร่ างกาย เป็ นความผิดปกติทไี่ ม่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
1. เด็กทีม่ อี าการดาวน์ ซินโดรม (Down, s Syndrome)
โครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ ง
www.themegallery.com
3.
ความผิดปกติของโครโมโซมในคน
ความผิดปกติของโครโมโซมร่ างกาย (Autosome)
กลุ่มทีม่ คี วามผิดปกติของโครโมโซมร่ างกาย เป็ นความผิดปกติทไี่ ม่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
2. อาการไคร์ ดูชาต์ ซินโดรม (Cri-Du-Chat Syndrome)
โครโมโซมคู่ที่ 5 ขาดหายไป 1 แต่ มีโครโม โซมครบ 46 เหมือนคนปกติ
www.themegallery.com
3.
ความผิดปกติของโครโมโซมในคน
ความผิดปกติทถี่ ่ ายทอดทางพันธุกรรม
โรคตาบอดสี
www.themegallery.com
3.
ความผิดปกติของโครโมโซมในคน
ความผิดปกติทถี่ ่ ายทอดทางพันธุกรรม
โรคฮีโมฟิ เลีย
ภาวะเลือดออกง่ าย หรือเลือดออกแล้วหยุดยาก อาจมีสาเหตุจากความผิดปกติ
ของหลอดเลือด เกล็ดเลือด (platelets) หรือระบบการแข็งตัวของเลือด
(coaglulation system)ลักษณะของเลือดออกทีเ่ กิดขึน้ ตามผิวหนัง อาจเป็ นจุดแดง
ขนาด 1 มิลลิเมตรหรือเท่ าปลายเข็มหมุด หรือเท่ าปลายนิว้ หรือเป็ นก้อนนูน
(hematoma)
โดยทัว่ ไป ถ้ ามีสาเหตุจากหลอดเลือดผิดปกติ (เช่ น หลอดเลือดเปราะ ในผู้ป่วย
ไข้ เลือดออก มักจะเกิดเป็ นจุดแดงหรือจา้ เขียวตืน้ ๆ
ถ้ าเกิดจากเกล็ดเลือดผิดปกติ (เช่ น เกล็ดเลือดต่าในผู้ป่วยไข้ เลือดออก, โลหิต
จางอะพลาสติก, มะเร็งเม็ดเลือดขาว, เอสแอลอี, ไอทีพ)ี มักเกิดเป็ นจุดแดงซึ่งอาจมี
จา้ เขียวร่ วมด้ วยหรือไม่ กไ็ ด้
ถ้ าเกิดจากระบบการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ (เช่ น ฮีโมฟิ เลีย, ตับแข็ง, ภาวะ
ไตวาย, งูพษิ กัด) มักเกิดเป็ นจา้ เขียว หรือก้อนนูน โดยไม่ มจี ุดแดงร่ วมด้ วย
www.themegallery.com
3.
ความผิดปกติของโครโมโซมในคน
ความผิดปกติทถี่ ่ ายทอดทางพันธุกรรม
โรคฮีโมฟิ เลีย
โรคธาลัสซีเมีย คือ โรคซีดชนิดหนึ่งทีส่ ามารถติดต่ อ
ได้ โดยทางกรรมพันธุ์ และมีการสร้ างฮีโมโกลบิน ทาให้
เม็ดเลือแดงมีลกั ษณะผิดปรกติและแตกง่ าย ก่ อให้ เกิด
อาการซีด เลือดจางเรื้อรัง และมีภาวะแทรกซ้ อนอื่นๆ
ส่ วนใหญ่ ผู้ทเี่ ป็ นโรคนีจ้ ะได้ รับยีนทีผ่ ดิ ปรกติของพ่อ
และแม่
เม็ดเลือดที่ปกติ
เม็ดเลือดแดงที่มีเบต้ าธาลัสซีเมีย-ฮีโมโกลบิน
www.themegallery.com
4.
มิวเตชั่น (Mutation)
มิวเตชั่น (Mutation)เป็ นการเกิกพันธุ์ใหม่ หรือการผ่าเหล่า หมายถึงลักษณะของสิ่งมีชีวติ ทีเ่ กิดมาใหม่แตกต่ างจากลักษณะเดิม
1
2
มิวเตชันของเซลล์ ร่างกาย เกิดขึน้ ตามเซลล์
ของร่ างกายเมือ่ เกิดขึน้ แล้ วไม่ มกี ารถ่ ายทอด
จะตายไปพร้ อมกับเจ้ าของ
มิวเตชันของเซลล์ สืบพันธุ์ เกิดขึน้ กับเซลล์
สื บพันธุ์ เมือ่ เกิดขึน้ แล้ วถ่ ายทอดลักษณะ
ต่ อไปยังลูกหลาน
www.themegallery.com
พันธุวศิ วกรรม (Genetic Engineering)
5.
พันธุวศิ วกรรม เป็ นกระบวนการปรับปรุงพันธุ์สิ่งมีชีวติ โดยนา ยีนจากสิ่งมีชีวติ ชนิดพันธุ์หนึ่ง
(species) ถ่ ายฝากเข้ าไปอีกชนิดพันธุ์หนึ่ง เพือ่ จุดประสงค์ ทจี่ ะปรับปรุ งสายพันธุ์ให้ ดขี นึ้ กระบวนการ
ดังกล่ าวไม่ ได้ เกิดขึน้ ตามธรรมชาติ สิ่ งมีชีวติ ดังกล่ าวมีชื่อเรียกว่ า GMO (genetically modified
organism) ตัวอย่างการวิจัยและพัฒนา รวมถึงการใช้ ประโยชน์ เชิงการค้ามีมากมาย
www.themegallery.com
พันธุวศิ วกรรม (Genetic Engineering)
5.
พืช GMOS 5 ชนิดทีไ่ ด้ รับการยอมรับว่ าปลอดภัยสาหรับการบริโภค สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สหภาพ
ยุโรปสวิตเซอร์ แลนด์ ได้ รับอนุญาตให้ นามาใช้ ในเชิงพาณิชย์
มันฝรั่ง
ถั่วเหลือง
เรพ(เมล็ดพืชนา้ มัน)ทีท่ นทานต่ อสารกาจัดวัชพีช
ข้ าวโพด
www.themegallery.com
6. การใช้ เทคโนโลยีชีวภาพทีม
่ ีผลต่ อมนุษย์ และสิ่ งแวดล้ อม
การผสมพันธุ์ต่างสายพันธุ์ (Hybridization)
ม้ าตัวเมีย
ลาตัวผู้
ล่อ เรียกว่ า Mule
ผสม
www.themegallery.com
6. การใช้ เทคโนโลยีชีวภาพทีม
่ ีผลต่ อมนุษย์ และสิ่ งแวดล้ อม
การผสมพันธุ์ต่างสายพันธุ์ (Hybridization)
ม้ าตัวผู้
ลาตัวเมีย
ล่อ เรียกว่ า hinny
ผสม
www.themegallery.com
6. การใช้ เทคโนโลยีชีวภาพทีม
่ ีผลต่ อมนุษย์ และสิ่ งแวดล้ อม
เทคนิคในการตัดต่ อยีน (Recombinant DNA)
ตัดยีน ( DNA ) จากผู้ให้ + DNA ของตัวกลาง
เทคนิคในการตัดต่ อยีน
ใส่
ผู้รับเพือ่ สร้ างสารโปรตีน
นาสารทีไ่ ด้ ไปทาให้ บริสุทธิ์
(Recombinant DNA) สาหรั บพันธุ วศ
ิ วกรรมได้ พฒ
ั นาเทคนิค
วิชาการต่ าง ๆจนเป็ นทีร่ ้ ูจักทัว่ ไป คือ เทคนิคลีคอมบิแนนท์ ดีเอ็นเอ
www.themegallery.com
6. การใช้ เทคโนโลยีชีวภาพทีม
่ ีผลต่ อมนุษย์ และสิ่ งแวดล้ อม
เทคนิคในการโคลนนิ่ง (Cloning)หรือการปลูกถ่ ายพันธุกรรม
www.themegallery.com
แบบทดสอบหลังการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ 4 3000-1423
1.วิธีการใดเป็ นกระบวนการย้ ายนิวเคลียสของเซลไข่ ออกแล้ วใส่
นิวเคลียสซึ่งเป็ นของสั ตว์ ชนิดเดียวกัน
1
GMOS
2
Cloning
3
Recombinant
4
Hibridization
กลับเมนูหลัก
www.themegallery.com
แบบทดสอบก่ อนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ 4 3000-1423
2. ข้ อใดเป็ นวิธีการนายีนจากสิ่ งมีชีวิตต่ างๆทีไ่ ม่ ใช่ พชื มาใส่ ให้ พชื
เพือ่ เพิม่ ผลผลิตพืชตามที่ต้องการ
1
GMOS
2
Cloning
3
Recombinant
4
Hibridization
www.themegallery.com
แบบทดสอบก่ อนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ 4 3000-1423
3. ข้ อใดเป็ น Hybridization ทีเ่ ป็ นไปได้
1
ม้ าผสมกับม้ า
2
ม้ าผสมกับวัว
3
ม้ าผสมกับลา
4
ม้ าผสมกับควาย
www.themegallery.com
แบบทดสอบก่ อนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ 4 3000-1423
4. ความผิดปกติข่ องยีนที่โครโมโซม x ในเพศชาย จะทาให้ เกิดโรคใด
1
โรคไตรโซเมีย
2
โรคทางพันธุกรรม
3
โรคเทอร์ เนอร์
4
โรคไคลน์ เฟลเตอร์
www.themegallery.com
แบบทดสอบก่ อนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ 4 3000-1423
5. ถ้ าพันธุ์แท้ ผสมกับพันธุ์แท้ พันธุ์ลูก (F1) ทีไ่ ด้ คอื ข้ อใด
1
พันธุ์แท้ เหมือนเดิม
2
พันธุ์ทางเหมือนกันหมด
3
พันธุ์แท้ ครึ่งหนึ่ง พันธุ์ทางครึ่งหนึ่ง
4
พันธุ์แท้ เหมือนพ่ อหรือแม่ ทมี่ ลี กั ษณะเด่ น 1 ส่ วน และพันทาง 2 ส่ วน
www.themegallery.com
แบบทดสอบก่ อนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ 4 3000-1423
6. ลักษณะในข้ อใดเป็ นลักษณะด้ อย
1
ความสู ง
2
ตาสี นา้ ตาล
3
ผมเหยียดตรง
4
ถนัดมือขวา
www.themegallery.com
แบบทดสอบก่ อนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ 4 3000-1423
7. ข้ อใดเป็ นโฮโมโลกัสโครโมโซม
1
46
2
48
3
44 xx
4
44 xy
www.themegallery.com
แบบทดสอบก่ อนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ 4 3000-1423
8. ข้ อใดเป็ นโครโมโซมเพศชาย
1
46
2
48
3
44 xx
4
44 xy
www.themegallery.com
แบบทดสอบก่ อนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ 4 3000-1423
9. ข้ อใดเป็ นจานวนโครโมโซมมยุษย์
1
46
2
48
3
44 xx
4
44 xy
www.themegallery.com
แบบทดสอบก่ อนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ 4 3000-1423
10. ลักษณะใดไม่ ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
1
ตาบอดสี
2
โรคเบาหวาน
3
โรคฮีโมฟี เลีย
4
ดาวน์ ซินโดรม
กลับเมนูหลัก
www.themegallery.com
AJ . Amporn prakotmongekol
www.themegallery.com
กลับเมนูหลัก
LOGO