ปัญหาข้อเสื่อม - คณะเทคนิคการแพทย์

Download Report

Transcript ปัญหาข้อเสื่อม - คณะเทคนิคการแพทย์

ปัญหาข้ อเสื่ อม : การป้องกันและการดูแล
อาทิตย์ พวงมะลิ
ภาควิชากายภาพบาบัด
คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ข้อเข่าเสื่ อม (Osteoarthritis):
สาเหตุ:
- จากสภาพความเสื่ อม (degenerative change)
(อายุ 40-50 ปี ขึ้นไป, ~ 1 ใน 10 คน, หญิงมากกว่าชาย)
- จากประวัติการบาดเจ็บต่อข้อต่อ (traumatic arthritis)
พบในอายุนอ้ ยได้ มีประวัติการได้รับบาดเจ็บต่อข้อต่อหรื อ
กระดูกหักเข้าข้อมาก่อน
- จากประวัติการติดเชื้อข้อต่อ (infection arthritis)
- ปัจจัยเสริ มอื่นๆ
เช่น กรรมพันธุ์ กล้ามเนื้อไม่แข็งแรง อ้วนน้ าหนักมาก ใช้งานของ
ข้อต่อหนักตรากตรา
ข้อเข่าเสื่ อม (Osteoarthritis):
อาการ:
-มีจุดหรื อแนวกดเจ็บ ปวด โดยเฉพาะในท่าที่มีแรงอัดต่อข้อต่อ
เช่น นัง่ ยอง คุกเข่า นัง่ พื้น
-อาจมีบวมหรื ออักเสบเป็ นบางช่วง
-ข้อฝื ด ติดแข็ง(โดยเฉพาะหลังจากที่อยูท่ ่าใดท่าหนึ่งนานๆ เช่น ตื่นนอน)
-มีเสี ยงลัน่ หรื อกร๊ อบแกร็ บในข้อ
-จากัดการเคลื่อนไหว และการทางาน
ข้อเข่าเสื่ อม (Osteoarthritis):
พยาธิสภาพ: (ตรวจร่ างกาย + X-ray)
- มีอาการปวดอย่างค่อยเป็ นค่อยไป มักเกิดกับข้อต่อ
ที่มีการรับน้ าหนักหรื อเสี ยดสี สูง (ข้อเข่า, สะโพก,
กระดูกสันหลังส่ วนคอ, หลัง, ข้อนิ้วมือ)
- เกิดการทาลายของกระดูกอ่อนผิวข้อ
(articular cartilage > capsule)
- น้ าเลี้ยงไขข้อลดลง ข้อฝื ดขยับยาก, เสี ยงลัน่
- ช่องว่างระหว่างข้อต่อแคบลง
- ข้อปูดใหญ่ (กระดูกงอก), ผิดรู ป
ACR,2010
ข้ อเข่ าปกติ (normal knee)
ข้ อเข่ าเสื่ อม
(osteoarthritic
knee)
OA knee
การรักษาข้ อเข่ าเสื่ อม (osteoarthritic knee)
- ให้ ความรู้ ในการดูแลตนเอง
- อุปกรณ์ ช่วยพยุงข้ อต่ อ เครื่องช่ วยเดิน
- การกายบริหาร*
- หัตถการ (ขยับข้ อต่ อ นวด)
- การประคบ (ร้ อนหรือเย็น)
- กระตุ้นไฟฟ้า เครื่องมือทางกายภาพบาบัดเพือ่ ลดปวด ลดอักเสบ เช่ น TENS, IF, SWD
- การรักษาด้ วยยา (ลดปวด ลดอักเสบ เช่ น Paracetamol, NSAIDs, COX-2 inhibitor, opioid)
- การฝั่งเข็มเพือ่ ลดปวด ลดอักเสบ
- ดูดนา้ เลือดออกจากข้ อ (joint aspiration)
- การฉีดเข้ าข้ อด้ วย hyaluronic acid, glucosamine & chondroitin sulphate
การรักษาข้ อเข่ าเสื่ อม (osteoarthritic knee)
ในรายที่เป็ นรุ นแรง:
- ฉีดสเตอรอยด์เข้าข้อ
- ผ่าตัดด้วยการส่ องกล้อง
- ผ่าตัดต่อกระดูก
- เปลี่ยนข้อเทียม
แบบประเมินภาวะข้อเข่าเสื่ อมด้วยตนเอง
[ ] อายุมากกว่า 50 ปี
[ ] มีอาการข้อขัดขยับยากในตอนเช้า (แต่ไม่เกิน 30 นาที)
[ ] มีเสี ยงลัน่ กร๊ อบแกร๊ บในข้อต่อเวลาขับเคลื่อนไหว
[ ] มีจุดกดเจ็บตามแนวร่ องข้อเข่า
[ ] กระดูกรอบข้อเข่ามีขนาดใหญ่หนาตัวขึ้น
[ ] อุณหภูมิของข้อเข่าสูงขึ้นเล็กน้อยแต่ไม่สูงนักเมื่อเทียบกับบริ เวณข้างเคียง
[ ] ปวดข้อเข่าเกือบทุกวันในช่วง 1 เดือนที่ผา่ นมา
ACR, 2010
การปฏิบัติตนและแนวทางการดูแลรักษาด้ วยตนเอง:
-เลี่ยงแรงกดอัดต่อข้อต่อ
เช่น นัง่ กับพื้น
-ควบคุมน้ าหนัก
เพื่อลดแรงกระแทก
(ช่วงแถบสี ฟ้า)
*น้ าหนักลด 1 ปอนด์
ลดแรงกดต่อข้อเข่า
ขณะเดินได้
ถึง 4 ปอนด์ (Messier et al , 2005)
*ลดปั จจัยเสี่ ยงและอาการได้กว่า 50%
(Felson et al, 1992; Bartlett et al, 2004)
การปฏิบัติตนและแนวทางการดูแลรักษาด้ วยตนเอง:
(ต่ อ)
- ประเมินภาวะอักเสบ (inflammation)
- ถ้ามีการอักเสบใช้หลักการ R.I.C.E.
- เลี่ยง H.A.R.M. ในช่วงที่มีการอักเสบ
ภาวะอักเสบ (> 2 ใน 4 อาการ):
* ปวดระบม
* บวม
* แดง
* ร้อน
การปฏิบัติตนและแนวทางการดูแลรักษาด้ วยตนเอง:
(ต่ อ)
ให้ใช้หลักการ R.I.C.E. ในช่วงที่มีการอักเสบ
R.I.C.E.
(Rest, Ice< Compression, Elevation)
(หยุด, เย็น, ยุบ, ยก):
- R (หยุดพักส่ วนร่ างกายนัน่ ตามปกติชวั่ คราว)
- I (ใช้ความเย็นควบคุมการอักเสบ) ประคบ 5-15 นาที วันละ 3-4 ครั้ง
- C (กดพันกระชับให้ยบุ บวม)
- E (ยกส่ วนที่บวมนัน่ ให้สูง)
R.I.C.E.D. (Ice, Cryocuff)
การปฏิบัติตนและแนวทางการดูแลรักษาด้ วยตนเอง:
(ต่ อ)
ห้ามทาสิ่ งที่ H.A.R.M. ในช่วงที่มีการอักเสบ
H.A.R.M.:
* Heat (ห้ามประคบร้อน)
* Alcohol (เลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์)
* Relative running (ใช้งานอย่างหนัก)
* Massage (งดการนวดเฟ้ น)
การออกกาลังกายและการกายบริ หารสาหรับผูท้ ี่มีขอ้ เข่าเสื่ อม
-ควรเน้นเสริ มความแข็งแรงกระชับกล้ามเนื้อรอบข้อต่อ
-ใช้หลักการทาน้อยแต่บ่อยครั้ง (จะทาให้ไม่ลา้ จนเกินไปและไม่ระบม)
-ควรเป็ นการออกกาลังกายที่มีแรงกระแทกต่อข้อต่อให้นอ้ ยที่สุด
เดิ
น
เร็
ว
ปั่นจักรยาน
วารี
บ
าบั
ด
เต้นX
แอโรบิค
ว่ายน้ า กายบริ หาร
วิง่ สปริ
น
ท์
้
X
ไทชี จี้กง ไทเก็ก
การกายบริหารสาหรับภาวะข้ อเข่ าเสื่ อม
มัณฑนา, เฉลิมชาติ 2550
ท่ างอเข่ างอสะโพก:
ทาเท่าที่ไม่เจ็บ ทา 10 ครั้ง, 2-3 เซต, วันละ 3 เวลา แล้วสลับข้าง
(ถ้าไหวก็คา้ งไว้ในช่วงสุ ดท้าย 5-15 วินาที)
การกายบริหารสาหรับภาวะข้ อเข่ าเสื่ อม
มัณฑนา, เฉลิมชาติ 2550
ท่ าเหยียดเข่ ายืดกล้ามเนือ้ :
นอนหงายชันเข่า ประคองใต้ขอ้ พับ ออกแรงเหยียดเข่าขึ้นช้าๆ
ทาเท่าที่ได้ (แค่รู้สึกตึงแต่ตอ้ งไม่เจ็บ) ทา 10 ครั้ง, 1-2 เซต, วันละ 3 เวลา แล้ว
สลับข้าง (ถ้าไหวก็คา้ งไว้ในช่วงสุ ดท้าย 5-15 วินาที)
ไม่ควรกั้นหายใจโดยให้นบั ออกเสี ยงเบาๆ
การกายบริหารสาหรับภาวะข้ อเข่ าเสื่ อม
NAU, 2011
ท่ าเขม่ วพุงยกก้ นขึน้ :
นอนหงายชันเข่า แขนวางข้างลาตัว หายใจเข้าท้องป่ อง หายใจออกท้องแฟ๊ บ
แล้วเขม่วพุงและยกก้นขึ้นช้าๆ แค่พน้ พื้น ทา 10 ครั้ง, 1-2 เซต,
วันละ 3 เวลา (ถ้าไหวก็คา้ งไว้ในช่วงสุ ดท้าย 5 วินาที หากเหนื่อยให้
พักยกได้ตลอด) ควรหายใจตามปกติหา้ มกั้นหายใจโดยให้นบั ออกเสี ยงเบาๆ
การกายบริหารสาหรับภาวะข้ อเข่ าเสื่ อม
มัณฑนา, เฉลิมชาติ 2550
ท่ ากดเข่ าเหยียดตรง:
นัง่ ชันเขา ส่ วนข้างที่มีอาการตึงให้เหยียดตรง โน้มตัวและเอื้อมมือทั้งสองข้าง
วางไว้บนและล่างต่อกระดูกสะบ้า ออกแรงกดเข่าลงสู่ พ้นื ช้าๆโดยทาเท่าที่ทา
ได้และค้างไว้ 15-30 วินาที (แค่รู้สึกตึงแต่ตอ้ งไม่เจ็บ) ทา 10 ครั้ง, 1-2 เซต,
วันละ 3 เวลา
การกายบริหารสาหรับภาวะข้ อเข่ าเสื่ อม
**ท่ าเกร็งกล้ามเนือ้ เหยียดเข่ า:
นัง่ เอาหมอนรองเข่า หรื อนัง่ ห้อยขา กระดกข้อเท้าขึ้น
และออกแรงเกร็ งสะบ้าเพื่อยกส้นเท้าขึ้นจากพื้นช้าๆ
(กดเข่าลงห้ามยกเข่าลอย และไม่ควรสะบัดเหวีย่ งขา)
ทาเท่าที่ไม่เจ็บ ทา 10 ครั้ง, 2-3 เซต, วันละ 3 เวลา
แล้วสลับข้าง (ถ้าไหวให้เกร็ งค้างไว้ในช่วงสุ ดท้าย 510 วินาที)
ไม่ควรกั้นหายใจโดยให้นบั ออกเสี ยงเบาๆ
มัณฑนา, เฉลิมชาติ 2550
การกายบริหารสาหรับภาวะข้ อเข่ าเสื่ อม
Kalgidim, 2011
ท่ ายืด-ย่อ:
จะใช้ท่าลุกขึ้น-ลงนัง่ เก้าอี้มือยันพยุงหน้าขาไว้ หรื อย่อเข่าหลังชิดกาแพงแขน
ประคองฝาผนังแล้วยืด-ย่อก็ได้ เริ่ มจากวางเท้าประมาณช่วงกว้างของไหล่ เขม่วพุง
เล็กน้อยและควรยืด-ย่อเข่าขึ้น-ลงช้าๆ ทาในช่วงมุมที่ไม่เจ็บ โดยข้อเท้าควรอยูห่ ลัง
ต่อแนวข้อเข่าเล็กน้อย ทา 10 ครั้ง, 1-2 เซต, วันละ 3 เวลา (หากเหนื่อยให้พกั ยกได้
ตลอด) ควรหายใจตามปกติหา้ มกั้นหายใจโดยให้นบั ออกเสี ยงเบาๆ
การกายบริหารสาหรับภาวะข้ อเข่ าเสื่ อม
มัณฑนา, เฉลิมชาติ 2550
ท่ าย่อเข่ า:
วางเท้าประมาณช่วงกว้างของไหล่ มือจับพยุงเก้าอี้ไว้เพื่อการทรงตัว
เขม่วพุงเล็กน้อยและย่อเข่าลงช้าๆ โดยทาในช่วงมุมที่ไม่เจ็บ โดยข้อเท้าควร
อยูห่ ลังต่อแนวข้อเข่าเล็กน้อย ทา 10 ครั้ง, 1-2 เซต, วันละ 3 เวลา (ถ้าไหวให้
เกร็ งค้างย่อไว้ในช่วงสุ ดท้าย 5-10 วินาที) หากเหนื่อยให้พกั ยกได้ตลอด)
ควรหายใจตามปกติหา้ มกั้นหายใจโดยให้นบั ออกเสี ยงเบาๆ
การกายบริหารสาหรับภาวะข้ อเข่ าเสื่ อม
รัศมีธรรม, 2554
ท่ ายืนย่อแกว่ งแขน:
วางเท้าประมาณช่วงกว้างของไหล่ ยอเข่าเล็กน้อยประมาณ 5-10 เขม่วพุง
เล็กน้อยและทรงตัวไว้ แกว่งแขนขึ้น-ลงพร้อมๆ กัน โดยให้ลาตัวอยูน่ ิ่ง
ทา 10 ครั้ง, 1-2 เซต, วันละ 3 เวลา ควรหายใจตามปกติหา้ มกั้นหายใจโดยให้
นับออกเสี ยงเบาๆ (สาหรับผูท้ ี่มีอาการปวดไหล่ควรแกว่งแขนในช่วงที่ไม่มี
อาการปวด)
Thank You !!