บ่วงสายธนู ๒ ชั้น(ต่อ)
Download
Report
Transcript บ่วงสายธนู ๒ ชั้น(ต่อ)
วัตถุประสงค์
ในบทเรียนนี้ จะได้ รับความรู้และทักษะทั้งหมดอย่ างสมบูรณ์ ในการใช้ เชือก
ถ้ าทาดังต่ อไปนี้
1. ได้ ทราบความหมายของเชือก และประโยชน์
ได้ ทราบวัสดุ 3 ประเภท ทีน่ ามาทาเชือก พร้ อมลักษณะของเชือก
แต่ ละชนิด
2. วิธีการคานวณการรับนา้ หนักเชือก โดยใช้ สูตรคานวณและเชือก 3 ประเภท
รวมทั้งเชือกเก่าและเชือกใหม่ ได้
3. สามารถผูกเชือกได้ 3 กลุ่ม หรือ 10 เงื่อน ได้ ทุกคน และรวดเร็ว
เชือก
หมายถึง วัสดุอย่ างหนึ่งทีน่ ามาผูกรัดสิ่ งต่ าง ๆ ให้ อยู่
ด้ วยกัน มิให้ หลุดไปจากกัน นับว่ ามนุษย์ ได้ ประโยชน์ จาก
เชือกนานับประการ คนไทยรู้ จักการใช้ เชือกตั้งแต่ เกิดจน
ตาย เกิดผูกสะดือ ตายมัดตราสั ง หามโลงศพไปยัง
จุดหมาย และอะไรต่ อมิอะไร อีกนานับประการ
เชือกได้ มาจากอะไรบ้ าง
- เชือกได้ มาจากพืช
เช่ น เถาวัลย์ หวาย ฝ้ าย นุ่น กาบมะพร้ าว เปลือกไม้ ปอ ป่ านมะนิลา (บาง
ประเทศเรียกแตกต่ างกันออกไป เช่ น ฟิ ลิปปิ นส์ เรียกมะนิลาว่ า อะบากา และใน
คิวบา เรียกว่ า ซิเชล) เป็ นต้ น เชือกทีน่ ิยมใช้ ในงานทัว่ ๆ ไป มาจากเชื อกทีท่ าจาก
ปอ กาบมะพร้ าว ขนสั ตว์ ฝ้ าย เชือกไนล่อน และทาจากป่ านมะนิลา
- เชือกทีม่ าจากสั ตว์
เช่ น หนัง ขน เอ็น หางสั ตว์ เป็ นต้ น
- เชือกทีม่ าจากแร่ ธาตุ
เช่ น ผลพวงจากการกลัน่ นา้ มันแร่ เหล็ก และ ผงถ่ านหิน เชือกบางชนิด
ผสมวัตถุ 2 ชนิดเข้ าด้ วยกัน เช่ น ฝ้ ายผสมแร่ เป็ นต้ น
การผูกเชือกในงานบรรเทาสาธารณภัย
การเรียนรู้ เงือ่ นเชือกนั้น ได้ นามาปรับใช้ ประโยชน์
ใน
ด้ านการผูกรั้งวัตถุต่าง ๆ เข้ าด้ วยกัน หรือการช่ วยชีวติ รวมทั้ง
การต่ อเชือกต่ าง ๆ เข้ าด้ วยกัน
ในงานบรรเทาสา
ธารณภัย มีอยู่ด้วยกัน 10 เงือ่ น
การเรียนรู้ เงือ่ นเชือก
จะต้ องจดจา ทาให้ ได้ ผิดพลาดไป หลุด หรือขาดเป็ นอันตราย
ต่ อชีวติ และสิ่ งของเสี ยหาย ขอแนะนาให้ ทุกคนทีต่ ้ องการ
นาไปใช้ ต้องหมัน่ ฝึ กศึกษาหาความรู้ ผูกให้ เป็ น นาไปใช้ ให้ เป็ น
ถึงคราวคับขันจะได้ นาออกใช้ ให้ เกิดประโยชน์
หลักการผูกเงือ่ นเชือก
เร็ว
แน่ น
แก้ ง่าย
ปลอดภัย
การรักษาเชือกและการบารุงรักษา
การรักษาเชือกให้ มสี ภาพพร้ อมใช้ ถ้ าเป็ นเชือกมะลิลา ทีม่ ี
ขนาด 1½ นิว้ ยาว 50 ฟุต วิธีการเก็บโดยพันเป็ นวงกลม
ระหว่ างฝ่ ามือ และข้ อศอก จนกระทัง่ เหลือ 2 ฟุต นาส่ วนนี้
มารัดตรงกลาง
เชือกทีม่ เี ส้ นรอบวง 2 นิว้ ยาว 200 ฟุต ใช้ วธิ ีม้วนเก็บ โดย
การพันคล้ องระหว่ างเท้ ากับเข่ า จนหมดม้ วน แต่ เหลือไว้ 2
ฟุต เพือ่ มัดเก็บปลายเชือกดังภาพ
ภาพการเก็บเชือก
สู ตรคานวณ ความสามารถยกหรือลากวัตถุ ของเชือก
การใช้ เชือกให้ เกิดประโยชน์ ควรจะได้ ร้ ู จักการผูกเงือ่ น
และการใช้ เชือกให้ ปลอดภัย ในการใช้ ดงึ หรือยกสิ่ งของ
ที่มี
นา้ หนักมาก ๆ ต้ องอาศัยหลักแห่ งความปลอดภัยด้ วย วิธีการ
คานวณว่ าเส้ นเชือกขนาดไหนควรยก ดึง นา้ หนัก ได้ เท่ าไรจึง
จะไม่ ขาด
สู ตรในการคานวณ
สู ตรที่ 1
2
C x CWT
C = เส้นรอบวงของเชือก
CWT = ค่าคงที่เท่ากับ 50 กิโลกรัม
สู ตรที่ 2 ค่าความปลอดภัย (Safety Factor) ของเชือกที่ใช้งานมาแล้ว
หรื อเชือกที่มีเงื่อนปมเชือกผูกอยู่ คูณด้วย 2/3
สู ตรที่ 3 เชือกไนล่อนมีความสามารถเหนือกว่ามะลิลา 4 เท่า
= x4
สู ตรที่ 4 เชือกที่ทามาจากแร่ โลหะ หรื อสลิง รับแรงได้มากกว่าเชือกมะลิลา 9 เท่า
= x9
ตัวอย่ าง เชือกใหม่มีเส้นรอบวง 1½ นิ้ว จะรับน้ าหนักได้เท่าไร
วิธีทา ใช้สูตร
2
= C x CWT
= 1½ 2 x 50
= 9/4 x 50
= 112.5 กก.
แบบฝึ กหัดที่ 1 เชือกใช้งานแล้ว ทาด้วย แร่ เหล็ก(สลิง) ขนาดเส้นรอบวง 2 นิ้ว สามารถใช้
ยกน้ าหนักได้เท่าไร
2
วิธีทา
C x CWT
22 x 50
4 x 50
200 กก.
ใช้งานแล้ว คูณด้วย 2/3 หรื อ 0.6
เป็ นลวดสลิง มีความสามารถมากกว่า 9 เท่า
120 x 9
1080 กก.
เชือก
เงือนเชือกทีใ่ ช้ ในงานบรรเทาสาธารณภัย
1. หมวดต่ อเชือก
2. หมวดผูก ฉุด ดึง รั้ง ลาก
3. หมวดช่ วยชีวติ
หมวดต่ อเชือก
1. เงือ่ นพิรอด
เป็ นเงือ่ นเชือกที่ใช้ เชือกที่มขี นาดเท่ ากัน 2 เส้ นผูกต่ อกัน ใช้ ผูกสิ่ งของเครื่องใช้ ต่างๆ
หมวดต่ อเชือก
2. เงือ่ นขัดสมาธิ
เงือ่ นขัดสมาธิช้ันเดียว หรือหลายชั้น เป็ นเงือ่ นที่ใช้ ต่อเชือกที่มขี นาดต่ างกันหรือ
ไม่ เท่ ากันผูกต่ อกัน จะเป็ นเชือกเล็ก หรือเชือกเส้ นใหญ่ หรือลวดสลิงกับเชือกผูกต่ อกัน
หมวดต่ อเชือก
3. เงือ่ นประมง หรือ หัวล้ านชนกัน
เป็ นเงือ่ นที่ใช้ เชือก 2 เส้ น ทีม่ ีขนาดเท่ ากันต่ อกัน หรือเชือกที่มขี นาดต่ างกันเล็กน้ อย
และเชือกทีม่ คี วามลืน่ หรือใช้ เชือกผูกด้ วยก้ อนวัตถุขว้ างไปหาอีกฝ่ ายหนึ่งเพือ่ ทาการต่ อ
เชือกให้ ยาวออกไปอีก หรือจากอาคารหลังหนึ่งไปอีกหลังหนึ่ง หรือจากเรือลาหนึ่งไปยัง
เรืออีกลาหนึ่ง เมือ่ เลิกใช้ แล้วก็เก็บเชือกไว้ ใช้ ได้ อกี
หมวดผูกแน่ น ฉุดลาก รั้ง
1. เงือ่ นผูกร่ น หรือทบเชือก
ใช้ ผูกเชือกทีย่ าวเกินความต้ องการให้ ส้ั นลง โดยไม้ ต้องแก้ มดั หรือตัดเชือกให้ ส้ั น
หรือใช้ ทบเชือกที่กาลังจะขาดให้ ใช้ งานได้ ต่อไปโดยไม่ ต้องตัดเชือก
หมวดผูกแน่ น ฉุดลาก รั้ง
2. เงือ่ นตะกุดเบ็ด
เป็ นเงื่อนที่ใช้ ปลายเชือกข้ างใดข้ างหนึ่ง ทาเป็ นบ่ วงซ้ อนกัน ใช้ สาหรับผูกเบ็ดตกปลา
คล้ องกับเหล็ก หรือหลักตอไม้ หรือผูกมัดกับเสาอาคาร ทีม่ สี ิ่ งขวางปลายเสาทั้งสองข้ างก็
ได้
หมวดผูกแน่ น ฉุดลาก รั้ง
3. เงือ่ นผูกซุง หรือลากซุง
เป็ นเงือ่ นเชือกทีใ่ ช้ ปลายข้ างใดข้ างหนึ่งผูกกับวัตถุลกั ษณะทรงกลมยาว หรือวัตถุทมี่ คี วามยาว
หมวดช่ วยชีวติ
1. เงือ่ นขโมย
ใช้ สาหรับผูกวัตถุท้งั ทรงกลมยาว ด้ วยเชือก หรือผ้ าเพียงเส้ นเดียว เพือ่ ช่ วยตัวเอง
หรือช่ วยคนทีต่ ดิ อยู่บนอาคารสู ง และเรายังสามารถนาเชือกเส้ นนีไ้ ปใช้ งานอืน่ ได้ อกี
หมวดช่ วยชีวติ
2.เงือ่ นบันไดปม
ใช้ สาหรับช่ วยคนลงจากทีส่ ู งด้ วยเชือกเส้ นเดียว สาหรับคนทีไ่ ม่ ได้ รับบาดเจ็บ
อะไรมากนักที่สามารถช่ วยตัวเองได้
หมวดช่ วยชีวติ
3. เงือ่ นเก้ าอี้
ใช้ สาหรับช่ วยเหลือผู้บาดเจ็บ ซึ่งช่ วยเหลือตัวเองไม่ ได้ ลงจากทีส่ ู ง
หมวดช่ วยชีวติ
4. เงือ่ นบ่ วงสายธนู
เป็ นเงือ่ นทีผ่ ูกด้ วยเชือกเส้ นเดียวทาเป็ นบ่ วง ในงานบรรเทาสาธารณภัย
จะใช้ ช่วยคนขึน้ จากหลุม บ่ อ คู คลอง แม่ นา้ ทีไ่ ม่ สามรถขึน้ ด้ วยตัวเองได้
หรือช่ วยคนที่ว่ายนา้ ไม่ เป็ นและกาลังจะจมนา้
บ่ วงสายธนู ๒ ชั้น
๑. วัดเชือกหนึ่งวา (ตามขนาดของนักกู้ภยั แต่ ละคน)
บ่ วงสายธนู ๒ ชั้น(ต่ อ)
รู ป ข.
๓. มือซ้ายจับปลายเชือกด้านล่างจากรู ป ก. ทาเป็ นเลขหก
เหมือนบ่วงสายธนู นาปลายเชือกในมือขวาสอดดังรู ป
รู ป ก.
๒. จับปลายเชือกดังรู ป ก. เพื่อวัดขนาดเป็ นสองเท่า
บ่ วงสายธนู ๒ ชั้น(ต่ อ)
ห่ วงเชือก
รู ป ก.
๔. มือขวาสอดผ่ านดังรูป ก. ไปจับเชือกสองเส้ น
ดึงกลับมาตามทิศทางมือทีส่ อด
รู ป ข.
๕. จัดห่ วงเชือกดังรูป ข. เข้ าล็อคทีม่ อื ซ้ ายจับอยู่
บ่ วงสายธนู ๒ ชั้น(ต่ อ)
บ่ วงสายธนู ๒ ชั้นพร้ อมใช้ งาน
บ่ วงสายธนู ๓ ชั้น
บ่ วงสายธนู ๓ ชั้น เป็ นเงื่อนเชือกทีใ่ ช้ นาผู้ประสบภัยจากทีส่ ู งแบบฉุกเฉิน
สั งเกตว่ ามีห่วง สามห่ วง ส่ วนทีย่ าวขณะใช้ งานจะใส่ ใต้ รักแร้ ของผู้ป่วย
สองห่ วงเท่ ากัน ใส่ ที่ข้อผับใต้ หัวเข่ าทั้งสองข้ าง
บ่ วงสายธนู ๓ ชั้น(ต่ อ)
รู ป ข.
รู ป ก.
วัดขนาดความยาวเชือกขนาด ๒ วา
ของนักกู้ภัย จับสายเป็ นสองทบ ดังรู ป ก.
เชือกด้านซ้ายมือทาเป็ นเลขหก เหมือนบ่วงสายธนู
นาปลายเชือกด้านขวามือสอดเข้าจากล่าง ดังรู ป ข.
บ่ วงสายธนู ๓ ชั้น(ต่ อ)
เชือกเส้นหลัก
สอดกลับ
สอดด้ านล่าง
ปลายเชือกทีส่ อดผ่ านเลขหกมา นาไปสอดด้ านล่างของเชือกเส้ นหลัก ดังรูปซ้ ายมือ.
หลังจากนั้นสอดกลับมาทางเดิมดังรูปขวามือ
บ่ วงสายธนู ๓ ชั้น(ต่ อ)
จัดปลายเชือกทีส่ อดลงมา ให้ ยาวกว่ าเชือก ๒ บ่ วง ประมาณหนึ่งกามือเล็กน้ อย
จากนั้นดึงเงื่อนให้ แน่ น ทดสอบให้ แน่ ใจก่อนใช้
การผูกเชือกบุคคลลงจากที่สูง
๑.จัดเชือกบุคคลให้ เท่ ากัน ๒ ด้ าน
การผูกเชือกบุคคลลงจากที่สูง(ต่อ)
๒.นาตาแหน่ งของเชือกบุคคลทีแ่ บ่ งครึ่งมาทาบข้ างสะโพกด้ านขวา(กรณีถนัดขวา)
หากถนัดซ้ ายให้ ทาบทางซ้ าย
การผูกเชือกบุคคลลงจากที่สูง(ต่อ)
ปม
๓.ผูกเงื่อนพิรอดไว้ดา้ นหน้า(สังเกตปมเชือกจะอยูด่ า้ นซ้าย)เพื่อ
ไม่ให้เชือกโรยตัวบาดขณะลงจากที่สูง
การผูกเชือกบุคคลลงจากที่สูง(ต่อ)
๔. ด้ านหลัง
ให้ สอดปลายเชือกทั้งสองข้ างจากบนลงล่าง หักคอไก่จากด้ านใน ดังรูป
การผูกเชือกบุคคลลงจากที่สูง(ต่อ)
เงื่อนพิรอด
สอดใน
รู ป ก.
๕.นาปลายเชือกทางด้ านขวาสอดเข้ า
(ดังรู ป ก.)
รู ป ข.
๖.นาปลายเชือกทั้ง ๒ ด้ านผูกเป็ นเงือ่ นพิรอด
(ดังรู ป ข.)
การใช้ เชือกบุคคล
ป้องกันตัวเองขณะปฏิบัตงิ านในทีส่ ู ง
การใช้ เชือกบุคคลป้ องกันตัวเองขณะปฏิบัติงานในทีส่ ู ง เป็ นการนาเชือกบุคคลมาดัดแปลง
โดยการนาเชือกผูกกับนักกู้ภัย ส่ วนอีกปลายอีกข้ างหนึ่งจะผูกเงื่อนบ่ วงสายธนูไปคล้ องกับเสา
หรือใช้ ร่วมกับ”สเน็บริ่ง”เพือ่ ป้ องกันนักกู้ภัยมิให้ ตกจากทีส่ ู งขณะทางาน
การใช้ เชือกบุคคล
ป้องกันตัวเองขณะปฎิบัตงิ านในทีส่ ู ง(ต่ อ)
รูป ก.
ผูกบ่ วงสายธนูทปี่ ลายสาย จับเชือกลักษณะ
ดังรู ป ก. ยกขึน้ มาระดับเอว
รูป ข.
พันปลายเชือกทีเ่ หลือ รอบตัวสองรอบดังรู ป ข.
การใช้ เชือกบุคคล
ป้องกันตัวเองขณะปฎิบัตงิ านในทีส่ ู ง(ต่ อ)
๑
๓
๒
รูป ก.
รู ป ข.
นาปลายเชือกสอดจากบน ผ่ านห่ วงเชือกทีเ่ หลือไว้ ครั้งแรก ดังรู ป ก. จากนั้นให้ สอดเข้ าด้ านล่ างของ
เชือกทีท่ าบ่ วงสายธนูไว้ แล้ ว ต่ อมาสอดกลับทางห่ วงเชือกดังรู ป ข.
การใช้ เชือกบุคคล
ป้องกันตัวเองขณะปฎิบัตงิ านในที่สูง(ต่ อ)
ดึงปลายเชือกหมายเลข ๑ และ หมายเลข ๒ ให้ แน่ น ส่ วนปลายเชือกที่เหลือของหมายเลข ๑
ให้ เก็บโดยการหักคอไก่ การนาไปใช้ งาน สามารถใช้ บ่วงสายธนู คล้ องด้ านหน้ า หรือด้ านหลัง
ก็ได้ ด้ วยวิธีหมุนเงือ่ นทีล่ าตัว ดังรู ปทางขวามือ
วัตถุประสงค์
1. ได้ ทราบความหมายของเชือก และประโยชน์
ได้ ทราบวัสดุ 3 ประเภท ทีน่ ามาทาเชือก พร้ อมลักษณะของเชือก
แต่ ละชนิด
2. วิธีการคานวณการรับนา้ หนักเชือก โดยใช้ สูตรคานวณและเชือก 3 ประเภท
รวมทั้งเชือกเก่าและเชือกใหม่ ได้
3. สามารถผูกเชือกได้ 3 กลุ่ม หรือ 10 เงื่อน ได้ ทุกคน และรวดเร็ว