รูปแบบการบาดเจ็บของเด็กที่เสียชีวิตจากการถูกทำร้ายร่างกาย บทนำ

Download Report

Transcript รูปแบบการบาดเจ็บของเด็กที่เสียชีวิตจากการถูกทำร้ายร่างกาย บทนำ

Pattern of injury in child
fatalities resulting from
child abuse
รูปแบบการบาดเจ็บของเด็กทีเ่ สี ยชีวติ จาก
การถูกทาร้ ายร่ างกาย
บทนา
 ข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุ ขและบริ การมนุ ษย์ สหรัฐอเมริ กา แผนก
บริ หารเด็กและครอบครัว ปี 2005
 สาเหตุของการเสี ยชีวิตของเด็กจากการถูกทาร้ายร่ างกาย 1460 ราย
-การทอดทิ้งเด็ก
-การใช้กาลังทาร้ายร่ างกายเด็ก
-การล่วงละเมิดทางเพศเด็ก
-การกดดันทางอารมณ์ต่อเด็ก
-การเสี ยชีวิตโดยไม่ทราบสาเหตุ
ช่ วงอายุทเี่ สี ยชีวติ จากการถูกทาร้ าย
‹ 4 ปี (76.6%) ⇨ เด็กทารก(41.9%)
ตารางแสดงอัตราการเสี ยชีวติ ของเด็กจากการถูกทาร้ าย
ในปี 2000-2005 สหรัฐอเมริกา
 Merten
ศึกษาในเด็กที่มีชีวิต พบว่าการสารวจโครงกระดูกมีความสาคัญ แต่มี
ข้อจากัดในการที่จะระบุรูปลักษณ์และจัดทาเป็ นเอกสารหลักฐาน
เกี่ยวกับการทาร้ายเด็ก
 Collins
and Nichols
ศึกษารู ปแบบการบาดเจ็บจากการถูกทาร้ายร่ างกายที่ทาให้เด็กเสี ยชีวิต
-การบาดเจ็บที่ศีรษะ 45%
-การขาดอากาศหายใจ รวมถึงการจมน้ า 25%
-อื่นๆ เช่น การได้รับสารพิษ 30%

Rubin
ศึกษาในกรณี ที่มีเกณฑ์ความเสี่ ยงสูงประกอบด้วย มีการแตกหักของ
ซี่โครง มีการแตกหักของกระดูกหลายๆส่ วน มีการบาดเจ็บที่ใบหน้า
และการบาดเจ็บในเด็กที่อายุต่ากว่า 6 เดือน
โดยทาการตรวจคัดกรองหาการบาดเจ็บที่ศีรษะที่มองไม่เห็นจาก
ภายนอก โดยใช้เครื่ อง CT หรื อ MRI พบว่า
-มีการบาดเจ็บที่ศีรษะแต่มองไม่เห็น 37.3%
-การสารวจเพียงภายนอกทาให้การวินิจฉัยผิดพลาดถึง 26%
ดังนั้นการทีไ่ ม่ สามารถวินิจฉัยได้ ว่าเด็กถูกทาร้ ายร่ างกายตั้งแต่ ครั้งแรก
ทีม่ าพบแพทย์ มีโอกาสบาดเจ็บซ้า 30-50% และเสี ยชีวิต 510%
วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาเพิม่ เติมเกี่ยวกับรู ปแบบการบาดเจ็บของร่ างกาย
ในการเสี ยชีวติ ของเด็กจากการถูกทาร้ายร่ างกาย และเพื่อ
พยายามหาความชุกของการแตกหักของกระดูก ( ทั้งหลัง
ได้รับการรักษา และขณะกาลังรักษา ) และการบาดเจ็บ
ของการแตกหักแบบฉับพลัน
วิธีการวิจัย
 ตัวอย่าง เด็กทั้งเพศชายและหญิงจานวน 162
คนอายุระหว่าง0-6 ปี
 ข้อมูลได้จาก
-สานักงานผูต้ รวจสอบทางการแพทย์ นอร์ธแคลิฟลอเนียร์
-สานักงานชาร์สตัน คันที โคโรเนอร์ เซาธ์แคลิฟลอเนียร์
 ข้อมูลที่จด
ั เก็บ
-ลักษณะของการเสี ยชีวิต
-อายุ
-เพศ
-จังหวัด
-รู ปแบบการบาดเจ็บ (ทั้งแบบฉับพลันและก่อนการเสี ยชีวิต)
ผลการทดลอง
กราฟแสดงช่ วงอายุของการเสี ยชีวติ
กราฟแสดงเขตพืน้ ทีท่ ี่มกี ารเสี ยชีวติ
กราฟแสดงตาแหน่ งทีบ่ าดเจ็บแล้วเสี ยชีวติ
ตารางแสดงการแตกหักของกระดูกก่อนเสี ยชีวติ และขณะเสี ยชีวติ
ตาราง แสดงอัตราการเกิดของเด็กและแสดงอัตราการเสี ยชีวติ ของเด็ก
อายุ 0-4ปี และ 0-6 ปี ในปี 2000-2005
นอร์ ธแคลิฟลอเนียร์ แบ่ งเป็ นเด็กผิวขาวและชนกลุ่มน้ อย
อภิปราย
 ช่วงอายุที่มีการเสี ยชีวิตจากการถูกทาร้ายร่ างกายมากที่สุด
-อายุ 0-3 เดือน 25%
-อายุ 2-6 ปี 19%
 งานวิจยั Sobsey พบว่าเด็กผูช
้ ายมักถูกทาร้ายร่ างกายมากกว่า
เด็กผูห้ ญิง
 ความแตกต่างของเชื้อชาติ
 การแตกหักของกระดูก
 Krishnanและทีมงาน
ศึกษาเด็กทารกถูกทาร้ ายและมีภาวะการ
แตกหักของกระดูกหลายส่ วน
 Belfer
and Klein การตรวจหาภาวะการแตกหักของ
กระดูกด้ วยตาเปล่ามีข้อผิดพลาดได้
 Kleinman
ศึกษาการแตกหักของกระดูกในเด็กยากต่ อการ
วินิจฉัยว่ าเกิดจากการถูกทาร้ ายร่ างกาย
 Swischuk
and Hernundez ศึกษารูปแบบ
การแตกหักที่ทาให้ การวินิจฉัยผิดพลาด
 Dedouit
ตรวจหาภาวะการแตกหักของกระดูกเปรียบเทียบ
ระหว่ าง CT และ X-ray
 Cattaneo
ศึกษาเปรียบเทียบประสิ ทธิภาพในการตรวจหา
รอยกระดูกแตกหัก ระหว่ าง การชันสู ตรศพ การX-ray และ CT
Scan
ผลการวิจัยนีส้ นับสนุนความจาเป็ นทีจ่ ะต้ องใช้ วธิ ีการเพิม่ เติม
ในการคัดกรองและวิธีการเชิงรุก เช่ น
 ภาพถ่ ายรั งสี ซ้า
 Bone scan
 MSCT
 MRI Scan
 การชั นสู ตรศพ
 การสารวจโครงกระดูกอย่ างละเอียด
 การตรวจเก็บซีรั่มและcerebrospinal
เพือ่ วินิจฉัยการบาดเจ็บในกรณีทสี่ งสั ยว่ าเด็กถูกทาร้ ายร่ างกาย