ท่านอิสินธร พฤหัส บ่าย

Download Report

Transcript ท่านอิสินธร พฤหัส บ่าย









การประชุมระหว่างประเทศ/การประชุมอาเซียน
การเดินทางเยือน/ การดูงานในประเทศอาเซียน
การร่วมงานฉลองวันชาติ
การร่วมงานทางวัฒนธรรม
การไปประจาการ ณ สถานเอกอัครราชทูต/สถานกงสุลใหญ่
การเดินทางไปท่องเที่ยวประเทศอาเซียน
การต้ อนรับนักท่องเที่ยวจากประเทศอาเซียน
วาระ/โอกาส อื่นๆ






เพื่อการสร้ างสัมพันธไมตรีท่ดี ตี ่อกัน
เพื่อการสร้ างความเข้ าใจอันลึกซึ้งระหว่างมิตรประเทศ
เพื่อหลีกเลี่ยงสิ่งที่อาจเป็ นประเด็นอ่อนไหวสาหรับเขาที่เราไม่
ทราบ
เพื่อหลีกเลี่ยงความไม่พอใจและความขัดแย้ งที่อาจเกิดขึ้นได้
เพื่อให้ สามารถเข้ าถึงจิตใจของมิตรประเทศอาเซียน
ความเข้ าใจและความพึงพอใจต่อกันจะนามาซึ่งผลประโยชน์ท้งั
ทางตรงและทางอ้ อม

อินโดนีเซีย มาเลเซีย และ บรูไน ใช้ ภาษากลุ่ม บาฮาซ่า
มลายู ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม
 ไทย ลาว กัมพูชา พม่า เวียดนาม และ สิงคโปร์ ส่วน
ใหญ่นับถือศาสนาพุทธ แต่ใช้ ภาษาแตกต่างกัน
 ฟิ ลิปปิ นส์ ส่วนใหญ่ ใช้ ภาษาตากาล๊อก และนับถือ
ศาสนาคริสต์






กลุ่มประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และ บรูไน มีอุปนิสยั ใจคอ ภาษา ศาสนา
และวัฒนธรรมที่คล้ ายคลึงกัน
กลุ่มประเทศไทย ลาว กัมพูชา มีอุปนิสยั ภาษา ศาสนา และ วัฒนธรรม
คล้ ายคลึงกัน
ฟิ ลิปปิ นส์ มีภาษา ศาสนา และวัฒนธรรมที่แตกต่างจากประเทศอื่นๆ
สิงคโปร์ มีศาสนา ภาษา และวัฒนธรรม ที่คล้ ายกลุ่มแรก และกลุ่มที่สอง แต่
เป็ นการผสมผสานภาษาและวัฒนธรรมระหว่างกัน
พม่า มีอปุ นิสยั ศาสนา และวัฒนธรรมที่คล้ ายกลุ่มที่สอง แต่มีภาษาแตกต่าง
ออกไป
เวียดนาม มีอปุ นิสยั ภาษา และวัฒนธรรมที่แตกต่างจากเกือบทุกประเทศ
ยกเว้ นศาสนาที่คล้ ายกลุ่มที่สอง






เป็ นประเทศเล็กแต่ถือว่าเคยยิ่งใหญ่มาก่อน ครอบครองเกาะบอร์เนียวก่อน
อังกฤษปกครอง รู้สกึ เป็ นหนึ่ง
หัวใจที่ประชาชนยึดมั่น คือ สุลต่าน ศาสนาอิสลาม ความเป็ นเชื้อชาติมะลายู
ด้ านเศรษฐกิจพึ่งพาจากภายนอก อังกฤษยังมีอทิ ธิพลอยู่บ้าง ยังมีทรัพยากร
นา้ มันอีกกว่า ๕๐ ปี สุลต่านลงทุนจานวนมากในอังกฤษ
สุลต่านมีบารมีสงู การเมืองและเศรษฐกิจอยู่ภายใต้ การดูแลของสุลต่าน
เป็ นประเทศประชาธิปไตยแต่มีลักษณะสมบูรณาญาสิทธิราช
ชาวบรูไนค่อนข้ างทันสมัย มีการศึกษาดี ศึกษาในต่างประเทศ คนส่วนใหญ่
ประสงค์จะเข้ ารับราชการ






เปิ ดรับ ให้ เกียรติและนิยมไทย เดินทางมาไทยเป็ นว่าเล่น
ด้ านการต่างประเทศให้ การสนับสนุนไทยมาตลอด โดยเฉพาะในองค์กร OIC
สื่อมวลชนไม่ค่อยมีเสรีมากนัก เพราะรัฐคุมสื่อ
ประชาชนมีทศั นคติท่ดี ีต่อประเทศไทยและคนไทย
ใช้ ภาษาบรูไน (มะลายู หรือ โอรัง บูกติ เป็ นภาษากลุ่มออสโตรนีเซี่ยน) แต่
ประชากรส่วนใหญ่ท่มี ีการศึกษาพูดภาษาอังกฤษได้
ประชากรประมาณ ๓๘๐,๐๐๐ คน






ควรระวังเรื่องความแตกต่างทางศาสนา ชาวบรูไนเป็ นผู้ท่เี คร่งศาสนามาก การ
ทานอาหาร (ฮาลาล) การละมาด การไปในที่อโคจร และไม่ควรให้ ใกล้ ชิดสุนัข
การกล่าวถึงองค์สลุ ต่านในเชิงลบ
เป็ นคนที่ค่อนข้ างถือตัวในเชิง มีความภูมิใจในความเป็ นชาวบรูไน
นับถือความอาวุโสค่อนข้ างมาก มีความเป็ นผู้ดีอยู่ในตัว คนส่วนใหญ่มี
การศึกษาสูง
ควรมีการปฏิสมั พันธ์กนั ด้ วยความอ่อนน้ อมถ่อมตน
ไม่ควรใช้ น้ ิวชี้ช้ ีบุคคล หรือสิ่งของ





ปัจจุบันสถาบันกษัตริย์เป็ นเพียงสัญญาลักษณ์ กษัตริย์มีบทบาททางพิธกี าร
ผู้นารัฐบาลมีอานาจค่อนข้ างเบ็ดเสร็จ เอนเอียงไปทางเวียดนาม ถือว่าบุญคุณ
ของเวียดนามยังใช้ ไม่หมด
ปัญหาที่เกิดขึ้นภายในประเทศมักเกิดจากการแบ่งปันผลประโยชน์ไม่ท่วั ถึง
นโยบายรัฐบาลกัมพูชายึดผลประโยชน์ปัจจุบันเป็ นหลัก(กรณีการออก
แถลงการเรื่องหมู่เกาะสแปสลี่ย์)
ประชาชนระดับรากหญ้ ามีทศั นคติท่ดี ีต่อไทย รวมทั้งชาวเขมรที่อยู่ตาม
ชายแดนและเกาะกง และปชช.ในเมืองหลวงรู้ภาษาไทยจานวนมาก ชาวกัมพูชา
เห็นว่าสินค้ าไทยมีคุณภาพดี







ยังมีพวกหัวรุนแรงบางส่วนที่ต่อต้ านไทย และเวียดนาม โดยเฉพาะกรณีปัญหา
การขัดแย้ งเรื่องพรมแดน
ขรก.ยังทางานไม่กระตือลือล้ น ล่าช้ า มีคนเก่งทางานเป็ นหลักแต่มีไม่มาก ขรก.
โดยรวมยังเป็ นคนรุ่นเก่า
ระบบการศึกษาค่อยๆดีข้ นึ ขณะนี้รัฐบาลเร่งสอนให้ เด็กเล็กเรียนภาษาอังกฤษ
ชาวบ้ านทั่วไปเป็ นคนซื่อๆ เชื่อฟังคนระดับสูง ชาวบ้ านกลัวทหาร
การคอร์รัปชั่นมีอยู่เกือบทุกระดับ หากมีผลประโยชน์จะยึดประโยชน์เป็ นหลัก
สื่อมวลชนถูกคุมเข้ มโดยกระทรวงข่าวสาร
รัฐบาลกัมพูชามองว่ายังต้ องพึ่งพาไทย ปัญหาที่เกิดขึ้นในไทยอาจกระทบต่อ
กัมพูชา โดยเฉพาะการกระทบต่อการท่องเที่ยวในกัมพูชา
-
-
-
-
- รัฐบาลกลัวถูกไทยครอบงาโดยเฉพาะด้ าน ศก.และวัฒนธรรม
(สถานีโทรทัศน์สองแห่งเคยจ้ างบริษัทไทยบริหาร)
- ด้ านการเจรจาทาความตกลง ต้ องเข้ าให้ ถึงระดับสูง ให้ มีการมอบนโยบายสั่ง
การลงมาก่อน ต้ องรู้ว่าผู้มีอานาจที่แท้ จริงคือใครก่อนทาสัญญา
- ด้ าน ศก.ขณะนี้ จีน เกาหลีใต้ เข้ าไปลงทุนด้ านการก่อสร้ างจานวนมาก
ขณะที่สหรัฐเข้ าไปลงทุนในด้ านการขุดเจาะก๊าซ
- ปัจจุบันมีประชากรประมาณ ๑๔ ล้ านคน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ
ปชช.พูดภาษาเขมร จาม และไทย(เกาะกง)




ไม่ควรพูดเรื่องประวัติศาสตร์ระหว่างกัน โดยเฉพาะเรื่องความขัดแย้ งด้ าน
พรมแดน การพูดเชิงดูถูก ดูหมิ่น
ชาวกัมพูชามีอุปนิสยั คล้ ายคนไทยหลายส่วน ด้ านประวัติศาสตร์เขามองว่า
อาณาจักรขอมเคยครอบคลุมเข้ ามาถึงกาญจนบุรี (ตะวันตก) และ อ.ศรีเทพ
(ภาคกลางตอนเหนือ)
ไม่ควรแตะต้ องระบบยุติธรรม หรือการปฏิเสธระบบยุติธรรมของกัมพูชา
ควรปฏิบัติต่อเขาด้ วยการให้ เกียรติและยอมรับในความเท่าเทียม/เพื่อนบ้ าน






เป็ นประเทศใหญ่ พยายามมีบทบาทนาในด้ านการแก้ ไขข้ อขัดแย้ ง แต่ไม่
ผลีผลาม เกรงใจประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ
มีปัญหาเรื่องเอกลักษณ์ของประเทศเพราะมีหลายเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ และภาษา
มีปัญหาด้ านความมั่นคงภายในและการก่อการร้ าย
ยึดถืออาวุโส และครอบครัว ญาติพ่ีน้องเป็ นหลัก ไม่ค่อยชอบสุสงิ กับต่างชาติ
หากไม่ใช่เพื่อนอาจเนื่องจากลักษณะขี้อายและอุปสรรคด้ านภาษา
มีประชากรมากที่สดุ ในอาเซียน ประมาณ ๒๔๕ ล้ านคน ส่วนใหญ่นับถือศาสนา
อิสลาม เป็ นประเทศมุสลิมที่ใหญ่ท่สี ดุ ในโลก
พูดภาษา บาฮาซ่าอินโดนีเซีย ภาษาชวา ซุนดา บาหลี อาเจาะห์ ฯลฯ





ระบบรัฐบาลมีความเป็ นเอกภาพ บุคคลระดับสูงมีความใกล้ ชิดระหว่างกัน การ
ดาเนินนโยบายมีความรัดกุม และมีความเป็ นอนุรักษ์นิยมสูง
รัฐบาลมีทศั นะคติยังไม่ค่อยวางใจไทยโดยเฉพาะนักลงทุน แต่ไว้ ใจเวียดนาม
และกัมพูชามากกว่า ในด้ านสถาบันฯมีทศั นะคติท่ดี ีมากต่อสถาบัน
พระมหากษัตริย์ไทย
รัฐบาลควบคุมคนไม่ให้ ร้ มู าก คนลาวไม่ไง่ แต่ขาดโอกาสเพราะระบบปกครอง
ยังต้ องพึ่งพาไทยและให้ ความร่วมมือกับไทยดีในด้ านการต่างประเทศ แต่ไทย
ต้ อง fair กับเขา
ในภาคประชาชนใกล้ ชิดไทยที่สดุ แต่หากเราโกง เขาดูถูกเรา อย่าคิดว่าเขา
เคารพเรา






สื่อมวลชนถูกคุมเข้ มไม่ค่อยมีอสิ ระ
ขรก.ค่อนข้ างซื่อสัตย์ ตรงไปตรงมา หากเป็ นการดาเนินงานในสิ่งใหม่ ๆ
โดยเฉพาะกับต่างชาติมักกลัวไปก่อน ไม่ค่อยไว้ ใจใครง่ายๆ ยังไม่ค่อยกระตือ
ลือล้ น และอยู่ในกรอบเคร่งคลัด
ใครที่เคยดูถูกเขา เขาจะไม่เอาด้ วย
ชาวบ้ านทั่วไปเป็ นมิตร เป็ นคนซื่อๆ คล้ ายชาวชนบทของไทย
มีประชากรประมาณ ๖.๔ ล้ านคน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ
ภาษาพูด : ภาษาลาว /ม้ ง







มักเป็ นคู่แข่งกับไทยในหลายๆด้ าน
ทัศนะคติต่อไทยเป็ นกลางๆ ลึกๆยังมีความเกรงใจไทย แต่เจรจายากต้ องมี
อานาจต่อรอง/ข้ อแลกเปลี่ยน
บทบาท ขรก.บางคนค่อนข้ างก้ าวร้ าวไม่ยอมใครง่ายๆ
ท่าทีต่อสามจังหวัดชายแดนใต้ มักจะอยู่กลางๆ ไม่กล้ าแสดงออกให้ เห็นว่า
สนับสนุนหรือให้ ความร่วมมือกับไทย
มีการปลุกกระแสชาตินิยมค่อนข้ างมาก เน้ นภูมิบุตรชาวมาเลย์
ประชากรประมาณ ๒๙ ล้ านคน นับถือศาสนาอิสลาม (60%) พุทธ (20 %)
มีความเคร่งคลัดในเรื่องศาสนา และกฎระเบียบด้ านสังคม







มีประชากรประมาณ ๕๗.๕ ล้ าน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีชนเผ่าหลักคือ
พม่า และมีชนเผ่าหลักอีกประมาณ ๗ เผ่า เช่น กะเหรี่ยง ไทยใหญ่ มอญ ฯลฯ
ประชาชนส่วนใหญ่พูดภาษาพม่า และยังมีภาษาท้ องถิ่น/เผ่า ต่างๆ เช่น ภาษา
กะเหรียง ไทยใหญ่ จิงผ่อ ยะไข่ โรฮิงยา ฯลฯ
การเมืองมีทหารคุมอย่างเหนียวแน่น ขณะนี้ค่อยๆ ผ่อนคลายลง
ทัศนะต่อไทยไม่เกลียดไทย ด้ าน ศก.ชื่นชมไทย
ด้ านเศรษฐกิจต้ องการการลงทุนขนาดใหญ่จากไทย
การเจรจาภาครัฐ ค่อนข้ างยาก ไม่ค่อยยอม ยึดหลักการเหนียวแน่น
ปชช.มีความศรัทธาต่อพุทธศาสนาแรงกล้ า ยึดประเพณีค่อนข้ างมาก





เป็ นมิตรที่ดีกบั ประเทศไทย ไม่เคยมีความขัดแย้ งกับไทย ร่วมมือกันดีในเวที
ระหว่างประเทศและอาเซียน
การเมืองภายในมีความวุ่นวายพอสมควร
ประชาชนพูดภาษาตากาล๊อก อังกฤษ และมีภาษาท้ องถิ่น เช่น มากวินดาเนา
เซบู อีโรกาโน ฯลฯ ประมาณ ๑๗๐ ภาษา
ชาวฟิ ลิปปิ นส์เป็ นคนคบง่าย เป็ นมิตร ไม่มีพิธรี ีตองมาก ให้ ความสาคัญกับ
สังคมและเครือญาติ ขวนขวาย ขยันพอสมควร
ประชากรประมาณ ๙๘ ล้ านคน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ ปชช.ในเกาะมิน
ดาเนาทางตอนใต้ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม








ประชาชนมีความคิดเป็ นกึ่งเอเชีย-ตะวันตก
เน้ นธุรกิจและผลประโยชน์มากกว่าสิ่งอื่นใด มีระเบียบวินัยสูง เคารพกฏหมาย
ตรงไปตรงมา ค่อนข้ างซื่อสัตย์ ขยัน รับผิดชอบ ไม่ชอบสุงสิงกับใครมาก
เป็ นคู่แข่งคลอดกาลกับไทยและมาเลเซีย
ไม่ค่อยสนใจความร่วมมือด้ านวัฒนธรรมที่เป็ นเอกลักษณ์ของชาติเพราะเป็ น
วัฒนธรรมผสม ปชช.พูดภาษาจีน อังกฤษ มลายู
ความร่วมมือในกรอบอาเซียน สนใจเฉพาะที่เป็ นประโยชน์แห่งชาติ
ประชากรประมาณ ๔.๖ ล้ านคน นับถือศาสนาพุทธ อิสลาม คริสต์ ฮินดู
เป็ นประเทศเล็กที่สดุ ในอาเซียน (๖๙๙ ตร.กม)





ทัศนะคติต่อไทยโดยรวม ส่วนใหญ่มองว่าเขามีระดับการศึกษาเฉลี่ยดีกว่า
เศรษฐกิจดีกว่า แต่ ปชช.มองเป็ นรายบุคคลที่พบเห็นขึ้นอยู่กบั สถานะ ระดับ
การงาน และการศึกษา
ความร่วมมือกับไทย ส่วนใหญ่ได้ รับความร่วมมือดี ส่วนเรื่องผลประโยชน์มัก
เอาความต้ องการสูงสุดเป็ นเป้ าหมายเสมอ
การเจรจา ไม่ง่าย แต่ไม่ยากนัก เป็ นการต่อรองผลประโยชน์ของแต่ละฝ่ าย มี
การเตรียมตัวมาดีก่อนการเจรจา
สื่อมวลชนเป็ นอิสระตราบใดที่ยังเป็ นไปตามที่รัฐบาลต้ องการ ส่วนใหญ่ชม
รัฐบาล
ผู้ท่อี ยู่ในตาแหน่งสูงของรัฐบาลมักเป็ นเชื้อสายจีน รองลงมาเป็ นมาเลย์ อินเดีย



ชาวสิงคโปร์ มีความกลัวลึกๆ อยู่ ๓ ประการ ๑) กลัวแพ้ ๒) กลัวจน ๓)
กลัวรัฐบาล และไม่ค่อยยอมใครง่ายๆ โดยเฉพาะในที่ประชุม อาจต้ องใช้ การ
เจรจานอกรอบในการต่อรอง
ในประเทศสิงคโปร์มีความเป็ นระเบียบวินัยสูง การทิ้งขยะในที่สาธารณะ การ
บ้ วนนา้ ลาย การทิ้งก้ นบุหรี การปัสสาวะในที่ไม่เหมาะสม ล้ วนมีโทษปรับ/โบย
มีความสามารถในการเป็ นตัวแทนอาเซียนต่อกรกับประเทศตะวันตกได้ อย่ างดี






ไม่ค่อยมีปัญหาด้ านการเมืองภายใน ปัจจุบันได้ รับอิทธิพลจากตะวันตกมาก มี
การพัฒนาประเทศอย่างรวดเร็ว พรรคคอมมิวนิสมีบทบาทมาก
เมื่อเข้ าอาเซียนมีความเป็ นมิตรกับไทยมากขึ้น ความหวาดระแวงลดไปมาก
สื่อมวลชนค่อนข้ างเสรีแต่ยังถูกคุมอยู่บ้าง
ประชาชนมีระเบียบวินัย ขยันขันแข็ง อดทน โดยเฉพาะผู้หญิงขยัน อดทนมาก
ทางานมากกว่าผู้ชาย
ปชช.สนใจภาษาอังกฤษแทนฝรั่งเศส ส่วนใหญ่ไปเรียนภาษาอังกฤษที่สงิ คโปร์
ด้ านวัฒนธรรมใกล้ เคียงกับจีน (ตกอยู่ภายใต้ จีนกว่าพันปี ) นอกจากนั้น
วัฒนธรรมฝรั่งเศสเข้ ามามีอทิ ธิพลบ้ าง





มีระบบข่าวกรองดีมาก
ประชาชนมีทศั นะคติท่ดี ีต่อไทยพอสมควร
ด้ านการต่างประเทศ ให้ ความร่วมมือกับอาเซียนและไทยดี การเจรจายึด
ผลประโยชน์แห่งชาติเป็ นหลัก มีประสบกาณ์การเจรจากับมหาอานาจมา
ค่อนข้ างมาก
ด้ านศาสนา รัฐบาลเริ่มเปิ ดมากขึ้นให้ เสรีพอสมควร ร้ อยละ ๗๐ เป็ นพุทธ
มีประชากรประมาณ ๘๙ ล้ านคน พูดภาษาเวียดนาม ไทยดา





การใช้ ธงชาติของแต่ละประเทศต้ องระวังการสลับกัน เช่น
๑) ธงชาติสงิ คโปร์ กับ อินโดนีเซีย และ ธงชาติโปแลนด์ คล้ ายคลึงกันมาก
๒) ธงชาติพม่าต้ องใช้ ธงใหม่สามสี เหลือง เขียว แดง ที่มดี าวสีขาวตรงกลาง
๓) ธงชาติมาเลย์เซีย คล้ ายกับ ธงชาติ สหรัฐฯ
๔) ธงชาติฟิลิปปิ นส์ ต้ องเอาสีนา้ เงินขึ้นด้ านบนเสมอ
๕) ธงชาติกมั พูชา ระวังอย่าเอาธงรุ่นเก่ามาใช้ เนื่องจากมีความคล้ ายคลึงกัน
๖) ธงชาติเวียดนาม ระวังอย่าสลับกับ สาธารณรัฐประชาชนจีน
๗) เมื่อมีการประชุมระหว่างอาเซียนกับจีน ต้ องระวังไม่ให้ มีธงไต้ หวันเข้ ามาเกี่ยว
อาหาร ควรระวังอย่างยิ่งเมื่อจะมีการเลี้ยงอาหารแก่ชาวอาเซียนที่เป็ นมุสลิม ควร
เตรียมอาหารที่เป็ นฮาลาล
สถานที่พัก / ประชุม ควรมีห้องละมาด ไม่ควรมีสนุ ัขเข้ าไปเผ้ นผ่านในบริเวณ


หากมีการพาชาวอาเซียนที่เป็ นมุสลิมเดินทางไปนอกสถานที่ควรเตรียม
ร้ านอาหารที่เป็ นฮาลาล และสารวจที่ต้งั ของสุเหล่าระหว่างเส้ นทางหรือบริเวณ
จุดหมาย เนื่องจากอาจมีการร้ องขอโดยเฉพาะช่วงหลังเที่ยง และหลังพระ
อาทิตย์ตกดิน
ในช่วงฤดูถือศีลอด (เดือนรอมาดอน) ควรตระหนักว่าชาวมุสลิมไม่สามารถ
ทานอาหารหรือดื่มนา้ ระหว่างวันได้ ผู้ท่ไี ม่ใช่มุสลิมไม่ควรทานอาหารหรือนา้ ต่อ
หน้ าผู้ท่อี ยู่ระหว่างการถือศีลอด และต้ องวางแผนจัดหาสถานที่ให้ เขาได้ รับ
ทานอาหารทันทีหลังพระอาทิตย์ตกดิน และเพื่อเป็ นการให้ เกียรติและเคารพซึ่ง
กันและกัน ระหว่างงานเลี้ยงไม่ควรจัดบริการเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอร์