ผลกระทบของ AEC และ แนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือในภาค

Download Report

Transcript ผลกระทบของ AEC และ แนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือในภาค

ผลกระทบของ AEC และ แนวทางการเตรียมความพร้ อมเพื่อ
รับมือในภาคบริการ สาธารณสุข
๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕
นายแพทย์อภิชัย มงคล
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ASEAN Community
AEC
Economic
AEC Blueprint
เคลือ่ นย้ายเสรี
•
•
•
•
•
สินค้ า
บริการ
การลงทุน
เงินทุน
แรงงานทักษะ
APSC
Political-Security
APSC Blueprint
ASCC
Socio-Cultural
ASCC Blueprint
- ยาเสพติด
- อาหาร
- ภัยพิบัติ
- ส่งเสริมสุขภาพ
- โรคติดต่อ
- ยาเสพติด
- ภัยพิบัติ
ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจการค้ าระหว่างประเทศของ
ไทย ปี 2555-2563
ยุทธศาสตร์ท่ี 1
Internationalization of Thai Businesses
ยุทธศาสตร์ท่ี 2
Leveraging Global Dynamics to Strengthen Domestic Economy
• 2.1 ยกระดับมาตรฐาน
• สร้ างคุณภาพและมาตรฐานสินค้าและบริการของไทยเป็ นที่ยอมรับในระดับสากล
• ส่งเสริมการทา MRA ในสินค้าและแรงงานวิชาชีพที่มีศักยภาพของไทย – ยา ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และ
เครื่องมือแพทย์ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล
• 2.2 กาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงรุกในรายสาขา ที่บูรณาการมิติทางการค้า
• โครงสร้ างพื้นฐานทางการค้ าที่สาคัญ – กาหนดมาตรฐาน ความปลอดภัยของอาหาร
ยุทธศาสตร์ท่ี 3
Effective Communication and Driving Mechanism
กรอบการเปิ ดเสรีด้านการค้ าบริการในอาเซียน
(ASEAN Framework Agreement on Services : AFAS)
 ลด/ เลิก ข้อจากัดต่อการค้าบริการ ภายในปี 2553 สาหรับ
สาขาเร่งรัด 4 สาขา ได้แก่
 โทรคมนาคมและเทคโนโลยี
 สุขภาพ
 ท่องเที่ยว
 การขนส่งทางอากาศ
 ลด/ เลิก ข้อจากัดต่อการค้าบริการ ภายในปี 2558 สาหรับ
สาขาอื่นๆ
รูปแบบการค้าบริการ
(GATS 4 ‘modes’ of providing services)
Mode 1: Cross – Border Supply การให้ บริการจากพรมแดนของประเทศหนึ่งไปสู่พรมแดน ของ
(การบริการข้ามพรมแดน) ประเทศอื่น โดยผู้ให้ บริการไม่ต้องเดินทางไปปรากฏตัวอยู่ในอีก
ประเทศหนึ่ง
Mode 2: Consumption Abroad การให้ บริการที่เกิดขึ้นในพรมแดนของประเทศผู้ให้ บริการ โดย
(การบริโภคในต่างประเทศ) อาศัยการเคลื่อนย้ ายของผู้บริโภคเป็ นเงื่อนไขสาคัญ เช่น การไป
รับการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลต่างประเทศ
Mode 3: Commercial Presence เป็ นการที่ต่างชาติเข้ าไปลงทุนจัดตั้งธุรกิจในรูปแบบต่างๆ เพื่อ
(การจัดตั้งธุรกิจเพือ่ ให้บริการ) ให้ บริการในประเทศลูกค้ า เช่น การจัดตั้งสาขา สานักงานตัวแทน
หรือบริษัท
Mode 4: Presence of Natural
การที่คนต่างชาติเดินทางไปทางานประกอบอาชีพให้ บริการด้ วย
Person (การให้บริการโดย ตนเองในสาขาบริการต่างๆ เป็ นการชั่วคราวในประเทศอื่น เช่น
บุคคลธรรมดา)
ครูต่างชาติเข้ ามาให้ บริการสอนภาษาในประเทศไทย
ความคืบหน้ าของการเจรจาการค้ า ภายใต้ AFAS
 มีการลงนามในข้ อผูกพันการค้ าบริการภายใต้ กรอบ AFAS ไปแล้ ว 7 ชุด
 เป้ าหมายการเปิ ดตลาดสาหรับข้ อผูกพัน ชุดที่ 8 ของอาเซียน
 Mode 1 ต้ องไม่มีข้อจากัดใดๆ ทั้งสิ้น (ผู้รับบริการและผู้ให้ บริการอยู่คนละ
ประเทศ)
 Mode 2 ต้ องไม่มีข้อจากัดใดๆ ทั้งสิ้น (การรับบริการในต่างประเทศ)
 Mode 3 ต้ องอนุญาตให้ ผ้ ูให้ บริการอาเซียนเข้ ามาจัดตั้งธุรกิจหรือถือหุ้นในประเทศ
ได้ โดยอนุญาตให้ เข้ ามาถือหุ้นอย่างน้ อย 70 % ในสาขาเร่งรัด (โทรคมนาคม
คอมพิวเตอร์ สุขภาพ และท่องเที่ยว) และให้ เข้ ามาถือหุ้นอย่างน้ อย 51 % ในสาขา
บริการอื่นๆ (การเปิ ดกิจการโดยต่างชาติ)
 Mode 4 ไทยยังไม่ขอผูกพันจนกว่าอาเซียนจะมีการกาหนดเป้ าหมายการลด/ยกเลิก
ข้ อจากัดเสร็จสิ้น (การเคลื่อนย้ ายบุคลากร)
มาตรฐานบริการระดับสากล
 การใช้บริการโรงพยาบาลเอกชนไทยของชาวต่างชาติจากอาเซี ยน
 36,708 คน ในปี 2546 และเพิ่มขึ้นเป็ น 115,561 คน ในปี 2550
 การจัดเตรียมบุคลากรด้านภาษาและวัฒนธรรม
 โรงพยาบาลเอกชนบางแห่ง ได้ จัดเตรียมบุคลากรที่มคี วามรู้ด้านภาษาของประเทศเพื่อนบ้ าน
 การรับรองมาตรฐานโรงพยาบาล
 มีโรงพยาบาลเอกชนไทยที่ได้ รับการรับรองมาตรฐาน JCIA (Joint Commission
International Accreditation) จานวน 16 แห่ง และผ่านการรับรองคุณภาพแบบ
HA (Hospital Accreditation) หรือ ISO จานวน 58 แห่ง (2553)
 การพัฒนาสาขาบริการที่มีโอกาสขยายตัวสูง
Thailand Competitiveness Matrix (TCM)
= 2003 Export value of
1 bil USD
6
New Wave
Opportunity
Other
Manufacturing
Healthcare
5
Star
Chemical
Vegetable
Auto
Transport
Attractiveness
Radio & TV
4
Petrol Refinery
Sawmill & wood
products
Office &
household
Metal
Plastic
Other
Food
3
Textile &
Clothing
Electrical Machinery
Industrial
machinery
2
Other
Dairy
Transport Product
Meat & poultry
Rubber products
Processed Fruit
& vegetable
Canned
fish &
seafood
Rice & grain
Communication
Tobacco
1
Travel & Tourism
Sugar
Construction
Trouble
Question Mark
Falling Star
0
0
1
2
3
Competitiveness
4
5
6
Comparative advantage of private health facilities in Asia
Competitive Advantage
Service & Hospitality
Thailand Singapore India Malaysia Hong Kong
*****
**
*
*
**
Hi-technological Hardware
***
****
**
*
**
HR Quality
****
****
**
**
***
International Accredited Hosp.
Pre-emptive Move
**
**
**
***
*
*
*
*
*
Synergy/Strategic Partner
**
**
*
*
*
***
****
***
*
*
****
**
***
**
*
Accessibility/Market Channel
Reasonable Cost
Source: Modified from Private Hospital Association and Business Council of Thailand, 2004
มาตรฐานสินค้ าระดับสากล
 การพัฒนามาตรฐานสินค้าด้านสุขภาพ
 ผลิตภัณฑ์สขุ ภาพ
 ยาไทย และ สมุนไพร
“One Vision,
One Identity,
One Community”
MRA ยา ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เครื่องมือแพทย์
 ความตกลงว่าด้วยการยอมรับร่วมรายสาขาสาหรับการตรวจสอบแนวทางการ
ผลิตที่ดีของผูผ้ ลิตสินค้าเภสัชกรรม (ASEAN Mutual Recognition
Arrangement (MRA) for Good Manufacturing Practice
(GMP) Inspection of Manufacturers of Medicinal Products)
 วันที่ 10 เมษายน 2552 ในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ณ เมือง
พัทยา ประเทศไทย
MRA แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล
 อาเซี ยนโดยองค์กรวิชาชีพที่เกีย่ วข้องได้จด
ั ทาข้อตกลงยอมรับร่วมใน
คุณสมบัติทางวิชาชีพ (Mutual Recognition Arrangement:
MRA) ในสาขาวิชาชีพหลักๆ เพือ่ อานวยความสะดวกในการขอรับ
ใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพ
 สาขาพยาบาล ลงนาม วันที่ 8 ธันวาคม 2549
 สาขาแพทย์ และ ทันตแพทย์ ลงนาม วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2552
 ปัจจุบน
ั ยังไม่มกี ารดาเนินการใดๆ มากไปกว่าที่กฎหมายภายในประเทศกาหนด
 หลักสูตรที่แตกต่าง เช่น พยาบาล ไทยใช้เวลาเรียน 4 ปี
 ในต่างประเทศส่วนใหญ่เรียนต่ากว่า 4 ปี
 การเคลือ่ นย้ายบุคคลธรรมดา (Mode 4)
 ยังเป็ นประเด็นอ่อนไหวสาหรับทุกประเทศ
 สภาพปั จจุบนั
 แรงงานฝี มอื ด้ านบริการสุขภาพจากต่างประเทศ หลั่งไหลเข้ าทางานในสถานพยาบาล
ของประเทศไทย โดยเฉพาะพยาบาลฟิ ลิปปิ นส์
จานวนบุคลากรทางการแพทย์กลุ่มอาเซี ยน
แพทย์
พยาบาล
ทันตแพทย์
2553
ประเทศ
จานวน
ต่อ
ประชากร
กาลัง
ผลิต
จานวน
ต่อ
ประชากร
กาลัง
ผลิต
จานวน
ต่อ
ประชากร
กาลังผลิต
ไทย
18,918
1:3,333
2,500
96,704
1:658
9,000
4,129
1:14,286
800
บรูไน
564
1:704
1,941
1:207
82
1:4,762
กัมพูชา
3,393
1:4,348
11,736
1:1,266
258
1:50,000
อินโดนีเซีย
65,722
1:3,448
465,662
1:490
13,709
1:16,667
ลาว
1,614
1:3,704
5,724
1:1,031
มาเลเซีย
25,102
1:1,064
72,847
1:366
3,640
1:7,143
พม่า
23,709
1:2,174
41,424
1:1,250
2,549
1:20,000
ฟิ ลิปปิ นส์
93,862
1:870
488,434
1:167
45,903
1:1,786
สิงคโปร์
8,323
1:546
26,792
1:169
1,463
1:3,125
เวียดนาม
107,131
1:820
88,025
1:990
ความต้องการ
1:4,000
ที่มา: World Health Statistics 2011
1:650
1:10,000
มาตรฐานความปลอดภัยด้ านอาหาร
 การปรับประสานด้านคุณภาพและมาตรฐาน การรับรองความปลอดภัยของ
อาหาร และการจัดทาระบบการรับรองคุณภาพสินค้าให้เป็ นมาตรฐานเดียวกัน
จะทาให้สินค้าเกษตรของอาเซียนพร้อมที่จะแข่งขันในตลาดโลก
 โดยการเสนออาหารที่ปลอดภัย มีประโยชน์ต่อสุขภาพ และมีคุณภาพได้
มาตรฐาน
โอกาสในการเตรียมความพร้ อมเข้ าสู่ประชาคม
ASEAN ด้ านการแพทย์และสาธารณสุข
 แรงงานฝี มือ
 ผลิตแรงงานฝี มือ
 พัฒนาแรงงานฝี มือ
 ศูนย์กลางผลิต และ พัฒนาแรงงานฝี มือนานาชาติ
 บริการ




ศูนย์กลางท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
ต้ นแบบการเข้ าถึงบริการสุขภาพด้ วยหลักประกันสุขภาพ
พัฒนาบริการสุขภาพ
พัฒนาโครงสร้ างพื้นฐาน
 กฎหมาย
 พัฒนากฎหมายระหว่างประเทศด้ านสุขภาพ
 พัฒนามาตรการ และ กฎหมาย คุ้มครองผู้บริโภค
 ศูนย์กลางวิจยั และ พัฒนา ด้านสุขภาพ
คณะกรรมการดาเนินงานเตรียมความพร้ อมด้ าน
สาธารณสุข
 คณะกรรมการอานวยการ
 ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประธาน
 ผู้อานวยการสานักนโยบายและยุทธศาสตร์ เลขานุการ
 คณะกรรมการดาเนินงาน 9 ด้าน
 ภาครัฐ
 ภาคเอกชน
 ภาคประชาสังคม
สินค้าและ
คุม้ ครอง
ผูบ้ ริโภค
บริการและ
แรงงานฝี มือ
สาธารณภัย
สิง่ แวดล้อม
อาหาร
ปลอดภัย
ภาพรวม
แผนงาน/
โครงการด้าน
สาธารณสุข
โรคติดต่อ
สุขภาพจิ ต
โรคไม่ติดต่อ
สร้างเสริม
สุขภาพ
ยาเสพติด