Transcript 21312-1

องค์การระหว่างประเทศ
โดย
น.อ.กฤษฎางค์ สุทศั น์ ณ อยุธยา
อจ.กวยศ.ฝวก.ยศ.ทร.
น.อ.กฤษฎางค์ สุทศั น์ ณ อยุธยา
การศึกษา
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
ปริญญาตรี รัฐศาสตร์ จุฬาฯ
ปริญญาตรี นิติศาสตร์ ม.รามคาแหง
ปริญญาตรี นิติศาสตร์ จุฬาฯ (กฎหมายระหว่าง
ประเทศ)
ปริญญาตรี รัฐศาสตร์ จุฬาฯ (รัฐประศาสนศาสตร์)
การศึกษาใน ทร.
หลักสูตรฝ่ ายอานวยการเบือ้ งต้น
รร.นว.หลักสูตรทัวไป
่
รร.สธ.ทร.
การศึกษาต่างประเทศ
หลักสูตร National Development วิทยาลัยทหาร
ไต้หวัน
การรับราชการ
นักการข่าว 3 – 5 สานักข่าวกรองแห่งชาติ
อจ.กวศ.ฝวก.สรส.
ประจา กอวจ.ศยร.สรส.
ประจา กศย.ศยร.สรส.
อจ.กวยศ.ฝวก.สรส.
ประจา สรส.
รอง ผอ.กศษ.รร.อส.สรส.
อจ.กวยศ.ฝวก.ยศทร.
ความหมายขององค์การระหว่างประเทศ
องค์การระหว่างประเทศ คือ กลไกอย่าง
หนึ่ งในการปฏิบตั ิ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ เพื่อ
การดารงอยู่ร่วมกันในระบบสังคมระหว่าง
ประเทศ หรือระบบนานารัฐ (Multi-State
System)
ลักษณะขององค์การระหว่างประเทศ
๑. องค์การระหว่างประเทศ ในลักษณะที่ไม่เป็ น
สถาบัน แต่เป็ นการร่วมกันดาเนินการ เพื่อ
ผลประโยชน์ หรือการดาเนินการต่อปัญหาที่เกิดขึน้
ร่วมกันเป็ นครัง้ คราว
๒. องค์การระหว่างประเทศในลักษณะที่เป็ น
สถาบันที่รฐั ต่างๆ ตัง้ ใจจัดตัง้ ขึน้ เพื่อดาเนินการใน
เรื่องต่างๆ ร่วมกันในลักษณะถาวร
ระดับขององค์การระหว่างประเทศ
๑. องค์การระหว่างประเทศสากล
๑.๑ องค์การระหว่างประเทศสากล ที่มีวตั ถุประสงค์ทวไป
ั่
๑.๒ องค์การระหว่างประเทศสากล ที่มีวตั ถุประสงค์จากัด
๒. องค์การระหว่างประเทศส่วนภูมิภาค
๒.๑ องค์การระหว่างประเทศส่วนภูมิภาค ที่มีวตั ถุประสงค์
ทัวไป
่
๒.๒ องค์การระหว่างประเทศส่วนภูมิภาค ที่มีวตั ถุประสงค์
จากัด
ลักษณะพืน้ ฐานขององค์การระหว่างประเทศ
๑. โลกประกอบด้วยรัฐอธิปไตยต่างๆ
๒. มีการติดต่อกันระหว่างรัฐอธิปไตยต่างๆ
๓. รัฐต่างๆ ต้องมีความสานึ กว่า อาจเกิดปัญหาขึน้
ระหว่างรัฐต่างๆ หรือได้รบั ผลประโยชน์ ร่วมกัน
๔. รัฐต่างๆ เห็นความจาเป็ นที่จะต้องมีการสถาปนา
กลไก วิธีการ และหลักปฏิบตั ิ ระหว่างประเทศ
จุดมุ่งหมายขององค์การระหว่างประเทศ
๑. การรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมันคง
่
ระหว่างประเทศ
๒. การส่งเสริมความร่วมมือในด้านต่างๆ
ระหว่างรัฐ
ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองระหว่างประเทศ กฎหมาย
ระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
- การเมืองระหว่างประเทศเป็ นเรือ่ งของการที่รฐั ต่างๆ ดาเนิน
นโยบายต่างประเทศต่อกัน
- กฎหมายระหว่างประเทศเป็ นกฎเกณฑ์และธรรมเนี ยมที่รฐั
ต่างๆ ถือปฏิบตั ิ ในความสัมพันธ์ระหว่างกัน
- องค์การระหว่างประเทศเป็ นการจัดตัง้ สถาบันให้กบั การเมือง
ระหว่างประเทศโดยตรง
- องค์การระหว่างประเทศเป็ นเครือ่ งมือของสังคมระหว่าง
ประเทศในการกาหนดหลักเกณฑ์ และการติดต่อสัมพันธ์กนั
ระหว่างรัฐ
ปัญหาขององค์การระหว่างประเทศ
๑. ปัญหาเกี่ยวกับอานาจอธิปไตย
๒. ปัญหาเกี่ยวกับฐานะขององค์การระหว่างประเทศ
๓. ปัญหาเรื่องความเสมอภาค
๔. ปัญหาเรื่องการเมืองแห่งอานาจ
๕. ปัญหาเรื่องชาตินิยม
หน้ าที่ขององค์การระหว่างประเทศ
๑. การเป็ นที่ประชุมปรึกษาหารือระหว่างรัฐ
๒. การเป็ นผูว้ างกฎเกณฑ์ต่างๆ
๓. การทาหน้ าที่จดั สรรทรัพยากร
๔. การเพิ่มสมรรถนะทางทหาร
๕. การปฏิบตั ิ การรักษาสันติภาพ
๖. การส่งเสริมความร่วมมือเฉพาะด้านในด้านต่างๆ
วิวฒ
ั นาการขององค์การระหว่างประเทศ
- องค์การระหว่างประเทศที่มีหน้ าที่และความรับผิดชอบทางทหาร
เกิดขึน้ ในสมัยนครรัฐกรีก
- องค์การระหว่างประเทศสมัยใหม่เกิดขึน้ ภายหลังจากการปฏิวตั ิ
อุตสาหกรรม และการปฏิวตั ิ ฝรังเศส
่
- องค์การระหว่างประเทศในศตวรรษที่ ๑๙ แบ่งออกเป็ น ๒ ระดับ คือ
๑. ระบบสถาบันการเจรจาที่มีลกั ษณะการเมืองระดับสูง
๒. ระบบสถาบันที่เน้ นการปฏิบตั ิ หน้ าที่ที่มีลกั ษณะการเมืองใน
ระดับตา่
วิวฒ
ั นาการขององค์การระหว่างประเทศ (ต่อ)
- ภายหลังจากสงครามโลกครัง้ ที่ ๒ สิ้นสุดลง จานวนองค์การระหว่าง
ประเทศได้เพิ่มขึน้ อย่างรวดเร็ว โดยมีสาเหตุสาคัญ ๔ ประการ ดังนี้
๑. ผลของการทาลายล้างของสงครามโลก
๒. ความสะดวกในการเดินทางและการติดต่อสื่อสารระหว่าง
ประเทศ
๓. หลักมนุษยธรรม (Humanitarianism)
๔. การขยายตัวของระบบพนักงานระหว่างประเทศ (International
Civi Service)
องค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
- สันนิบาตชาติเป็ นองค์การระหว่างประเทศระดับโลก
ที่ได้รบั การสถาปนาขึน้ ภายหลังจากสงครามโลกครัง้
ที่ ๑ สิ้นสุดลง
- แนวความคิดเกี่ยวกับระบบความมันคงร่
่
วมกัน
- สนธิสญ
ั ญาสันติภาพแห่งแวร์ซายส์ (Peace Treaty of
Veesailles)
จุดมุ่งหมายของสันนิบาตชาติ
๑. ธารงรักษาสันติภาพและความมันคงระหว่
่
าง
ประเทศ
๒. ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างประเทศใน
ทุกด้าน
๓. ให้หลักประกันในการเคารพกฎหมายระหว่าง
ประเทศ และสนธิสญ
ั ญาสันติภาพ
หลักการสาคัญของสันนิบาตชาติ ๔ ประการ
๑. ลักษณะความเป็ นสากล (Universality)
๒. ระบบความมันคงร่
่
วมกัน (Collective Security)
๓. หลักความเสมอภาค (Equality)
๔. หลักความเป็ นเอกฉันท์ (Unanimity)
โครงสร้างของสันนิบาตชาติ
๑. สมัชชา (Assembly)
๒. คณะรัฐมนตรี (Council)
๓. สานักงานเลขาธิการ (Secretariat)
ปัญหาการบริหารและการปฏิบตั ิ ภารกิจของสันนิบาตชาติ
สาเหตุความล้มเหลวของสันนิบาติชาติ
๑. ระบบความมันคงร่
่
วมกันไม่เข้มแข็ง
๒. ข้อบัญญัติในกติกาสันนิบาตชาติมีลกั ษณะ
คลุมเครือและไม่ยตุ ิ ธรรมต่อรัฐผูแ้ พ้สงคราม
๓. สันนิบาตชาติไม่ได้มีฐานะเป็ น “รัฐบาลโลก”
๔. รัฐสมาชิกได้ลาออกจากสันนิบาตชาติเป็ นจานวน
มาก
๕. สถานการณ์ และสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศ
ในเวลานัน้
องค์การสหประชาชาติ (United Nations)
- สหประชาชาติเป็ นองค์การระหว่างประเทศระดับโลกที่ได้รบั
การสถาปนาขึน้ ภายหลังสงครามโลกครังที
้ ่ ๒ สืบเนื่ องจนถึง
ปัจจุบนั
- แนวความคิดเรือ่ ง “ความมันคงระหว่
่
างประเทศ”
- กฎบัตรแอตแลนติก (Atlantic Charter)
- ปฏิญญามอสโกเกี่ยวกับความมันคงทั
่
วไป
่ (Mascow Declaration
on General Security)
- ปฏิญญาเตหะราน (Atlantic Charter)
- การประชุมที่ดมั บาร์ตนั โอ๊คส์ (Dumbarton Oaks Conference)
- การประชุ มทีซ่ านฟรานซิสโก (San Francisce Conference)
วัตถุประสงค์ของสหประชาชาติ
๑. การธารงไว้ซึ่งสันติภาพและความมันคงระหว่
่
าง
ประเทศ
๒. ส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันท์มิตรระหว่างประเทศ
ต่างๆ
๓. ส่งเสริมความร่วมมือกันระหว่างประเทศในการ
แก้ปัญหาในด้านต่างๆ
๔. เป็ นศูนย์กลางในการประสานงานของ
ประชาชาติทงั ้ มวล
หลักการของสหประชาชาติ
๑. หลักความมันคงร่
่
วมกัน (Collective Security)
๒. หลักแห่งความเสมอภาคในอธิไตย (Sovereign Equality)
๓. หลักเอกภาพระหว่างมหาอานาจ (Greal Power Unity)
๔. หลักการระงับกรณี พิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี
(Peaceful Settlement Of International Disputes)
๕. หลักการเคารพเขตอานาจศาลภายใน (Domestic
Jurisdictions)
โครงสร้างของสหประชาชาติ
๑. สมัชชาใหญ่ (General Assembly)
๒. คณะรัฐมนตรีความมันคง
่ (Security Council)
๓. คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม (Economic and
Social Council)
๔. คณะมนตรีภาวะทรัสตี (Trusteeship Council)
๕. ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court Of
Justice)
๖. สานักเลขาธิการ (Secretariat)
การปฏิบตั ิ ภารกิจของสหประชาชาติ
๑. ด้านการรักษาสันติภาพและความมันคงระหว่
่
าง
ประเทศ
๒. ด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ
มนุษยธรรม
๓. ด้านการส่งเสริมการได้รบั เอกราชและสิทธิการ
ปกครองตนเองของดินแดนต่างๆ
๔. ด้านการพัฒนากฎหมายระหว่างประเทศ
บทบาทและข้อจากัดของสหประชาชาติ
๑. สหประชาชาติมิใช่รฐั บาลโลก
๒. สหประชาชาติประกอบด้วยสมาชิกที่มีความ
หลากหลายและแตกต่างกันมาก
๓. สหประชาชาติมีความซับซ้อนเชิงโครงสร้าง
๔. สหประชาชาติขาดศูนย์กลางในการดาเนินงาน
๕. การกาหนดให้มีสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความ
มันคงเพี
่
ยง ๕ ประเทศ
๖. ความล้าสมัยของกฎบัตรสหประชาชาติ