ไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2

Download Report

Transcript ไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2

(World War 2)
ค.ศ. 1939-1945
ประเทศในฝ่ ายพันธมิตรแสดงในสี เขียว และฝ่ ายอักษะแสดงในสี ส้ม
ในสงครามครั้งนี้ เป็ นการสูร้ บกันระหว่างสองฝ่ ายคือ ฝ่ ายอักษะ และ ฝ่ ายพันธมิตร โดยประเทศเล็กๆ
ส่วนใหญ่แล้ว ประเทศจะเข้าร่ วมฝ่ ายตาม ประเทศเพื่อนบ้านที่แข็งแกร่ งเป็ นส่วนใหญ่
ฝ่ ายอักษะประกอบไปด้วยแกนนาหลัก คือ เยอรมนี อิตาลี และ ญี่ปุ่น ในนามของกลุ่มอักษะโรมเบอร์ ลิน-โตเกียว ที่มีการแถลงวัตถุประสงค์หลักในตอนต้นว่าเพื่อต่อต้านขบวนการคอมมิวนิสต์สากล
ฝ่ ายพันธมิตรประกอบไปด้วยแกนนาหลัก คือ สหราชอาณาจักร, สหภาพโซเวียต และ สหรัฐอเมริ กา
โดยมีประเทศที่เข้าร่ วมฝ่ ายสัมพันธมิตรที่สาคัญอีก 2 ประเทศคือ จีน และ ฝรั่งเศส ซึ่งประเทศทั้ง 5 นี้ได้เข้า
เป็ นสมาชิกถาวรของคณะมนตรี ความมัน่ คงแห่งสหประชาชาติ
ฝ่ ายอักษะ คือ กลุ่มชาติผู้ก้าวร้ าวนาโดย เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น
ฝ่ ายสั มพันธมิตร ( The Allied Power or The Allies ) คือ
กลุ่มชาติที่ทาการต่ อต้ านการก้ าวร้ าวนาโดย อังกฤษ ฝรั่งเศส
สาเหตุของสงคราม
1. ความไม่ เป็ นธรรมของสนธิสัญญาแวร์ ซายส์
2. เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่าทัว่ โลกในปี ค.ศ.1929-1931
เปิ ดโอกาสให้ เกิดระบบเผด็จการ
3. ความอ่อนแอและความล้มเหลวขององค์ การสั นนิบาตชาติ เพราะสหรัฐฯ
และรัสเซียไม่ ได้ เป็ นสมาชิก
4. ความขัดแย้งทางระบบการเมืองระหว่ างประชาธิปไตยและเผด็จการ
- ประชาธิปไตย คือ ฝ่ ายสั มพันธมิตร
- เผด็จการ คือ ฝ่ ายอักษะ
5. การแข่ งขันทางเศรษฐกิจระหว่ างกลุ่มประเทศมีอาณานิคมกับกลุ่มประเทศ
ไม่ มีอาณานิคม
6. ความต้ องการแสวงหาความยิง่ ใหญ่ ทเี่ กิดจากลัทธิชาตินิยมและลัทธินิยมทหาร
เหตุการณที
่ าไปสู่สงครามโลกครัง้ ที่ 2
์ น
- ญีป่ ุ่ นรุกรานแมนจูเรีย แล้ วตั้งเป็ นรัฐแมนจูกวั เพือ่ เป็ นแหล่ งอุตสาหกรรมและแหล่ งทาทุนใหม่
สาหรับตลาดการค้ าของญีป่ ุ่ น
- การเพิม่ กาลังอาวุธของเยอรมัน
- กรณีพพิ าทระหว่ างอิตาลีกบั อังกฤษ ในกรณีทอี่ ติ าลีบุกเอธิโอเปี ย
- เยอรมนีเข้ าครอบครองแคว้ นไรน์ ซึ่งเป็ นการละเมิดสนธิสัญญาแวร์ ซายส์ และสนธิสัญญา
โลคาร์ โน
- สงครามกลางเมืองในสเปน
- เยอรมันผนวกออสเตรีย
- เยอรมันเข้ ายึดครองเชคโกสโลวะเกีย
- เยอรมนีโจมตีโปแลนด์
- ญีป่ ุ่ นโจมตีอ่าวเพิร์ล ฐานทัพเรือสหรัฐอเมริกาในหมู่เกาะฮาวาย
สงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดขึ้นเมื่อ ปี ค.ศ. 1939 เมื่อฮิตเลอร์
(เยอรมัน ) โจมตี โ ปแลนด์ อังกฤษและฝรั่ ง เศส ซึ่ งปกป้ อง
โปแลนด์อยูจ่ ึงต้องทาสงครามกับเยอรมัน
ในปี ค.ศ. 1942 ฝ่ ายอักษะ (ญี่ปุ่น เยอรมัน อิตาลี) ได้บุกยึด
ยุทธภูมิสาคัญคื อ รัสเซี ย แอฟริ กาเหนื อ และแปซิ ฟิก ซึ่ งก็
ประสบความสาเร็ จเกือบทุกแห่ง โดยเฉพาะญี่ปุ่นซึ่ งได้รับชัย
ชนะมากที่ สุ ด ในการยึดครองจัก รวรรดิ แ ปซิ ฟิ ก ทั้ง นี้ อาจ
เนื่องมาจากอาณานิคมของตะวันตกไม่ต่อสู้กบั ญี่ปุ่นเพื่อชาว
ยุโรป ซึ่ งผิดกับญี่ปุ่นที่ถือประโยชน์จากคาขวัญที่วา่
“
เอเชียเพือ่ ชาวเอเชีย ”
สา เ ห ตุ ที่ ท า ใ ห้ ส ห รั ฐ ฯ เ ข้ า ร่ ว ม
สงครามโลกครั้ งที่ 2 เพราะญี่ ปุ่ นเข้า
โจมตี อ่ า วเพิ ร์ ล ฮาร์ เ บอร์ ซ่ ึ งเป็ นฐาน
ทัพเรื อของสหรัฐในวันที่ 7 ธันวาคม ปี
1941
เย อรมั น ย อมแพ้ ฝ่ าย สั ม พั น ธมิ ตรเ มื่ อวั น ที่ 2
พฤษภาคม ปี 1945 ส่ วนญี่ปุ่นยอมแพ้เพราะโดนสหรัฐฯ
ส่ งเครื่ องบินมาทิ้งระเบิดปรมาณู ที่เมืองฮิโรชิมาและเมือง
นางาซากิ ญี่ปุ่นจึงประกาศยอมแพ้ในวันที่ 4 สิ งหาคม
ปี 1945
การยุตสิ งครามโลกครั้งที่ 2
- ทางยุโรป เมื่อสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่หาดนอร์มงั ดี
- ทางเอเชีย เมื่อสหรัฐอเมริ กาทิ้งปรมาณูที่ฮิโรชิมาและนางาซากิ
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
1. ตามข้อตกลงปอตสดัม ทาให้เยอรมันถูกแบ่งออกเป็ น 4 เขต และถูกยึดครอง
จากกลุ่มประเทศที่แบ่งเป็ น 2 ฝ่ าย คือ สหรัฐฯ อังกฤษ และฝรั่งเศส ฝ่ ายหนึ่ง และ
รัสเซีย อีกฝ่ ายหนึ่ง
2. ความขัดแย้งเรื่ องผลประโยชน์ของรัสเซี ยกับสหรัฐฯ ส่ งผลให้เยอรมันถูกแบ่ง
ออกเป็ น 2 ส่ วนคือ เยอรมันตะวันตก และเยอรมันตะวันออก
3. สหรัฐฯได้เข้าปกครองญี่ปุ่นเป็ นเวลานานถึง 6 ปี
ไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2
- ไทยถูกญี่ปุ่นรุ กราน รั ฐบาลไทยต้ องยอมให้ กองทัพญี่ปุ่นเดินทัพ
ผ่ านดินแดนไทยไปพม่ าและมลายู
- ประชาชนชาวไทยส่ วนหนึ่งไม่ เห็นด้ วย และก่ อตั้งขบวนการเสรี
ไทยขึน้ เพือ่ คัดค้ าน
- ไทยต้ องทาข้ อตกลงสมบู รณ์ แบบ โดยยอมให้ ข้าวสารแก่ อังกฤษ
จานวน 1. 5 ล้ านตัน และเสี ยเงินเพื่อชดใช้ ความเสี ยหายแก่ อั งกฤษ
และอินเดีย อังกฤษจึงยอมรับว่ าไทยไม่ แพ้สงครามโลกครั้งที่ 2
ไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2
เส้ นทางสู่ สงครามโลกครั้งทีส่ อง
The road to World War II
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ งยุติลงในปี 1918 ด้วยความพ่ายแพ้ของเยอรมัน ฝ่ ายพันธมิตรใน
ขณะนั้นประกอบด้วย อิตาลี ฝรั่งเศส อังกฤษและสหรัฐอเมริ กา ได้ร่วมกันร่ างสนธิ สัญญา
แวร์ซาย (the Varsailles treaty) เพื่อจากัดสิ ทธิของเยอรมัน ในอันที่จะเป็ นภัยคุกคามอีกครั้ง
สนธิสัญญาแวร์ซายลงนามในวันที่ 28 มิ.ย. 1919 ส่ งผลให้กองทัพเยอรมันถูกจากัดขนาดให้
เล็กลง ดินแดนต่างๆ ถูกริ บ หรื อยึดครอง
ฝรั่งเศสเข้าควบคุมเหมืองถ่านหิ นในแคว้นซาร์ (Saar) แลกกับ
การที่เยอรมันทาลายเหมืองถ่านหิ นของตน ทางตะวันออกเฉี ยงเหนือ
ระหว่ า งสงครามโลกครั้ งที่ ห นึ่ ง ฝั่ ง ตะวัน ออกของแม่ น้ าไรน์
กลายเป็ นเขตปลอดทหาร (Demilitarized) และยึดครองโดยฝ่ าย
พัน ธมิ ต รลึ ก เข้า ไป 30 ไมล์ นอกจากนี้ เยอรมัน ยัง ต้อ งชดใช้ค่ า
ปฏิกรรมสงครามเป็ นเงินอีก 6,600 ล้านปอนด์
ในเดือนมกราคม 1933 อดอฟ ฮิตเลอร์ ผู้นาพรรคนาซี ได้ ขนึ้ ดารง
ตาแหน่ ง Chancellor ของประเทศเยอรมัน และเป็ นผู้นาสู งสุ ดของ
ประเทศในทีส่ ุ ด
ฮิตเลอร์ กป็ ระกาศเสริมสร้ างกองทัพเยอรมันขึน้ ใหม่ ซึ่งเท่ ากับเป็ นการ
ฉีกสนธิสัญญาแวร์ ซาย
วันที่ 1 กันยายน 1939 เครื่ องบินของกองทัพอากาศเยอรมัน หรื อลุฟวาฟ
(Luftwaffe) ก็เริ่ มต้ นการทิ้งระเบิดถล่ มจุ ดยุทธศาสตร์ ในประเทศโปแลนด์
พร้ อมๆกับกาลังรถถังและทหารราบ ก็เคลื่อนกาลังผ่ านชายแดนโปแลนด์ เข้ าไป
อย่ างรวดเร็ ว เป็ นครั้ งแรกที่โลกได้ เห็นสงครามสายฟ้าแลบ (Blitzkeieg) ที่ใช้
เครื่องบินทิง้ ระเบิดนา ตามด้ วยยานเกราะและทหารราบ
อังกฤษและฝรั่งเศส ในฐานะประเทศพันธมิตรของโปแลนด์ ยืน่ คาขาดต่ อ
ฝ่ ายเยอรมัน ให้ ถอนทหารออกจากโปแลนด์ แต่ ฮิตเลอร์ ปฏิเสธ
วันที่ 3 กันยายน 1939 ฝรั่งเศสและอังกฤษ ประกาศสงครามกับเยอรมัน
ซึ่งถือเป็ นจุดเริ่มต้ นของสงครามโลกครั้งทีส่ อง และต่ อจากนีไ้ ป โลกจะ
นองไปด้ วยเลือดและนา้ ตา อีกเป็ นเวลากว่ า 5 ปี
ทหารเยอรมัน กาลัง รุ กเข้ าสู่ โปแลนด์ ภาพนี้ถ่ ายเมื่อวัน ที่ 18 ก.ย.1939 โดย
กองทัพเยอรมันแบ่ งออกเป็ นสองส่ วน คือ กลุ่มกองทัพเหนื อ (Army Group
North) รุ กลงใต้ จาก Pomerania และจากปรัสเซียตะวันออก และ กลุ่มกองทัพใต้
(Army Group South) รุ กเข้ าไปทางชายแดนด้ านตะวันตกของโปแลนด์ ภายใน
เวลาสองวัน กองทัพอากาศเยอรมันก็สามารถครองน่ านฟ้ าเหนือโปแลนด์ ได้
ทหารเยอรมันกาลังสวนสนาม ประกาศชัยชนะบนถนนกลางกรุ งวอร์ ซอร์ ในวันที่ 5
ตุลาคม 1939 ภายหลังการเข้ ายึดครองประเทศโปแลนด์ อย่ างสมบูรณ์ เมือ่ โปแลนด์
ประกาศยอมแพ้ในวันที่ 27 กันยายน 1939 โปรดสั งเกตหน่ วยทหารรักษาความปลอดภัย
ตามแนวถนน ทีเ่ ห็นอยู่ด้านหลัง จะเห็นว่ ามีการรักษาความปลอดภัยทีเ่ ข้มงวดมาก
เนื่องมาจากสองสาเหตุคอื การสวนสนามในครั้งนี้ อดอฟ ฮิตเลอร์ เดินทางมาร่ วมงาน
ประกาศชัยชนะ และสาเหตุทสี่ องคือ การต่ อต้ านของฝ่ ายโปแลนด์ ยังไม่ หมดลงอย่ างสิ้น
ซาก แม้ กระทัง่ ในวันสวนสนามนี้ กลุ่มต่ อต้ านของโปแลนด์ เพิง่ จะถูกกวาดล้ างจากบริเวณ
Kock ทางตะวันออกเฉียงใต้ ของกรุ งวอร์ ซอร์
ภายหลั ง ที่ พิชิ ต โปแลนด์ แ ล้ ว ฮิ ต เลอร์ ก็ ม องต่ อ ไปที่ น อร์ เ วย์ ในฐานะที่ จ ะใช้ เป็ นฐานของ
กองทัพอากาศ ส่ งเครื่องบินเข้ าโจมตีเกาะอังกฤษ 4 เมษายน 1940 เยอรมันก็บุกนอรเวย์ เมืองท่ านาร์ วิก
(Narvik) ถูกยึดในวันที่ 9 เมษายน อังกฤษและฝรั่งเศสส่ งกาลังเข้ าตอบโต้ แต่ ไม่ เป็ นผล กาลังพันธมิตร
ทีย่ กพลขึน้ บกที่ Trondheim ถูกทหารเยอรมันกวาดล้ างจนต้ องถอยกลับไป
เครื่องบิน Ju 87 สตูก้า (Stuka) ของเยอรมัน เป็ นเครื่องบินดาทิง้ ระเบิด ซึ่งมีบทบาท
มาก ในช่ วงต้ นของสงคราม โดยทาหน้ าที่ทิ้งระเบิดที่มั่นของทหารโปแลนด์ เบลเยี่ยม
อั ง กฤษ และฝรั่ ง เศส จนเป็ นเหตุ ใ ห้ แ นวตั้ ง รั บ ของพั น ธมิ ต รแตกลงอย่ า งรวดเร็ ว
โดยเฉพาะอย่ างยิ่งการรบในฝรั่ งเศส ในภาพจะเห็นตอนหัวของเครื่ องใกล้ กับใบพั ด มี
ไซเรนสี ขาวติดอยู่ เพือ่ ทาให้ เกิดเสี ยงแหลมขณะเครื่องดาดิ่งลงสู่ เป้ าหมาย เป็ นการทาลาย
ขวัญของทหารฝ่ ายตรงข้ าม
รถถัง Panzer Mark I ของเยอรมันในช่ วงต้ นของสงครามโลกครั้งที่สอง สั ญลัก ษณ์
ของกองทัพนาซีทตี่ ิดกับยานเกราะ ยังเป็ นเพียงกากบาทสี ขาว แต่ มีข้อแนะนาว่ า กากบาทนี้
กลายเป็ นจุดเล็งอย่ างดีให้ กับปื นใหญ่ ของฝ่ ายข้ าศึ ก จึงมีการเปลี่ยนโดยเพิ่มกากบาทสี ดา
ภายในกากบาทสี ขาวในช่ วงการบุกเข้ าไปในคาบสมุทรบอลข่ าน และเรี ยกสั ญลักษณ์ ใหม่ นี้
ว่ า บอลข่ านคริซ (Balkan krzyz) นอกจากนีจ้ ะสั งเกตเห็นหมวกแบเร่ ต์สีดาของทหารยาน
เกราะ หรือหน่ วยแพนเซอร์ ซึ่งใช้ เฉพาะช่ วงแรกของสงคราม คือในการรบในโปแลนด์ และ
ฝรั่งเศส ต่ อมาได้ ยกเลิกไปในกลางปี 1941 และใช้ หมวกแก๊ ปแทน
แผนทีย่ ุโรป ในปี 1942 ซึ่งฮิตเลอร์ ได้ เข้ าครอบครองยุโรปเกือบทั้งหมด
สี นา้ ตาลอ่อนนั้นคือดินแดนในครอบครองของเยอรมัน จะเห็นว่ าฝรั่งเศส
แบ่ งออกเป็ นสองส่ วน คือส่ วนที่เยอรมันครอบครอง และส่ วนที่ไม่ ได้
ครอบครอง (Unoccupied Zone) แต่ ปกครองโดยรัฐบาลหุ่นของเยอรมัน โดย
จอมพลวิซี่
สี นา้ ตาลเข้ ม คือฝ่ ายอักษะ ซึ่งเป็ นพันธมิตรของเยอรมัน มีท้งั อิตาลี
ฮังการี โรมาเนีย บัลกาเรีย ฟิ นแลนด์
สี ขาวคือ ประเทศเป็ นกลาง มี สวิตเซอร์ แลนด์ สเปน สวีเดน และ
ไอร์ แลนด์ สเปนเป็ นประเทศที่ฮิตเลอร์ ผดิ หวังมาก เพราะก่อนเกิด
สงครามโลกครั้งทีส่ อง ฮิตเลอร์ ส่งกาลังเข้ าไปช่ วยในสงครามกลางเมือง แต่
เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งทีส่ องขึน้ รัฐบาลสเปนกลับวางตัวเป็ นกลาง แทนที่
จะเข้ าร่ วมกับเยอรมัน
สี เขียวคือฝ่ ายพันธมิตร มีองั กฤษ และรัสเซีย
D Days วันเผด็จศึ ก
ทหารอังกฤษกาลังวิ่งขึน้ จากเรือยกพลขึน้ บก ในวันดี เดย์ ท่ ามกลางการระดม
ของฝ่ ายเยอรมัน ฝ่ ายอังกฤษค่ อนข้ างโชคดีกว่ าทหารอเมริกนั มาก ทีก่ ารต้ านทานมี
น้ อยกว่ า และการสู ญเสี ยก็น้อยกว่ าด้ วยเช่ นกัน
ทหารอเมริ กั น ได้ รั บ
บาดเจ็ บ ระหว่ า งการยก
พลขึ้น บกในวัน ดี -เดย์ ที่
หาดโอมาฮ่ า ความสู ญเสี ย
ของอเมริ กั น ที่ ห าดนี้ มี
มาก จนมี ก ารพิ จ ารณา
ถอนทหารออกจากหาด
ความสู ญเสี ย ของฝ่ าย
พั น ธมิ ต รในวั น ดี เดย์
เป็ นความสู ญเสี ยที่คุ้ มค่ า
เ พ ร า ะ นั บ จ า ก นี้ ไ ป
สงครามก าลั ง เดิ น ทาง
ไปสู่ จุดสิ้นสุ ด
ภาพถ่ ายขณะทหารอเมริกาลงจากเรือยกพลขึน้ บก เพือ่ เข้ ายึดหาดนอร์ มังดี ในวันดี
เดย์ บนหาด ไกลๆจะเห็นภาพความโกลาหล การกระจัดกระจายของทหารระลอกแรก บ่ ง
บอกว่ า เรือยกพลลานีน้ ่ าจะเป็ นระลอกทีส่ อง ทีส่ ่ งมาตามระลอกแรก โปรดสั งเกตหมอก
ควันหนาทึบ ทีอ่ ยู่หลังชายหาดลึกเข้ าไป ซึ่งเกิดจากการระดมยิงฝั่งของปื นเรือฝ่ าย
สั มพันธมิตร จะเห็นว่ าระดมหนาแน่ นมากทั้งกระสุ นจริงและกระสุ นควันเพือ่ พรางการยก
พลขึน้ บก
สั ญลั ก ษณ์ ของกองพลที่ 352 ของ
เยอรมันที่ทาหน้ าที่ตรึ งชายหาดนอร์ มังดี
เอาไว้ อย่ างเหนี ย วแน่ น แม้ จะไม่ ได้
เตรียมการมาก่ อน กองพลนีต้ ้ังขึน้ ในเดือน
พ.ย. 1943 รั บผิดชอบพืน้ ที่นอร์ มั งดี เดิม
สั งกัดอยู่ในกองทัพกลุ่ม ดี ต่ อมาในเดือน
พ.ค. 1941 จึงเปลี่ยนสั งกัดกองทัพกลุ่ม บี
ของนายพลเออร์ วิน รอมเมล เจ้ าของฉายา
จิง้ จอกทะเลทราย ผู้รับผิดชอบกาแพง
แอตแลนติค
ภายหลังที่สถาปนาความ
มั่นคงบนหาดนอร์ มังดีแล้ ว
ท ห า ร พั น ธ มิ ต ร ก ว่ า
150,000 คนก็หลัง่ ไหลเข้ าสู่
ห า ด เ พื่ อ ป ล ด ป ล่ อ ย
ฝรั่งเศสเป็ นเป้ าหมายต่ อไป
บอลลู น ที่เ ห็ นอยู่ ด้ า นหลัง
จะเป็ นสิ่ งขั ด ขวางการ
โ จ ม ตี ร ะ ย ะ ต่ า ข อ ง
เครื่ องบิ นเยอรมั น ที่ อ าจมี
ต่ อทหารพันธมิตร
ทหารอเมริ กันอีกคนหนึ่งที่ไม่ มีโอกาส
ได้ เห็นชัยชนะของสั มพันธมิตรเหนือหาด
นอร์ มังดี เครื่องกีดขวางที่เห็นอยู่ด้านข้ าง
แสดงให้ เห็ นว่ า เมื่อน้าขึ้น จะขึ้ นสู งมาก
จนท่ วมเครื่องกีดขวางนี้ ยอดของมันที่อยู่
เรี่ยผิวนา้ จะเป็ นตัวสกัดเรือยกพลขึน้ บกที่
แล่ นเข้ ามา ส่ วนเครื่ องกีดขวางที่ เห็ นอยู่
ด้ า นหลัง เรี ย กว่ า รอมเมลแอสปาราคั ส
(Rommel's Asparacus) ทาจากเหล็กราง
รถไฟ หรือเสาเหล็กทั่วๆไป จะมีผลเมื่อน้า
ขึ้ น ไม่ สู งนั ก นอกจากนี้ บ างส่ วนของ
เครื่ อ งกี ด ขวางเหล่ า นี้ ยั ง ผู ก กั บ ระเบิ ด
เอาไว้ อกี ด้ วย