สงครามโลกครั้งที่สอง เป็ นความขัดแย้งในวงกว้าง ครอบคลุมทุกทวีป และประเทศส่ วนใหญ่ในโลก เริ่ มต้นในปี พ.ศ. 2482 (ค.ศ.

Download Report

Transcript สงครามโลกครั้งที่สอง เป็ นความขัดแย้งในวงกว้าง ครอบคลุมทุกทวีป และประเทศส่ วนใหญ่ในโลก เริ่ มต้นในปี พ.ศ. 2482 (ค.ศ.

Slide 1


Slide 2


Slide 3

สงครามโลกครั้งที่สอง เป็ นความขัดแย้งในวงกว้าง ครอบคลุมทุกทวีป
และประเทศส่ วนใหญ่ในโลก เริ่ มต้นในปี พ.ศ. 2482 (ค.ศ. 1939) และดาเนินไป
จนกระทัง่ สิ้ นสุ ดในปี พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) ได้ชื่อว่าเป็ นสงครามที่มีขนาดใหญ่
และทาให้เกิดความสู ญเสี ยครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ โลก


Slide 4

Hitler ผูน้ าไปสู ้สงครามโลกครั้งที่ 2 เขาเป็ นผูส้ ั่งการให้ไอริ ส ฮิมเลอร์ ก่อตั้ง
หน่วย"เอส เอส" เเละหน่วยตารวจลับ "เกสตาโป"ขึ้น จุดประสงค์เพื่อกวาดล้าง
ชาวยิวเเละผูต้ ่อต้าน เขาเป็ นผูน้ าของนาซี เยอรมันในการทาสงครามโลกครั้งที่2
ปี 1945เยอรมันเเพ้สงครามอีกครั้ง เขาฆ่าตัวตายพร้อมอีวา ซึ่ งเป็ นคนรักของเขา


Slide 5

กองกาลังยานเกราะSS Panzer นากาลังทหารเข้าจู่โจมโปเเลนด์อย่างรวดเร็ วในช่วง
ต้นของสงครามโลกครั้งที่ 2 ใช้การรบเเบบสายฟ้ าเล็บบดขยีก่ องทหารโปเเลนด์
เพียง3สัปดาห์กร็ ุ กเข้ากรุ งWarsowเมื่อหลวงของโปเเลนด์ได้สาเร็ จ กองทัพเยอรมัน
เสี ยหายน้อยมาก
จากรู ปเป็ นรู ปของกองทหารSS กาลังเดินขบวนหลังยึดโปเเลนด์ได้ท้ งั ประเทศ


Slide 6

การยกพลขึ้นบกที่หาดโอมาฮ่าในแคว้นนอร์ มองดีระหว่างปฏิบตั ิการโอเวอร์ ลอร์ ด


Slide 7

แผนผังฝ่ ายอักษะ
เยอรมัน
ออสเตรี ย

รัสเซีย

ญี่ปุ่น

โปแลนด์


Slide 8

แผนผังฝ่ ายพันธมิตร
พันธมิตร
ฝรั่งเศส

อังกฤษ

อเมริ กา


Slide 9


Slide 10

แผนทีแ่ สดงฝ่ ายพันธมิตรและฝ่ ายอักษะ สี เขียวเป็ นฝ่ ายพันธมิตร และสี ฟ้าเป็ นฝ่ ายอักษะ

Map with the Participants in World War II:
Dark Green: Allies before the attack on Pearl Harbor, including colonies and occupied countries.
Light Green: Allied countries that entered the war after the Japanese attack on Pearl Harbor.
Blue: Axis Powers
Gray: Neutral countries during WWII


Slide 11

แผนทีแ่ สดงฝ่ ายพันธมิตรและฝ่ ายอักษะ สี เขียวเป็ นฝ่ ายพันธมิตร และสี ฟ้าเป็ นฝ่ ายอักษะ


Slide 12

สงครามโลกครัง้ ที่ 2 นับเป็ นสงครามอย่างแท้ จริ ง เพราะ สงคราม
ได้ ขยายตัวไปทัว่ ทังในทวี

ปยุโรป แอฟริ กา รวมทังเอเชี
้ ยและ
แปซิฟิก

ภาพ ทหารโซเวียตสู ้รบอย่างโหดร้ายในยุทธการสตาลินกราด


Slide 13


Slide 14

1.1 ความไม่เป็ นธรรมของสนธิ สัญญาแวร์ ชายส์ ( การบีบเยอรมนีเกินไป คือ
ให้ร้ื อป้ อมบริ เวณแม่น้ าไรน์ และห้ามมีป้อม 50 ไมล์ ซึ่ งเป็ นการจากัดสิ ทธิ
เกินไป ) ทาให้เกิดลัทธิ ชาตินิยมในเยอรมนี
1.2 เศรษฐกิจตกต่าเปิ ดโอกาสให้เกิดระบบเผด็จการ
1.3 ความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างประชาธิ ปไตยและเผด็จการ
1. ประชาธิ ปไตย ผูน้ าคือ อังกฤษ ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริ กา
- ต่อมารวมกันเป็ นฝ่ าย “สัมพันธมิตร” ( Allies )
2. เผด็จการ ได้แก่
1. เผด็จการฟาสซิ สต์ ในอิตาลี เยอรมนี และสเปน
2. เผด็จการทหาร ในญี่ปุ่น ( นายพลโจโต )
3. เผด็จการคอมมิวนิสต์ ในรัสเซี ย
- ต่อมาอิตาลี เยอรมนี และญี่ปุ่น รวมกันเป็ น “ฝ่ ายอักษะ” ( AXIS )


Slide 15

1.4 การแข่งขันทางเศรษฐกิจ ระหว่าง
1. กลุ่มประเทศมี ( The Have Nations ) มีอาณานิคมเยอะ เช่น อังกฤษ
ฝรั่งเศส อเมริ กา
2. กลุ่มประเทศไม่มี ( The Have-not Nations ) มีอาณานิคมน้อย( แทบไม่
มีเลย ) เช่น เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น
1.5 ความต้องการแสวงหาความยิง่ ใหญ่ที่เกิดจากลัทธิ ชาตินิยมและลัทธิ นิยมทหาร
- มีการใช้กาลังทหารเข้ายึดดินแดนต่างๆโดย
1. ญี่ปุ่นยึดแมนจูเลีย
2. อิตาลียดึ เอธิโอเปี ยและอัลบาเนีย
3. เยอรมนีผนวกออสเตรี ยและเช็กโกสโลวะเกีย โปแลนด์
1.6 ความล้มเหลวขององค์การสันนิบาตชาติ ซึ่ งเกิดเพราะ
- สหรัฐอเมริ กาเป็ นผูก้ ่อตั้งแต่ไม่เป็ นสมาชิก
- ขาดทหาร


Slide 16

เส้ นทางสู่ สงครามโลกครั้งทีส่ อง
The road to World War II


Slide 17

2.1 เยอรมนีโจมตีโปแลนด์
2.2 ญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ล ฐานทัพเรื อสหรัฐอเมริ กาใน
หมู่เกาะฮาวาย


Slide 18


Slide 19

แผนที่ยโุ รป ในปี 1942 ซึ่ งฮิตเลอร์ ได้เข้าครอบครองยุโรปเกือบทั้งหมด
สี น้ าตาลอ่อน คือ ดินแดนในครอบครองของเยอรมัน
สี น้ าตาลเข้ม คือ ฝ่ ายอักษะ ซึ่ งเป็ นพันธมิตรของเยอรมัน มีท้ งั อิตาลี ฮังการี โรมาเนีย
บัลกาเรี ย ฟิ นแลนด์
สี ขาว คือ ประเทศเป็ นกลาง มี สวิตเซอร์แลนด์ สเปน สวีเดน และไอร์แลนด์
สี เขียว คือฝ่ ายพันธมิตร มีองั กฤษ และรัสเซี ย


Slide 20

3.1 ทางยุโรป เมื่อสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่หาดนอร์ มงั ดีของฝรั่งเศส
วันยกพลขึ้นบก ( D-Day ) 6 มิถุนายน 1944
วันชนะสงคราม ( V-E Day ) 7 กรกฏาคม 1945
3.2 ทางเอเชีย เมื่อสหรัฐอเมริ กาทิ้งปรมาณูที่ฮิโรชิมา ( 6 สิ งหาคม ) และนางาซา
กิ ( 9 สิ งหาคม ) ญี่ปุ่นจึงยอมแพ้ในวันที่ 14 สิ งหาคม


Slide 21

ทหารอังกฤษกาลังวิง่ ขึ้นจากเรื อ
ยกพลขึ้นบก ในวันดี เดย์
ท่ามกลางการระดมของฝ่ าย
เยอรมัน ฝ่ ายอังกฤษค่อนข้าง
โชคดีกว่าทหารอเมริ กนั มาก ที่
การต้านทานมีนอ้ ยกว่า และการ
สู ญเสี ยก็นอ้ ยกว่าด้วยเช่นกัน


Slide 22

4.1 ฝ่ ายอักษะแพ้
4.2 ก่อให้เกิดความเสี ยหายรุ นแรงกว่าสงครามโลกครั้งที่ 1
4.3 เยอรมนีและออสเตรี ยถูกแบ่งเป็ น 4 ส่ วน
4.4 ประเทศอาณานิคมได้รับเอกราช เพราะประเทศแม่แพ้อยูไ่ ม่มีเวลาดูแล
4.5 ดุลอานาจของโลกเปลี่ยนมาอยูท่ ี่สหรัฐอเมริ กาและโซเวียต ( USSR )


Slide 23


Slide 24

5.1 ไทยถูกญี่ปุ่นรุ กราน รัฐบาลไทยต้องยอมให้ญี่ปุ่นเดินทัพผ่านดินแดนไทย
ไปพม่าและมลายู
5.2 ประชาชนชาวไทยส่ วนหนึ่ งไม่เห็นด้วย และก่อตั้งขบวนการเสรี ไทยขึ้นเพื่อ
คัดค้าน( หัวหน้า คือ ดร. ปรี ดีย ์ -ในไทย และมรว. เสนีย ์ ปราโมท –
ในอเมริ กา )
5.3 ไทยต้องทาข้อตกลงสมบูรณ์แบบ โดยยอมให้ขา้ วแก่องั กฤษจานวน 1.5
ล้านตันและเสี ยเงินเพื่อชดใช้ความเสี ยหายแก่องั กฤษและอินเดีย อังกฤษจึง
ยอมรับว่าไทยไม่แพ้สงครามโลกครั้งที่ 2


Slide 25

แผนที่แสดงการบุกของกองทัพญี่ปุ่น
วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ในสงคราม
มหาเอเชียบูรพา