THANAVI`s presentation

Download Report

Transcript THANAVI`s presentation

Silapa Khana Ratsadon: the Absence
in Thai Art History
and Collective Memory
Thanavi Chotpradit
Department of History of Art and
Screen Media, Birkbeck,
University of London
TSAC 2012: Contribution to
Thailand
1-3 June 2012, Volendam, The
หมุ ด คณะราษฎร เป็ นหมุ
ด ที่ร ะลึก
Netherlands
การปฏิวั ต ิ พ.ศ. 2475
ท าด ้วย
ทองเหลือ ง ฝั งอยู่ท ี่พ ื้น ข ้างลานพระ
บรมรูปทรงม ้า ณ จุดทีพ
่ ระยาพหลพล
พยุหเสนายืนอ่านประกาศคณะราษฎร
้ นที่ 24 มิถุนายน
ฉบับที่ 1 ในเชาวั
พ.ศ. 2475 ทีห
่ มุดมีข ้อความสลักว่า
“ณ ทีน
่ ี้ 24 มิถน
ุ ายน 2475 เวลาย่ารุ่ง
คณะราษฎรได ้ก่อ กาเนิด รั ฐธรรมนู ญ
ิ ปกรรมของไทยหลัง 2475 นัน
“...ทีนส
ี้ าหรับศล
้ ถ ้าจะพูดกันตามตรง พูดกันด ้วย
่
ิ ปกรรมเสือมโทรม
ความรักชาติตามสมควร ก็จะต ้องบอกว่าเป็ นยุคของศล
่ ด คือไม่มศ
้
้ ผู ้นาปฏิวต
ทีสุ
ี ล
ิ ปกรรมไทยเกิดขึนในยุ
คนี ...
ั ก
ิ ็เท่ากับเป็ นนักเรียน
้
นอก กลับมาจากฝรั่งเศส รสนิ ยมในทางศิลปะอะไรของท่านเหล่านันอยู
่แค่
่ งปารีส ภาพทีเ่ ห็นสวยงามก็ภาพโป๊ ... ท่านเรียนวิชาอืน
คาเฟ่ ริมถนนทีกรุ
่
่ นใจ ท่านไม่อยูใ่ นฐานะทีจ
ไม่ใชส
่ ะเข ้าใจอะไรได ้ แต่เมือ
่ ปฏิวต
ั ิ 2475 ขึน
้
มาแล ้ว... เมือ
่ เราปฏิวต
ั แ
ิ ล ้วก็ต ้องเปลีย
่ น การจะเปลีย
่ นสงั คมไทยนัน
้ ก็ต ้อง
ิ ปะประเพณีคติเก่าๆ นัน
ิ ธิราช
เปลีย
่ นทุกทาง ศล
้ เป็ นเรือ
่ งของสมบูรณาญาสท
ิ้ ... เอาศล
ิ ปะหรือ
ท่านเข ้าใจว่าเป็ นอย่างนัน
้ ท่านพยายามให ้เลิกสน
ขนบธรรมเนียมประเพณีใหม่ๆ เข ้ามาแทน แล ้วจะหาทีไ่ หนมาแทนนอกจาก
่ั
ของฝรง...”
่
ิ ปกรรมสมัยใหม่” ของหม่อมราชวงศค
์ ก
สวนหนึง่ ของ “ปาฐกถานา ศล
ึ ฤทธิ์
ั มนาศล
ิ ปกรรมหลัง พ.ศ. 2475 เมือ
ปราโมช ในงานสม
่ พ.ศ. 2525
ิ ปกรรมได ้ทากันเพือ
ิ ปโดยแท ้... การใช ้
“...แต่กอ
่ นมา การประกอบศล
่ ศล
ิ ปกรรมเพื่อ การเมือ งก็ ด ี เพื่อ ผลประโยชน์ ท างหนึ่ง ทางใดนอก
ศล
ิ ปก็ ด ี มั ก ถือ กัน ว่า เป็ นการไม่สมควร และจะท าให ้คุณ ค่า
ขอบเขตศ ล
ิ ปกรรมเสย
ี ไป... แต่มาถึงระยะเวลาระหว่าง 20 ปี มานี้ ความ
ของศล
คิดเห็นอันนี้ได ้เปลีย
่ นไปทุกๆ ประเทศ ยิง่ ในประเทศทีจ
่ ัดการปกครอง
่
่ ดทีจะ
่
แบบใหม่ทส
ี่ ด
ุ ย่อมถือ ว่าศิลปกรรมเป็ นเครืองมื
ออน
ั สาคัญทีสุ
่
ช่ว ยส่ ง เสริม ความร ก
ั ชาติ ร ก
ั หน้ า ทีของพลเมื
อ ง ช่ว ยการศึก ษา
อบรมประชาชนให้หน
ั เข้าสู ่ระบอบการปกครองในปั จุบน
ั ... กรุงสยาม
ึ ถึงความจาเป็ นทีจ
ิ ปกรรม
ก็ได ้รู ้สก
่ ะต ้องใชวิ้ ธใี หม่นี้ ฉะนั น
้ การบารุงศล
ิ ปกรรมเป็ นอุปกรณ์
ในเมืองไทยจึงหนักไปทางชาติ และพยายามใชศ้ ล
แก่ง านส าคั ญ ของชาติ เช ่น การเผยแพร่ ป ลู ก ความนิย มในระบอบ
รัหจช.,
ฐธรรมนู
...”
ิ ปากรในงานฉลอง
ศธ.ญ0701.23.2/32
เรือ
่ ง “ปาฐกถากิจการของกองศล
รัฐธรรมนูญ”
วันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2481
่ อสร ้างเมือวั
่ นที่ 24 มิถน
อนุ สาวรีย ์ประชาธิปไตย ถนนราชดาเนิ น เริมก่
ุ ายน พ.ศ. 2482 และทาพิธ ี
เปิ ดเมื่อวันที่ 24
มีน าคม พ.ศ. 2483
ในสมัย จอมพลแปลก พิบูลสงครามดารงตาแหน่ ง
นายกร ัฐมนตรี อนุ สาวรีย ์ออกแบบโดยหมิว อภัยวงศ ์ ประติมากรรมประดับฐานออกแบบโดยศิลป์ พี
โดยศิลป์ พีระศรี (Corrado Ferroci)
่ งพานร
้
ปี กทัง้ 4 ด ้านมีความสูง 24 เมตร และมีร ัศมีจากจุดศูนย ์กลางของป้ อมทีตั
ัฐธรรมนู ญไปถึง
ร ัฐธรรมนู ญไปถึงสุดขอบของฐานมีระยะ 24 เมตร หมายถึงวันที่ 24 มิถน
ุ ายน
้ั
ปื นใหญ่ทฝั
ี่ งรอบอนุ สาวรีย ์มีทงหมด
75 กระบอก หมายถึง พ.ศ. 2475
พานร ัฐธรรมนู ญบนป้ อมตรงกลางอนุ สาวรีย ์สูง 3 เมตร หมายถึงเดือนสาม คือเดือนมิถน
ุ ายน (นับ
มิถน
ุ ายน (นับแบบเก่า)
“...อนุ สาวรีย ป
์ ระชาธิปไตยนั ้นเป็ นอนุ สาวรีย ์
ิ ต์โดยกาเนิดในปี ค.ศ. 1940
เผด็จการฟาสซส
ผู ส
้ ั่ ง ให ส
้ ร า้ ง คื อ จ อม พลแ ปล ก เ ป็ น ผู น
้ า
ิ ต์เ ป็ นทางการและเปิ ดเผย ไม่เ ป็ นที่
ฟาสซ ส
ิ ต์ให ้
สงสัยเพราะท่านเองประกาศลัทธิฟาสซส
ื่ ฟั งท่านผู ้นา” (ตรงกับ Il Duce
ราษฎร “เชอ
ิ
ของมุสโซลินีในอิตาลี, “Der Fuhrer ของฮต
ิ ต์ค อ
เลอร์ใ นเยอรมั น ) ฟาสซ ส
ื ลัท ธิเ ผด็ จ การ
โดยตรงทีต
่ อ
่ ต ้านหลักประชาธิปไตย
ผู ้ทีอ
่ อกแบบอนุสาวรียฯ์ คือ นายหมิว อภัยวงศ ์
Mew Aphaiwong (ตามปรากฏใน Bangkok
Post 14 Sept. ‘92) ซงึ่ ผมไม่ทราบประวัต ิ
ห รื อ ป รั ช ญ า ก า ร เ มื อ ง ข อ ง ท่ า น แ ต่ ผู ท
้ ี่
ออกแบบรู ป ปั ้ น นู น แปดแผ่ น ตามฐานปี กคือ
ิ ป์ พีระศรี จะเป็ นฟาสซ ส
ิ ต์หรือ ไม่
อาจารย์ศ ล
นั ้ น ผู เ้ ขี ย น ไ ม่ ท ร า บ แ ต่ ท่ า น เ ค ย ส ร า้ ง
อนุ ส าวรีย ์แ บบ “รั ก ชาติ” ให ้ผู ้น ามุ ส โซลินี
(ขึน
้ มามีอานาจเผด็จการตัง้ แต่ ค.ศ. 1922) ใน
อิต าลี ก่อ นทีจ
่ ะมารั บราชการในสยาม (ค.ศ.
1923)
ื่ ว่าอาจารย์ศล
ิ ป์ พีระศรีน่าจะได ้
...ผมอยากเชอ
ิ ใจมารั บ ราชการในสยามเพื่อ หนี ลั ท ธิ
ตั ด ส น
ิ ต์ใ นบ ้านเกิด แต่แ ล ้วเช อ
ื่ ยากเพราะ
ฟาสซ ส
ประติมากรรมนูนตา่ ทีฐ
่ านอนุสาวรีย ์
ประชาธิปไตย
M. Piacentini, The Arch of Victory,
1931,
stone and cement, Genoa, Italy
้ อ
่
ศาลาเฉลิมไทย ทุบทิงเมื
พ.ศ. 2532
วัดราชนัดดาและลานพลับพลามหา
เจษฎาบดินทร ์
่ ้น เป็ นการปิ ดบังวัดราช
“...การสร ้างโรงหนังเฉลิมไทย ณ ทีนั
้ ง ใครทีมาตามถนนราชด
่
นัดดาโดยสินเชิ
าเนิ นกลาง นอก
่
ขา้ มสะพานผ่ า นฟ้ า แทนทีจะเห็
นวัดราชนั ดดาอัน เป็ นสิง่
สวยงาม กลับ แลเห็ นโรงหนั ง เฉลิมไทย อันเป็ นโรงมหรสพ
แ ล ะ มี ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ส มั ยใ ห ม่ ซึ่ ง ต่ า ท ร า ม ก ว่ า
สถาปัตยกรรมของวัดราชนัดดาเป็ นอย่างยิง่
กรุ ง เทพจึง เสีย วัด ราชนั ด ดา หรือ เอาวัด ราชนั ด ดาไป
้ ก็
้
ซ่อนไวไ้ ม่ใหใ้ ครเห็นได ้ง่ายมาเป็ นเวลาเกือบ 50 ปี ทังนี
่
่
แสดงให เ้ ห็ น ว่า คณะผู ก
้ ่อ การเปลียนแปลงการปกครองที
้ น
้ มิได้ม ี
ร ับผิดชอบในการสร ้างถนนราชดาเนิ นกลางขึนนั
ใจร ักศิลปหรือวัฒนธรรมไทยแต่อย่างใดเลย และออก
จะไม่เห็นว่า พระพุทธศาสนาเป็ นของสาคัญหรือจาเป็ นนัก
อี ก ด ว้ ย จึง สามารถท ากับ วัด ราชนั ด ดาได ถ
้ ึ ง เพี ย งนั้ น
กา ลส มั ย ก็ ไ ด เ้ ป ลี่ ย น แ ป ล งไ ป ค ณ ะ ผู ้ก่ อ ก า รก า ร
่
เปลียนแปลงการปกครองชุ
ดนั้นก็ได ้ถึงแก่กรรมไปแลว้ เป็ น
ส่วนใหญ่ คงจะเหลือบ ้างก็อก
ี ไม่กคน
ี่ และไม่มอ
ี านาจวาสนา
่ าอะไรได ้อย่างทีเคยท
่
ทีจะท
ามาแต่กอ
่ น
่ งเสียงของปัญญาชน
ผูท้ มี
ี่ อานาจในสมัยปัจจุบน
ั ได ้เริมฟั
และ ผู ้ที่ ร ก
ั ศิ ล ป แ ละ วั ฒ น ธรรมขอ งไ ทยทั้ ง หลา ย ที่ มี
้ ย เพือให
่ ้
ความเห็นว่า ควรจะทุบโรงหนังเฉลิมไทยทิงเสี
้
วัดราชนัดดาปรากฏเด่นขึนมาในสายตาของผู
ท
้ เดิ
ี่ นทางมา
จากถนนราชดาเนิ นนอก และขา้ มสะพานผ่ านฟ้ า อันเป็ น
่ ้น
จุดเด่น ณ ทีนั
่ ้วมานี ้ ได ้มีการสร ้างตึกรามทีน่่ าเกลียด
...ในยุค 50 ปี ทีแล
่
น่ ากลัวเอาไว ้ใน กทม. อีกมากพอสมควร เพราะฉะนั้น เมือ
อนุ สาวรีย ์ปราบกบฏ (อนุ สาวรีย ์พิทก
ั ษ ์ร ัฐธรรมนู ญ,
อนุ สาวรีย ์หลักสี)่