Slide 1 - สำนัก พัฒนา พันธุ์ สัตว์

Download Report

Transcript Slide 1 - สำนัก พัฒนา พันธุ์ สัตว์

สุนัขบางแก้ วดุจริงหรือ
กัลยา บุญญานุวตั ร
นักวิชาการสั ตวบาลชานาญการพิเศษ
กลุ่มวิจยั ความหลากหลายทางชีวภาพ
กองบารุ งพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์
ประวัตสิ ุ นัขพันธุ์บางแก้ว
ประวัตคิ วามเป็ นมา ของสุ นัขไทยพันธุ์บางแก้ ว จากข้ อมูล ทีไ่ ด้
สอบถามจากประชาชนตลอดจนผู้เฒ่ าผู้แก่ ทบี่ ้ านบางแก้ ว ต.บางแก้ ว
บ้ านชุมแสงสงคราม ต.ชุมแสงสงคราม อ.บางระกา จ.พิษณุโลก พอจะ
สรุปได้ ว่า แหล่ งกาเนิดของ สุ นัขไทยพันธุ์บางแก้ ว นั้นอยู่ที่ วัดบางแก้ ว
ต.บางแก้ ว อ.บางระกา จ.พิษณุโลก ซึ่งตั้งอยู่ริมแม่ นา้ ยม สภาพภูมิ
ประเทศทั่ว ๆ ไปนั้นยังคงเป็ น ป่ าพง ป่ าระกา ป่ าไผ่ และต้ นไม้ ชนิดต่ าง
ๆ ขึน้ อยู่อย่ างหนาแน่ น
ประวัตสิ ุ นัขพันธุ์บางแก้ว (ต่ อ)
สั นนิษฐานกันว่ าหมาบางแก้วมาจากการผสมข้ าวพันธุ์ระหว่ างสุ นักพันธ์ ไทย
โบราณเพศเมียกับหมาจิง้ จอกและหมาไน เนื่องจากลักษณะเด่ นที่หมาบางแก้ว
ได้ รับการถ่ ายทอดจะมาจาก 3 สายพันธุ์นีเ้ ป็ นหลัก กล่าวคือ
1. หมาจิง้ จอก (Canis Auresus)
2. หมาไน (Asiam Wild Dog)
3. หมาไทยพืน้ บ้ าน
หมาจิง้ จอก
หมาจิง้ จอก (Canis auresus) มีอยู่ด้วยกัน 4 ชนิด
1. หมาจิง้ จอกทองหรือหมาทอง มีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Canis aureus มี
ลักษณะคล้ายหมาป่ าวูล์ฟ ขนาดเล็ก มีอยู่อย่ างกระจัดกระจายตั้งแต่ อฟั
ริกาใต้ ไปจนถึงอัฟริกาเหนือ มีขนสี นา้ ตาลปนเหลือง ส่ วนหลังและหาง
จะแซมด้ วยขนสี ดา
2. หมาจิง้ จอกหลังดา (Black-backed) หรือหลังอาน มีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า
Canis mesomlas พบในอัฟริกาตอนกลาง อัฟริกาใต้ ที่หลังมีขนยาวสี ดาปน
ขาวแผ่ กระจายเต็มหลังไปจนถึงบริเวณหางคล้ายกับอานม้ าและใบหู
ใหญ่
หมาจิง้ จอก (ต่ อ)
3. หมาจิง้ จอกข้ างลาย มีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Canis adustus หมาจิง้ จอกพันธุ์นี้
มีขนสี เทาและมีขนสี ดาพาดเป็ นทางด้ านข้ างของลาตัว ที่ปลายหางจะมี
สี ขาว พบในอัฟริกาเขตร้ อน
4. หมาจิง้ จอกไซเมี่ยน แจ็คกัลป์ (Simian Jackal) มีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า
Canis simensis พบในเขตทีร่ าบสู งเอธิโอเปี ย มีรูปร่ างและขนาดอยู่ระหว่ าง
หมาจิง้ จอกฟ๊ อกซ์ (Fox) และหมาป่ าวูล์ฟ (Wolf) แต่ ดูแล้วจะ
เหมือนหมาจิง้ จอกฟ๊ อกซ์ (Fox) มากกว่ า
หมาจิง้ จอก (ต่ อ)
ลักษณะทีเ่ ด่ น ๆ คือ หูต้งั ใบหูใหญ่ ปลายหูแหลม ลาตัวค่ อนข้ างยาว ขนตาม
ลาตัวสี แดง ส่ วนขนทีใ่ ต้ คอสี ขาว และมีแนวขนสี แดงแก่พาดรอบคอ ขา
ยาว บนที่บริเวณปลายขาจะมีสีขาว หางเป็ นพวง โคนหางขาวปลายโคน
หางประมาณ 100 เซนติเมตร (40 นิว้ ) หรือ 1 เมตร หางยาว 30
เซนติเมตร (10 นิว้ ) นา้ หนัก 10 กิโลกรัม (22 ปอนด์ ) ตามธรรมชาติจะ
ชอบอยู่เป็ นคู่หรืออยู่ลาพังตัวเดียว หมาจิง้ จอกพันธุ์นีน้ ับว่ าเป็ นหมาทีม่ ี
ขนาดใหญ่
หมาจิง้ จอก (ต่ อ)
แต่ ชนิดทีม่ ีอยู่ในแถบเอเชียและทีพ่ บในประเทศไทยนั้นเป็ นชนิดทีม่ ีชื่อ
วิทยาศาสตร์ ว่า Canis aureus indicus ขนของหมาจิง้ จอกจะมีสีนา้ ตาล
ปนเทา มีลายกระดากระด่ างเปรอะ ๆ ไม่ มีสีพนื้ แดงสนิมเหมือนอย่ างขน
ของหมาไน นอกจากนั้นแล้วยังมีขนยาวปกคลุมรอบคอเป็ นแผงใหญ่
ขนในบริเวณนีป้ ลายขนจะมี สี ดา ขนตามลาตัวจะมีลกั ษณะเป็ นขนสอง
ชั้น แผ่ นชี้ปกคลุมตั้งแต่ ท้ายทอยลงมาถึงกลางหลังเรื่อยลงไปจนถึงโคน
หาง มีลกั ษณะคล้ายกับอานม้ ามากกว่ าขนทีก่ ลางหลังของหมาไทยพันธ์
หลังอานเสี ยอีก เพราะขนทีห่ ลังของหมาหลังอานเป็ นขนชนิดที่
ย้ อนกลับคล้าย ๆ กับขวัญ
หมาจิง้ จอก (ต่ อ)
หางของหมาจิง้ จอกจะสั้ นกว่ าหางของ หมาไนและขนที่หางจะมีสีดาเพียง 1
ใน 3 ส่ วนหมาไนนั้นขนทีห่ างจะมีสีดา
ความสู งประมาณ 40 เซนติเมตร นา้ หนักตัวประมาณ 7-14 กิโลกรัม (15-31
ปอนด์ ) ความยาวของลาตัววัดจากหัวถึงโคนหางประมาณ 60-70
เซนติเมตร (24-30 นิว้ ) ความยาวของหางวัดจากโคนหางถึงปลายหาง
ประมาณ 23-25 เซนติเมตร (9.2-14 นิว้ ) สาหรบขาขอหมาจิง้ จอกจะเล็ก
และยาวเรียวเวลาก้าวย่ างเดินจะโหย่ งเท้ า
หมาจิง้ จอก (ต่ อ)
กะโหลกศีรษะอยู่ในจานวนพวกสกุลคานิส ลักษณะของจมูกจะยาว แต่ จมูก
ไม่ ดา ลาตัวกลมและแข็งแรง สั นกลางต่า โค้ งกว้ างแตกต่ างกับหมาไน
ซึ่งมีจมูกสั้ นและจมูกสี ดา หน้ าผากของหมาจิง้ จอกค่ อนข้ างจะแบน
เล็กน้ อย หน้ าแหลม หูต้งั ป้องไปด้ านหน้ า
หมาไน
หมาไน (Asiam Wild Dog)
มีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Cuon alpinus ชื่อเมือนหรือชื่อพ้องคือ Canis javanicus
หรือ Canis rutiland บางครั้งก็เรียกหมาในว่ า "หมาแดง" (Red dog) มีลกั ษณะ
แตกต่ างกว่ าหมาจิง้ จอก คือ มีสีแดงสนิม (Rush red) ตลอดทั้งตัว ไม่ มีแผงคอ
เหมือนหมาจิง้ จอก หางมีสีดา ความยาวของหาง 40-50 เซนติเมตร (16-20 นิว้ )
ความยาวของลาตัววัดจากหัวถึงโคนหาง 88-113 เซนติเมตร (35-45 นิว้ )
นา้ หนักตัว 14-21 กิโลกรัม จึงมีลกั ตัวยาวเพรียวกว่ าหมาจิง้ จอกและท้ อง
ไม่ คอดกิว้ เช่ นหมาไทยพืน้ บ้ าน
หมาใน (ต่ อ)
หมาไนตัวใหญ่ กว่ าหมาจิง้ จอก มีสีเดียวกันตลอดทั้งตัว (มากกว่ าหมาจิง้ จอก)
หางยาวและสี เข้ มกว่ า จมูกเข้ มกว่ า และสั้ นกว่ า ภายในหูมีขนขาวละเอียดอ่อน
ปกคลุม ปลายหูกลมมน ไม่ แหลมเหมือนหมาจิง้ จอก มีขนตามลาตัวสี แดงสนิม
ขนยาวกว่ าหมาจิง้ จอก ขนทีแ่ ผงคอไม่ มี (หมาจิง้ จอกมี) เท้ าและขนที่หางมีสีดา
ลูกทีเ่ กิดใหม่ จะมีสีดาคลา้ เมื่อโตขึน้ สี จะค่ อย ๆ เปลีย่ นเป็ นสี แดงสนิม
หมาใน (ต่ อ)
กะโหลกศีรษะคล้ายกับของหมาจิง้ จอก แต่ ใหญ่ กว่ า จมูกกว้ างและส่ วนหน้ าแบน
กว่ า เบ้ าตาต่ากว่ า รูปร่ างฐานเบ้ าตาสั้ นกว่ าและทือ่ ค่ อนไปทางข้ างหน้ า ลักษณะฟ
ไม่ เหมือนกัน ไม่ มีกรามทีส่ ามด้ านล่าง กรามล่างอันแรกมีเพียงเขีย้ วเดียว
(แต่ ในหมาจิง้ จอกมี 2 เขีย้ ว) ปากอมสี นา้ ตาลเข้ มหรืออาจมีสีขาวปน หางเป็ นพวก
ห้ อยลงดิน ส่ วนมากจะหลบซ่ อนตัวอยู่ในทีร่ ่ มหรือโพรงดินตืน้ ๆ เห่ าเสี ยง
ธรรมดาถี่ ๆ แต่ เมื่อตกใจจะร้ องเสี ยงแหลม หมาไนสามารถกระโดดได้ ไกล
3-3.5 เมตร เวลาวิ่งกระโดดไกล 5-6 เมตร และสู ง 3-3.5 เมตร เวลาล่าเหยื่อที่
เป็ นสั ตว์ ใหญ่ กว่ าจะรวมตัวกันเป็ นฝูง 6-8 ตัว จนถึง 20 ตัว หาเหยื่อได้ โดย
การดมกลิน่ และสะกดรอยไปจนเห็นเหยื่อ จากนั้นจะไล่เหยือ่ ไปจนเหนื่อยอ่อน
และจนมุม
หมาไทยพืน้ บ้ าน
หมาไทยพืน้ บ้ าน
ขนตามลาตัวสั้ นเกรียน ละเอียดเป็ นเงา หูต้งั ปลายหูแหลม แข้ งขาเล็กเรียว
คล้ายขาเก้ง อุ้งเท้ าเล็ก ลาตัวค่ อนข้ างยาวเป็ นรูปสี่ เหลีย่ มผืนผ้ า หางมีหลายรูปแบ
คือหางกระรอก หางงอม้ วนเป็ นก้นหอยหรือขนมกง
การรวมพันธุกรรม
จากหมาจิง้ จอก ลักษณะต่ าง ๆ ทางพันธุกรรมทีห่ มาบ้ างแก้วได้ รับจากหมา
จิง้ จอกทีเ่ ห็นได้ ชัดคือ
ข้ อเท้ า เอนเข้ าหาตัวเพียงเล็กน้ อย
เขีย้ ว ที่เล็กและแหลมคม
สี ขน มีลกั ษณะจุดประหรือแต้ มด่ าง ซึ่งในหมาไทยทัว่ ไปไม่ มี
เส้ นขน หยาบเป็ นมันส่ องประกายแวววาว ส่ วนมากจะเหยียดตรงหรือหยิกฟู
นุ่มมือน้ อยกว่ าหมาไทยลูกผสมอืน่ ๆ ลูกหมาบางแก้วอายุ 1-2 เดือน ขนจะ
หยาบกระด้ างกว่ าขนของหมาจู
การรวมพันธุกรรม (ต่ อ)
ขน เป็ นขนยาวสองชั้น โดยขนชั้นในสั้ นเป็ นปุยและละเอียดอ่อนนุ่มเหมือน
ปุยฝ้ าย ขนชั้นนอกยาวฟู บริเวณกกหู คอ ใต้ คาง และแผงอกแผ่ กระจายดู
คล้ายคอสิ งห์ โต ขนทีส่ ี ข้างจะค่ อนข้ างยาว
หู คล้ายหมาจิง้ จอก มีขนปุกปุยในรูหูและโคนกกหูด้านนอก
การรวมพันธุกรรม(ต่ อ)
จากหมาไน พันธุกรรมทีห่ มาไนถ่ ายทอดมาสู่ หมาบางแก้วทีส่ ั งเกตได้ คอื
ขน หมาบางแก้วบางตัวมีขนสี นา้ ตาลแดงหรือสี สนิมแต้ มอยู่บริเวณแก้ว
ลาตัว อุ้งเท้ า ถ้ าเป็ นเพศเมียจะมีบริเวณอวัยวะเพศอย่ างเห็นได้ ชัด
หู เล็กสั้ นและตั้ง
ลาตัว ลาตัวจะยาวและท้ องไม่ กวิ่ เหมือนหมาไทยพืน้ บ้ าน
หาง อาจมีขนสี ดาทีโ่ คนและปลายหาง
ขา ใหญ่ กว่ าหมาไทยทั่วไป
ปาก บางตัวปากมอม ซึ่งในหมาจิง้ จอกจะไม่ มีปากมอม
การรวมพันธุกรรม(ต่ อ)
จากหมาไทยพืน้ บ้ าน พันธุกรรมอืน่ ๆ ทีน่ อกเหนือจากทีก่ ล่าวมา หมาบ้ าง
แก้วได้ รับการถ่ ายทอดจากหมาไทยพืน้ บ้ าน โดยเฉพาะหางทีโ่ ค้ งงอขึน้ บน
มาตรฐานพันธุ์ บางแก้ว
มาตรฐานพันธุ์สุนัขไทยบางแก้ ว ทีก่ าหนดขึน้ โดยชมรมผู้อนุรักษ์ และ
พัฒนาสุ นัขไทยบางแก้ ว พิษณุโลก แห่ งประเทศไทย มีดงั นี้ คือ
ลักษณะทัว่ ไป สุ นัขบางแก้ วมีลกั ษณะเด่ นเฉพาะตัวคือ มีขนปุยยาว มี
ความสง่ างาม ว่ องไวและแข็งแรง
มาตรฐานพันธุ์ บางแก้ว(ต่ อ)
เวลายืนมักเชิดหน้ าและโก่ งคล้ ายม้ า เป็ นสุ นัขขนาด
กลาง รู ปทรงตั้งแต่ ช่วงขาหน้ าถึงขาหลังเป็ นสี่ เหลีย่ มจัตุรัส
อกกว้ างและลึกได้ ระดับกับข้ อศอก ไหล่ กว้ าง ท้ องไม่ คอดกิว่
หน้ าแหลม หูเล็ก หางพวง ขนมีสองชั้น นิสัยรักเจ้ าของ
ฉลาดปราดเปรียว กล้ าหาญ ค่ อนข้ างดุ สามารถฝึ กหัดได้
ชอบเล่ นนา้ มาก
มาตรฐานพันธุ์ บางแก้ว(ต่ อ)
ขนาด ขนาดเท่ ากับสุ นัขไทย หรือเล็กกว่ าเล็กน้ อย ไม่ อ้วน ความสู ง
วัดที่ไหล่ ตัวผู้สูง 42-53 เซนติเมตร ตัวเมียสู ง 38-48 เซนติเมตร
นา้ หนักตัวผู้ 14-16 กิโลกรัม ตัวเมีย 13-15 กิโลกรัม
ลาตัว ช่ วงหัวตอนหน้ าใหญ่ ช่ วงตัวตอนท้ ายค่ อนข้ างเล็ก ลาตัวหนา
ปานกลาง อกลึกปานกลาง ยืดอกเวลายืน ส่ วนเอวจะคอดกว่ าสุ นัขไทย
ท้ ายลาด สง่ าเหมือนสุ นัขจิง้ จอก
ลักษณะพิเศษของสุ นัขพันธุ์บางแก้ว
1. ลักษณะหน้ าเสื อ ใบหน้ าดูคล้ายเสื อ มีกะโหลกศีรษะใหญ่ หน้ าผากกว้ าง
โคนหูต้งั อยู่ห่างกัน หูเล็กแบะออกเล็กน้ อย แววตาเซื่องซึม พืน้ สี ตามักจะ
เป็ นสี เหลืองทองคลา้ ม่ านตาตรงกลางสี ดา มีขนย้ อยจากโคนหูด้านล่างเป็ น
แผงทีค่ อ เรียกว่ า แผงคอ แต่ ไม่ รอบคอ ขนมีท้งั ฟูและไม่ ฟู มีหางเป็ นพวง
ทั้งหางงอ และหางม้ วน แลดูดุร้าย เป็ นลักษณะของสุ นัขบางแก้วทีใ่ หญ่ ทสี่ ุ ด
ลักษณะพิเศษของสุ นัขพันธุ์บางแก้ว(ต่ อ)
2. ลักษณะ หูเล็กเป็ นรูปสามเหลีย่ ม ป้องไปข้ างหน้ ารับกับใบหน้ าอย่ างสวยงาม
ปากไม่ เรียวแหลมมาก ไม่ ใหญ่ ไม่ เล็กเกินไป มีขนยาวตั้งแต่ โคนหูลงมา
ด้ านล่าง และมีขนเป็ นเคราจากใต้ คางย้ อยลงมาเหมือนคอพอกลงมาถึงคอ
ด้ านล่าง ยามปกติแววตาและท่ าทางเซื่องซึม แต่ เมื่อเป็ นศัตรูหรือคนแปลก
หน้ า จะเปลีย่ นเป็ นดุร้ายและคล่องแคล่วว่ องไวทันที ลักษณะหน้าสิ งโตเป็ น
ลักษณะทีห่ ายามาก นาน ๆ จึงจะพบเห็นสั กตัวหนึ่ง
ลักษณะพิเศษของสุ นัขพันธุ์บางแก้ว(ต่ อ)
3. ลักษณะหน้ าจิง้ จอก มีใบหน้ าแหลม หูใหญ่ กว่ าลักษณะหน้ าเสื อและหน้ าสิ งโต
ใบหูไม่ ตรงโย้ ออกด้ านข้ าง มองดูเป็ นรูปสามเหลีย่ มด้ านเท่ า ปากแหลมเรียวและ
ค่ อนข้ างยาว ขนอ่อนยาวเรียบ ขนหางเป็ นพวง รูปร่ างมีท้งั ใหญ่ กลางและเล็ก
อุปนิสัยไม่ ค่อยดุร้ายเหมือนสองพวกแรก
ลักษณะพิเศษของสุ นัขพันธุ์บางแก้ว(ต่ อ)
เวลาดีใจเมื่อเดินหรือวิ่งจะแกว่ งหางไปมา เวลายืนหากมั่นใจว่ าปลอดภัย จะยก
หางสู งขึน้ เลยระดับตัวเล็กน้ อย นักเลีย้ งสุ นัขบางแก้วบางคนจะพูดถึงกิริยาหางนี้
ว่ า "ขึน้ ได้ -ลงได้ " ลักษณะเช่ นนีเ้ หมือนหมาป่ ามาก เรียกว่ า หางจิง้ จอก สี ของ
บางแก้วมีสีหลักคือ สี ดาพืน้ , สี นา้ ตาลพืน้ , สี นา้ ตาลปรายย้ อมดา(เขียว), สี ด่าง
นา้ ตาลขาว
ลักษณะพิเศษของสุ นัขพันธุ์บางแก้ว(ต่ อ)
บางตัวนอกจากสี ด่างดาขาว หรือสี นา้ ตาลขาวยังแทรกจุดหย่ อมเล็กกระจายมาก
น้ อยทั่วทั้งตัวอีกด้ วย ส่ วนสี ที่นิยมคือ ขาวปลอด ขาวนา้ ตาล ขาวดา เสี ยงเห่ า
เสี ยงเห่ าแหลมเล็กกว่ าสุ นัขไทย การเดินวิง่ เวลาเดินวิง่ จะเหยาะย่ างสง่ างาม
เหมือนม้ าย่ างเท้ าสวนสนามปกติจะวิ่งซอยเท้ าถี่
ลักษณะพิเศษของสุ นัขพันธุ์บางแก้ว(ต่ อ)
ข้ อบกพร่ อง ได้ แก่ ใบหูพลิว้ , ไม่ มีขนแผงรอบคอ, ขาหน้ าเล็ก, ไม่ มีแข้ งสิ งห์ , ไม่
มีขนคลุมนิว้ เท้ า, หูใหญ่ , หางขอด, ขนหลุดร่ วง, ฟันบนยืน่ กว่ าฟันล่าง, ปากใหญ่
, ตาใหญ่ , หูไม่ ต้งั , หางไม่ เป็ นพวง, ขนสั้ น, อัณฑะเม็ดเดียว, ฟันขาด 3 ซี่ขนึ้ ไป
โดยไม่ ใช่ เพราะอุบัติเหตุ, หางขาด, ฟันล่างยืน่ กว่ าฟันบน, ปากทู่, ตากลม, สั น
หลังแอ่น เป็ นต้ น
ขอบคุณครับ
สวัสดีครับ