งานอ่าน เขียน ไม่ได้

Download Report

Transcript งานอ่าน เขียน ไม่ได้

การดาเนินงานโครงการ
“เร่ งรัดพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย”
๑. ที่มาของโครงการ “เร่ งรัดพัฒนาการเรียนการสอน
ภาษาไทย” (ตามนโยบายของ สพฐ. )
- กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมครูผู้สอนภาษาไทย ป. 3
เพือ่ ชี้แจงการใช้ หนังสื อ แนวการซ่ อมเสริมการอ่ าน การ
เขียน ป. 3
- จัดแข่ งขันทักษะภาษาไทย นักเรียน + ครู
อ่านไม่ออก
เขียนไม่ได้
กิจกรรมดาเนินงานของเขตพื้นที่
เร่ งรั ดคุณภาพการอ่ านรู้ เรื่ อง และสื่อสารได้
ส่ งเสริมและพัฒนาทักษะให้ ครู + นักเรี ยน
มีข้อมูลนักเรี ยน ทุกระดับชัน้ ที่อ่านเขียน
ภาษาไทยต่ากว่ าเกณฑ์ เป็ นรายบุคคล
พร้ อมทัง้ แผนเป็ นรายบุคคลด้ วย
ประเทศไทยถูก World Economic Forum ประเมินว่า
มีคณ
ุ ภาพการศึกษา อยูใ่ นอันดับที่ ๘ ในกลุม่ ประชาคมอาเซียน โดยประเทศที่
ถูกประเมินว่า มีคณ
ุ ภาพการศึกษา อันดับ ๑. คือ สิงคโปร์ ๒.มาเลเซีย ๓.บรูไน
๔. ฟิ ลปิ ปิ นส์ ๕. อินโดนีเซีย ๖. กัมพูชา ๗. เวียตนาม ๘.ไทย (ไม่มี ลาวและพม่า)
แต่ จากการสืบค้ นข้ อมูล ชี ้ว่า การจัดงบประมาณเพื่อการศึกษาของประเทศไทย
ตังแต่
้ ปี พ.ศ.๒๕๕๑ รัฐบาลไทยได้ จดั สรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี
ให้ กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อบริหารการศึกษา มากเป็ นอันดับ ๑
และจัดสรรงบประมาณเพิ่มขึ ้นทุกปี มาโดยตลอด ดังต่อไปนี ้
• ปี ๒๕๕๑ จัดสรรงบประมาณ ให้ ฯ จานวน ๓๐๑,๔๓๗,๔๐๐,๐๐๐ บาท
คิดเป็ น ร้ อยละ ๑๘.๒๐ ของงบประมาณประจาปี
• ปี ๒๕๕๒ จัดสรรงบประมาณ ให้ ฯจานวน ๓๕๐,๕๕๖,๕๙๑,๒๐๐ บาท
คิดเป็ น ร้ อยละ ๑๘๐ ของงบประมาณประจาปี
• ปี ๒๕๕๓ จัดสรรงบประมาณ ให้ ฯ จานวน ๓๔๖,๗๑๓,๐๙๓,๓๐๐ บาท
คิดเป็ น ร้ อยละ ๒๐.๔๐ ของงบประมาณประจาปี
• ปี ๒๕๕๔ จัดสรรงบประมาณ ให้ ฯ จานวน ๓๙๒,๔๕๔,๐๓๗,๘๐๐ บาท
คิดเป็ น ร้ อยละ ๑๘.๑๐ ของงบประมาณประจาปี
• ปี ๒๕๕๕ จัดสรรงบประมาณ ให้ ฯ จานวน ๔๒๐,๔๙๐,๐๓๒,๖๐๐ บาท
คิดเป็ น ร้ อยละ ๑๗.๗๐ ของงบประมาณประจาปี
• ปี ๒๕๕๖ จัดสรรงบประมาณ ให้ ฯ จานวน ๔๖๐,๔๑๑,๖๔๘,๘๐๐ บาท
คิดเป็ น ร้ อยละ ๑๙.๑๘ ของงบประมาณประจาปี
(ข้ อมูลจาก: งบประมาณแผ่นดิน)
 สาหรับ ปี งบประมาณ ๒๕๕๗ รัฐบาลได้ จดั สรร งบประมาณ ให้
กระทรวงศึกษาธิการ จานวน ๔๘๑,๓๓๗ ล้ านบาท
ซึง่ เป็ นงบประมาณ เพื่อการศึกษา ที่สงู มากในกลุม่ อาเซียน
(ข้ อมูลจาก: กนก วงษ์ ตระหง่าน)
จากข้ อมูลงบประมาณ จะเห็นว่ ารัฐบาลไทย
ได้ ท่ ุมงบประมาณ เพือ่ จัดการศึกษามาจนถึงปัจจุบัน
จานวนมหาศาล
แต่....ทาไมผลที่ปรากฏออกมา จึงตรงกันข้าม กลับปรากฏว่า
คุณภาพการศึกษาของประเทศไทยตา่ สุ ด ในกลุ่มชาติอาเซียน ?
จากการวิเคราะห์ น่ าจะมีสาเหตุจากปั จจัย ดังต่ อไปนี ้
๑. ความยากจนของประชาชน ในชนบทห่างไกล โดย ข้ อมูล จาก
หนังสือพิมพ์ ผู้จดั การ วันที่ ๑๒ พ.ย. ๒๕๕๔ รายงานว่า นายวัชรินทร์ จาปี
รองเลขาธิการสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
(กศน.) บอกว่า ผู้ที่ไม่ได้ เข้ าเรี ยน ส่วนใหญ่ เป็ นคนไทยที่อยูใ่ นชนบท ห่างไกล
และมีความยากจน นอกจากนี ้ ยังมีกลุม่ คนที่ไม่ได้ ใช้ ภาษาไทย ในชีวิตประจาวัน
เช่น ชาวเขา หรื อประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรื อไม่ก็เป็ นผู้ที่ไม่ประสงค์
จะเข้ าเรี ยน เนื่องจากอายุมาก หรื อต้ องทางานตลอดเวลา ทาให้ ไม่มีเวลาไปเรี ยน
หนังสือ
๒. ปัจจุบัน มีคนไทย ไม่ รู้ หนังสื อ อ่ านไม่ ออก เขียนไม่ ได้
ประมาณ ๒ ล้ าน คน
(ข้ อมูลจาก:Unesco ,September 10,2012)
๓. คนไทย ไม่ มีนิสัยรั กการอ่ าน จากสถิติ ปรากฏว่า คนไทยอ่านหนังสือ ๘ บรรทัด
จากค่าเฉลี่ย ของคนทังประเทศ
้
๖๕ ล้ านคน แต่เพื่อนบ้ าน อย่าง สิงคโปร์ ,เวียตนาม
อ่านปี ละ ๕เล่ม ประเทศ จีนอ่านปี ละ ๖ เล่ม ยุโรป อ่านปี ละ ๑๖ เล่ม
( ข้ อมูลจาก:สานักงานสถิติแห่งชาติ)
๔. คุณภาพของโรงเรี ยนและบุคลากร(ครู ) ในเมืองและในชนบทที่หา่ งไกล แตกต่าง
กันอย่างมาก โดย โรงเรี ยนในชนบทบางแห่ง ขาดแคลน ครู ขาดแคลน อุปกรณ์
การเรี ยนการสอน บางโรงเรี ยน ครูคนเดียวสอนนักเรี ยนหลายห้ องในเวลาเดียวกัน
อีกทังครู
้ ไม่มีเวลาสอนนักเรี ยนเต็มประสิทธิภาพเนื่องจากมีกิจกรรมอื่นให้ รับผิดชอบ
เป็ นสาเหตุให้ นกั เรี ยนเสียโอกาสในการเรี ยน
๕. การบริหารการศึกษาของประเทศไทยยังขาดประสิทธิภาพ ผู้บริหาร
การศึกษาขาดวิสยั ทัศน์ และไม่จริงจังกับการบริหารการศึกษาให้ มีคุณภาพ แม้ จะ
ปรากฏว่า มีนกั เรี ยนไทยบางส่วนเรี ยนดีได้ รับรางวัลการแข่งขันด้ านต่างๆ แต่ก็เป็ น
นักเรี ยนส่วนน้ อยเมื่อเทียบส่วนกับนักเรี ยนทังประเทศและจะเป็
้
นนักเรี ยนที่ฉลาด
และเรี ยนเก่งโดยธรรมชาติอยูแ่ ล้ ว
๖. รั ฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ซึง่ เป็ นผู้วางนโยบายระดับสูงสุด
ของประเทศไทย มีการเปลี่ยนตัวบ่อยมากและผู้มาดารงตาแหน่งส่วนใหญ่ ไม่ใช่ผ้ ทู ี่
มีความเชี่ยวชาญด้ านการศึกษา นโยบายการศึกษาจึงเปลี่ยนไป เปลี่ยนมา
ไม่แน่นอน ทาให้ การศึกษาของไทยไม่มีคณ
ุ ภาพ
๗. ปั ญหาการคอร์ รัปชั่น จากผลการจัดอันดับดัชนีชี ้วัดภาพลักษณ์คอร์ รัปชัน่ ตลอด
๑๖ ปี (พ.ศ.๒๕๓๘-๒๕๕๔) ของประเทศไทย ได้ คะแนน เฉลี่ย ๓.๓๑ (ประเทศที่มีการ
จัดการคอร์ รัปชัน่ ดีขึ ้นแล้ วต้ องมีคะแนนขันต
้ ่าไม่น้อยกว่า ๕ คะแนน) ซึง่ ถือว่าสถานการณ์
คอร์ รัปชัน่ ของไทยยังมีแนวโน้ ม อยูใ่ นระดับสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้ าน ที่มีการจัดอันดับ
ดีกว่า อาทิ สิงคโปร์ และฮ่องกง (ศิริวรรณ มนตระผดุง: วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทศั น์ ปี ที่
๒ ฉบับที่ ๑ มกราคม-มิถนุ ายน ๒๕๕๕) การคอร์ รัปชัน่ ในประเทศไทยมีในทุกวงการไม่
เว้ นแม้ แต่ในวงการศึกษา ดังปรากฏตัวอย่างการทุจริตในวงการศึกษากรณีจดั ซื ้ออุปกรณ์
การเรี ยน ในโรงเรี ยนอาชีวะศึกษา เมื่อไม่นานมานี ้
ระดับ สพฐ.
• ประชุมเสวนาครู ภาษาไทย
• จัดพิมพ์หนังสื อแบบเรียนเร็วใหม่
• ใช้ สื่อชุดซ่ อมเสริมนักเรียน ชั้น ป.3
• พัฒนาสื่ อการอ่านย่ อความ
• พัฒนาวิทยากรแกนนา การอ่านรู้ เรื่อง
และสื่ อสารได้
• พัฒนาความสามารถการอ่านคิดวิเคราะห์
• พัฒนาสื่ อการเรียนรู้ และนวัตกรรมทีส่ ่ งเสริม
การอ่านคิดวิเคราะห์
ป. 1
ป. 2
ป. 3
• ใช้ สื่อชุดซ่ อมเสริมนักเรียน ชั้น ป.3
แนวการสอนซ่ อมเสริมการอ่ านและการเขียน
ชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 3
• การพัฒนาการอ่านภาษาไทยเพื่อจับใจความ ตาม
แนวการสอนบูรณาการของเมอร์ดอ็ ก
(The Murdoch Integrated Approach)
(สพป. สุ ราษฎร์ธานีเขต 1)
• การสร้างความเข้าใจในการอ่าน ของ นักเรี ยน
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ โดยใช้วงจรเดมมิ่ง
PDCA (สพป. สุราษฎร์ ธานีเขต 1)
แนวการสอนซ่ อมเสริมการอ่ านและการเขียน
ชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 3
เครือข่ายการศึกษาการศึกษา อริยมงคล
นักเรียนที่อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้
การที่คณ
ุ ภาพการศึกษาของประเทศไทยต่ามากเช่นนี ้ เป็ นสัญญาณว่า
คุณภาพของประชากรไทยต่าเช่นกัน เพราะการให้ การศึกษาเป็ นตัวชี ้วัด
คุณภาพของประชากร เมื่อคุณภาพของประชากรต่าการพัฒนาประเทศก็
ไม่สามารถก้ าวไปสูเ่ ป้าหมายได้
จึงเป็ นเรื่ องที่น่า วิตก อย่างยิ่งสาหรับประเทศไทย
สถานการณ์การศึกษาในเวียดนาม มาเลเซีย เกาหลีหรื อจีน
กาลังพัฒนาอย่างก้าวกระโดด
ขณะที่ไทยถูกทิ้งไว้เบื้องหลัง
รัฐยังเสี ยเวลาไปกับการออกกฏที่น่าขัน
แทนที่จะแก้ไขสิ่ งที่เป็ นปัญหาจริ งๆ
อย่างไรก็ตาม ความเปลี่ยนแปลงต่างๆในสังคมไทยนั้นเป็ นไปอย่างเชื่องช้า
สังคมไทยนั้นคือสังคมแห่งการรักษาหน้าตาในทุกๆด้าน ภาพลักษณ์คือทุกสิ่ ง
และตราบใดที่ภาพลักษณ์ภายนอกของเด็กยังสาคัญกว่าความรู้ที่อยูข่ า้ งในสมองของพวกเขา
ระบบการศึกษาไทยก็จะยังเผชิญกับปัญหาอยูต่ ่อไป และร่ วงหล่นอยูท่ ่ามกลางการแข่งขันของโลก
พยัญชนะ
สระ
คาที่มีสระลดรูป
และ
เปลีย่ นรูป
คาที่ไม่ มีตัวสะกด
และ
คาที่มีตัวสะกด
ตรงตามมาตรา
คาที่มีตัวสะกด
ไม่ ตรงตามมาตรา
คาควบกลา้
และคาที่มีอกั ษรนา
คาทีผ่ นั วรรณยุกต์
คาที่มีตัวการันต์
คานา
สารบัญ
คาชี้แจง
เรื่ องการศึกษา ASEAN กาหนดให้ ปี 2558 เด็กนักเรี ยนทุกคนทุกโรงเรี ยนใน ASEAN
ต้องเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศทุกคน ต้องได้ใช้ Internet ความเร็ วสูง ทุกคนทุกโรงเรี ยน
หลายประเทศทาเสร็ จแล้ว เช่นอินโดนีเซี ย มาเลเซี ย และสิ งคโปร์ เสร็ จแล้ว เสร็ จนานหลาย
ปี แล้ว แต่เด็กไทยยังอยูอ่ ีกห่ างไกล แม้กระทัง่ สวนสาธารณะต่างๆในนครจาการ์ ตา
ที่อินโดนีเซี ย ก็สามารถใช้ WiFi internet ความเร็ วสู งได้ฟรี กนั มา 2 ปี แล้ว
ที่อินโดนีเซียโรงเรี ยนประถมฯ มัธยมฯ และ อาชีวะศึกษา เริ่ม และเร่ งปฏิรูป
การศึกษาเข้ าสูม่ าตรฐานการศึกษาระดับโรงเรี ยนนานาชาติทกุ โรงเรี ยน บังคับ
การเรี ยนการสอนเป็ นภาษาอังกฤษในวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และอาชีวะ
ศึกษา ทุกชันทุ
้ กโรงเรี ยน โดยใช้ หลักสูตรและการประเมินฯ คุณภาพจากประเทศ
กลุม่ องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา ซึง่ ตังอยู
้ ่ที่ยโุ รป
และให้ บงั คับให้ อาจารย์ใหญ่ทกุ โรงเรี ยนใช้ ภาษาอังกฤษได้ ทกุ คน
อีกไม่นานเด็กอาชีวะไทยจะแข่งขันกันเด็กอาชีวะจากอินโดนีเซียได้ อย่างไร
เมื่อเปิ ดพรมแดนการค้ าและหางานทากันอย่างเสรี ในประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียนใน 2 ปี ข้ างหน้ า เยาวชนคนรุ่นใหม่ของไทยจะแข่งขันกับใครได้
ในอาเซียน และในโลกนี ้