สื่อการเรียนรู้ ศ 41102 เรื่อง ยุคสมัยและวิวัฒนาการทางศิลปะ

Download Report

Transcript สื่อการเรียนรู้ ศ 41102 เรื่อง ยุคสมัยและวิวัฒนาการทางศิลปะ

Slide 1

สื่ อการเรียนรู้ ศ 41102
เรื่อง ยุคสมัยและวิวฒ
ั นาการทางศิลปะ
จัดทาโดย
นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์
โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชู ปถัมภ์


Slide 2

ผลการเรียนรู้ ทคี่ าดหวัง
รักและภาคภูมใิ จในศิลปะทีเ่ ป็ นมรดกทาง
วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย รู้ วธิ ีทางาน
ทัศนศิลป์ ทีเ่ กีย่ วข้ องกับวัฒนธรรมใน
ระดับชาติและนานาชาติ


Slide 3

ยุคสมัยทางศิลปะ
แบ่ งได้ 2 ยุค 7 สมัย
1. ยุคก่ อนประวัตศิ าสตร์ ไทย 2. ยุคประวัตศิ าสตร์ ไทย
1.1 สมัยทวาราวดี
2.1 สมัยเชียงแสน
1.2 สมัยศรีวชิ ัย
2.2 สมัยสุ โขทัย
1.3 สมัยลพบุรี
2.3 สมัยอยุธยา
2.4 สมัยรัตนโกสิ นทร์


Slide 4

ยุคก่ อนประวัตศิ าสตร์ ไทย ดินแดนสุวรรณภูมิ
ก่ อนที่ชนชาติไทยจะเข้ ามาตั้งถิ่นฐาน ซึ่งเดิมมีอาณาจักร
ของหลายชนชาติปกครองอยู่

สมัยทวาราวดี

สั นนิฐานว่ าศูนย์ กลางอยู่ทนี่ ครปฐม
ศิลปะแบบทวาราวดีมคี วามเจริญแถบภาคกลาง ภาคตะวันออก
และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รับอิทธิพลศิลปะอินเดีย


Slide 5

การสร้ างสถูป มักมีฐานสี่เหลีย่ มย่อมุม เดิมตัวสถูป
เป็ นรูปโอควา่ หรือมะนาวผ่ าซีก แบบสั ญจิของอินเดียและ
พัฒนารูปแบบประกอบด้ วยซุ้มพระพุทธรูปประจาทิศ มี
ลวดลายประดับเสมา


Slide 6

พระพทุ ธรูปวรกายลา่ สัน
พระขนงต่ อกันเป็ นรูปปี กกา
ปาก-พระเนตรหนา ปางที่
น่ าสนใจคือปางห้ อยพระบาท

ผลงานทั่วไป แกะหินรูป
ธรรมจักรกวางหมอบ ใบเสมา


Slide 7

สมัยศรีวชิ ัย
ศูนย์ กลางอยู่บนเกาะสุ มาตรา
ครอบคลุมแหลมมลายูและ
ดินแดนตอนใต้ ของไทย รับ
อิทธิพลจากอินเดีย


Slide 8

ลักษณะของสถูป
ฐานสี่ เหลีย่ มตรงกลาง
สถูปองค์ ใหญ่ ล้อมด้ วย
สถูปองค์ เล็กรอบ บางทีมี
พระพุทธรู ปประจาทิศ
เช่ น สถูปพระบรมธาตุ
ไชยา จ. สุ ราษฎร์ ธานี


Slide 9

ศรีวชิ ัย นิยมการสร้ างรูป
พระโพธิสัตว์ เช่ น พระ
โพธิสัตว์ อวโลกิเตศวร

พระพุทธรู ป มีพระพักตร์ แบน
พระนลาฏเรียบ ปางมารวิชัย
ปางนาคปรก


Slide 10

สมัยลพบุรี
ดินแดนที่มีความเจริญทางภาคกลาง ภาคตะวันออกและ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของไทย ศิลปะมีอทิ ธิพลศาสนา
พราหมณ์ เป็ นส่ วนใหญ่ ( อิทธิพลขอม ) แต่ ยงั คงมีศิลปะแบบ
พุทธด้ วย ศูนย์ กลางความเจริญอยู่ทนี่ ครวัต กัมพูชา นับถือ
กษัตริย์เท่ ากับสมมุตเิ ทพ นิยมสร้ างเทวสถานใหญ่ โต


Slide 11

สถาปัตยกรรม นิยมสร้ างด้วยศิลาแดงตามเนินหรือ
บนเขาใหญ่ โต แข็งแรง เช่ น พระปรางค์ 3 ยอด
จ. ลพบุรี ปราสาทหินพิมาย จ. นครราชสี มา


Slide 12

ประติมากรรม พระพุทธรูปมีหน้ าผากกว้าง คาง
สี่ เหลีย่ ม ปากแบะ ริมฝี ปากหนา ตาโปน รู ปร่ างเตีย้
มีพระพุทธรู ปนาคปรก สร้ างพระพุทธรู ปทรงเครื่อง
เป็ นครั้งแรก


Slide 13

ยุคประวัตศิ าสตร์ ไทย
ดินแดนสุ วรรณภูมทิ ชี่ นชาติไทยได้ อพยพเข้ ามาตั้งถิน่
ฐานและปกครองกันเอง มีวฒ
ั นธรรมและรู ปแบบ
ศิลปะที่แสดงถึงความเป็ นไทย

สมัยเชียงแสน

ศูนย์ กลางของอาณาจักรอยู่ทาง
ภาคเหนือของไทย หรือเรียกอีกอย่ างว่ า ล้านนา เป็ น
ยุคของศิลปะของไทยอย่ างแท้ จริง


Slide 14

ลักษณะเจดีย์ สร้ างจากฐานสี่เหลีย่ มซ้ อนกันหลายชั้น ส่ วน
องค์ เจดีย์มที ้งั สี่ เหลีย่ มและกลม เช่ น เจดีย์วดั เจ็ดแถว พระธาตุหริ
ภุญไชย พระธาตุดอยสุ เทพ


Slide 15

พระพุทธรูป ส่ วนใหญ่ ทาด้ วย
สาริดรุ่นแรกจะมีลกั ษณะอวบอ้ วน
จมูกโด่ ง ปากบางคม
รุ่นหลัง ไม่ อ้วนมาก พระเกตุมาลา
เป็ นเปลวรัศมี เช่ น พระพุทธสิ หิงค์
ในพระทีน่ ั่งพุทไธสวรรค์

ประติมากรรมที่เด่ น
รูปปูนปั้นหัวพญานาค


Slide 16

สมัยสุโขทัย
ดินแดนทางภาคเหนือตอนล่ าง มีการสร้ างสรรค์ งาน
ศิลปะไทยทีง่ ดงามมากทีส่ ุ ด หรือกล่ าวได้ ว่าเป็ นยุคทอง


Slide 17

สถาปัตยกรรม เจดีย์ทรงระฆังควา่ มีแบบอย่าง
แพร่ หลาย ส่ วนทีม่ เี อกลักษณ์ ของสุ โขทัยคือ เจดีย์ทรง
พุ่มข้ าวบิณฑ์ หรือทรงดอกบัวตูม

เจดีย์วดั ช้ างล้ อม

เจดีย์วดั ตระพังเงิน


Slide 18

ประติมากรรม นิยมทาพระพุทธรูป นั่งสมาธิ ไสยยาสน์ ยืน
และเดิน ทีน่ ่ าสนใจคือ พระพุทธรู ปปางลีลา มีลกั ษณะท่ าทางและ
รู ปร่ างงดงาม ลักษณะทัว่ ไป มีพระกายอ่ อนช้ อย รัศมีเปลวเพลิง พระ
พักตร์ รูปไข่ คิว้ โก่ ง จมูกงุ้ม พระโอษฐ์ ยมิ้ เช่ น พระพุทธชินราช
( พิษณุโลก ) พระปางลีลา ( วัดเบญจมบพิตร )


Slide 19

สมัยอยุธยา
เป็ นอาณาจักรทีย่ งิ่ ใหญ่ และมีอายุยาวนานถึง 417 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 1893 2310 ศิลปะอยุธยาทีเ่ จริญรุ่งเรืองมีหลายแขนง ได้ แก่ การประดับมุก การเขียน
ลายรดนา้ ลวดลายปูนปั้น การแกะสลักไม้ และ เครื่องปั้นดินเผาลายเบญจรงค์
ฯลฯ ศิลปะการสร้ างพระพุทธรูปในสมัย อยุธยาไม่ ค่อยรุ่งเรืองนัก ไม่ มีลกั ษณะ
เฉพาะทีเ่ ด่ นชัด ลักษณะทั่วไปจะเป็ น การผสมผสานศิลปะ

รู ปเทวดาจาหลักศิลปะสมัยอยุธยา
(บานประตูวดั พระศรีสรรเพชญ)

วัดพระราม


Slide 20

สถาปัตยกรรมนิยมสร้ างแบบศิลปะลพบุรี หรืออู่ทอง เช่ น พระ
ปรางค์ ทวี่ ดั พุทไธศวรรย์ วัดพระราม วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วัดราช
บูรณะ สถาปัตยกรรมของขอมมาสร้ างในอยุธยา เช่ น พระปรางค์ ใหญ่ ที่
วัดไชยวัฒนาราม และนิยมสร้ างพระเจดีย์เหลีย่ มหรือเจดีย์ย่อมุมไม้ สิบ
สองขึน้ ด้ วย องค์ ทงี่ ดงามมาก เช่ น ทีว่ ดั ชุมพลนิกายาราม และเจดีย์ศรี
สุ ริโยทัย จ.อยุธยา


Slide 21

ศิลปะการสร้ างพระพุทธรู ปในสมัยอยุธยาไม่ ค่อยรุ่งเรืองนัก ไม่ มี
ลักษณะเฉพาะทีเ่ ด่ นชัด ลักษณะทัว่ ไปจะเป็ น การผสมผสานศิลปะ
แบบอืน่ ๆ มีพระวรกายคล้ ายกับพระพุทธรู ปอู่ทอง พระพักตร์ ยาว
แบบสุ โขทัย พระเกตุมาลาเป็ นหยักแหลมสู งรู ปเปลวเพลิง พระขนง
โก่ งแบบสุ โขทัย สั งฆาฏิใหญ่ ปลายตัดตรง หรือสองแฉกแต่ ไม่ เป็ น
เขีย้ วตะขาบ แบบเชียงแสน หรือสุ โขทัย ตอนหลังนิยมสร้ างพระพุทธ
รู ปทรงเครื่องแบบกษัตราธิราช


Slide 22

สมัยรัตนโกสิ นทร์

ศิลปะรัตนโกสิ นทร์ ในตอนต้ น เป็ นการสื บทอดมาจากสกุลช่ างอยุธยา ไม่ ว่าจะเป็ น
การเขียนลายรดนา้ ลวดลายปูนปั้น การแกะสลักไม้ เครื่องเงิน เครื่องทอง การสร้ าง
พระพุทธรูป ล้วนแต่ สืบทอดความงามและวิธีการ ของศิลปะอยุธยาทั้งสิ้น ต่ อมา ใน
สมัยรัชกาลที่ 4 มีการติดต่ อกับชาวต่ างชาติ มากขึน้ โดยเฉพาะชาติตะวันตก ทาให้
ลักษณะศิลปะตะวันตกหลัง่ ไหลเข้ าสู่ ประเทศไทย และมีอทิ ธิพลต่ อศิลปะไทยใน
สมัยต่ อมา หลังจากการเสด็จประ พาสยุโรปทั้ง 2 ครั้งของ พระเจ้ าอยู่หัวรัชกาลที่ 5
ได้ มีการนาเอาแบบอย่ าง ของศิลปะตะวันตกเข้ ามาผสมผสานกับศิลปะไทย ทาให้
ศิลปะไทยแบบประเพณี ซึ่งเป็ นแบบดั้งเดิม มีการเปลีย่ นแปลงรูปแบบไปเป็ นศิลปะ
ไทย แบบร่ วมสมัย ในทีส่ ุ ด ลักษณะของพระพุทธรูปเน้ นความเหมือนจริงมากขึน้
เช่ น พระศรีศากยทศพลญาณ ฯ พระประธานพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เป็ น
พระพุทธรูปปางลีลาโดยการผสมผสานความงามแบบสุ โขทัยเข้ ากับความ เหมือน
จริง เกิดเป็ นศิลปะการสร้ างพระพุทธรูปในสมัยรัตนโกสิ นทร์


Slide 23

สถาปัตยกรรม

ได้ รับอิทธิพลจากสมัยต่ างๆ
และอีกหลายชนชาติเช่ นอิทธิพล
อยุธยา พระปรางค์ วดั อรุณฯ

อิทธิพลจีน ไม่ มีช่อฟ้า หางหงส์ ใช้
กระเบือ้ งหรือถ้ วยชามเบญจรงค์
ประดับ


Slide 24

อิทธิพลตะวันตก พระที่นั่ง
จักรีมหาปราสาท พระที่นั่ง
อนันตสมาคม

สถาปัตยกรรมแบบรัตนโกสิ นทร์ แท้ จะมียอดเป็ นมงกุฎ บนยอดอาคาร ประตู
หน้ าต่ าง พระทีน่ ั่งดุสิตมหาปราสาท ทาปรางค์ บนยอดปราสาท ปราสาท
พระเทพบิดร


Slide 25

การสร้ างพระพุทธรู ป มีลกั ษณะเหมือนคนและนารู ปแบบสมัย
ต่ างๆมาผสมผสาน
ร.2 สร้ างพระประธานวัดอรุณ แกะสลักบานประตูวหิ ารวัดสุ ทศั น์
ร.3 สร้ างวัดมาก รับอิทธิพลจีน พระพุทธรู ปสร้ างปางห้ ามญาติ
ร.4 บูรณะวัดทีม่ อี ยู่เดิม อิทธิพลตะวันตกเข้ ามา มีช่างเขียนชื่อ
ขรัว อินโข่ ง ทีเ่ ริ่มใช้ การเขียนภาพแบบ perspective ( ภาพ
นาสายตา) เป็ นครั้งแรก
ร.4-ร.5 อิทธิพลตะวันตกเข้ ามาอย่ างเต็มที่
ร.6 สร้ างศิลปะสากลมากขึน้ มีการตั้งโรงเรียนศิลปะขึน้ เป็ นครั้ง
แรกและมีศิลปิ นชาวอิตาลี( โคราโด เฟโรจี )ชื่อไทย ศิลป์ พีระศรี


Slide 26


Slide 27

อืน่ ๆอีกมากมาย


Slide 28


Slide 29


Slide 30


Slide 31


Slide 32