อาณาจักร สุโขทัย Sukhothai Kingdom อาจารย์สอง สุดหล่อ อาณาจักรสุโขทัย การสถาปนาอาณาจักร การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ศิลปะ และ สถาปัตยกรรม การติดต่อกับต่างประเทศ อาณาจักรที่มีมาก่ อน การสถาปนา อาณาจักรสุโขทัย.

Download Report

Transcript อาณาจักร สุโขทัย Sukhothai Kingdom อาจารย์สอง สุดหล่อ อาณาจักรสุโขทัย การสถาปนาอาณาจักร การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ศิลปะ และ สถาปัตยกรรม การติดต่อกับต่างประเทศ อาณาจักรที่มีมาก่ อน การสถาปนา อาณาจักรสุโขทัย.

อาณาจักร สุโขทัย
Sukhothai Kingdom
อาจารย์สอง สุดหล่อ
อาณาจักรสุโขทัย
การสถาปนาอาณาจักร
การเมืองการปกครอง
เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม
ศิลปะ และ สถาปัตยกรรม
การติดต่อกับต่างประเทศ
อาณาจักรที่มีมาก่ อน
การสถาปนา
อาณาจักรสุโขทัย
1.บริเวณดินแดนทางภาคเหนือ
ปรากฏอาณาจักรที่สาคัญ 2 อาณาจักร คือ
1. อาณาจักรโยนกเชียงแสน
2. อาณาจักรหริภญุ ชัย
2. บริเวณดินแดนทางภาคตะวันตก
เป็ นที่ตง้ั ของอาณาจักรที่สาคัญ ๆ 2 อาณาจักร
คือ
1. อาณาจักรมอญ
2. อาณาจักรพุกาม
3. บริเวณดินแดนทางภาคกลางหรื อ
ลุ่มแม่ นา้ เจ้ าพระยาตอนล่ าง
อาณาจักรโบราณที่มีความสาคัญ คือ
1. อาณาจักรทวารวดี
2. อาณาจักรละโว้ (ลพบุร)ี
การสถาปนา
อาณาจักรสุโขทัย
อาณาจักรขอม
เป็ นอาณาจักรที่ย่งิ ใหญ่และเรืองอานาจในดินแดนเอเชีย
อาคเนย์ในอดีต โดยมีศูนย์กลางอยู่ท่เี มืองพระนคร
(ปัจจุบนั เรียกว่าเสียมราฐหรือเสียมเรียบ) ในกัมพูชา
(เขมร)
อาณาจักรขอม
อาณาจักรขอมได้ขยายอานาจเข้ามาในดินแดนที่
เป็ นที่ตง้ั ของประเทศไทยในปัจจุบนั นี้ ได้แก่ดินแดน
ภาคกลาง อีสาน เหนื อ
ทาให้ดินแดนแถบนี้ ก่อนการสถาปนาอาณาจักร
สุโขทัยนั้นอยู่ภายใต้อทิ ธิพลและการปกครองของ
อาณาจักรขอม
อาณาจักรขอม
(เขมร)
แต่เมื่อสิ้นรัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7
อาณาจักรขอมก็เสือ่ มอานาจลง
คนไทยกลุม่ ต่างๆ รวมทัง้ คนไทยที่สโุ ขทัยจึงพากัน
ตัง้ ตนเป็ นอิสระ
ปี พ.ศ. 1781
พ่อขุนบางกลางหาว + ขุนผาเมือง เจ้าเมืองราด
ชิงอานาจจาก ขอม
( ขณะนั้นมีโขลญสมาดลาพง ปกครองเมืองสุโขทัยอยู่ )
ตัง้ พ่อขุนบางกาลางหาวขึ้นเป็ นกษัตริย ์ โดยให้ใช้นาม
“ ศรีอนิ ทราทิตย์ ”
ปัจจัยที่เอื้อต่อการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย
1) ขอมเสือ่ มอานาจลง เนื่ องจาก
พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 สวรรคต
2) ความเข้มแข็งของผูน้ าและความสามัคคี
ของคนไทย
3) ทาเลที่ตง้ั
สุโขทัยห่างไกลจากศูนย์กลางอาณาจักรขอม
สุโขทัย
พระนคร
( ศูนย์กลางอาณาจักรขอม )
กษัตริย์
สมัยสุโขทัย
อาณาจักรสุโขทัย ก่อตัง้ ขึ้นใน พ.ศ. 1792 - 2006 รวมระยะเวลา
214 ปี มีพระมหากษัตริยแ์ ห่งราชวงศ์พระร่วง รวม 9 พระองค์
พ่อขุนบานเมือง พ่อขุนรามคาแหงมหาราช
พ่อขุนศรีอนิ ทราทิตย์
พระมหาธรรมราชาที่ 4
พระมหากษัตริย ์
แห่งราชวงศ์พระร่วง
พระมหาธรรมราชาที่ 3
พระมหาธรรมราชาที่ 2
พระยาเลอไทย
พระยางัวน
่ าถม
พระมหาธรรมราชาที่ 1
พ่อขุนศรีอนิ ทราทิตย์
ปฐมกษัตริยข์ อง
อาณาจักรสุโขทัย
พระมหากษัตริยร์ าชวงศ์พระร่วง/สุโขทัย
1) พ่อขุนศรีอนิ ทราทิตย์ 2) พ่อขุนบาลเมือง
3) พ่อขุนรามคาแหงมหาราช 4) พญาเลอไทย
5) พญางัวน
่ าถุม
6) พระมหาธรรมราชาที่1(ลิไทย)
7) พระมหาธรรมราชาที่ 2 8) พระมหาธรรมราชาที่ 3
( ไสยลือไทย )
9) พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล)
ฐานะของผูป้ กครองหรือพระมหากษัตริยใ์ นสมัยสุโขทัย
สามารถจาแนกออกได้ 3 ฐานะ คือ
1. พระมหากษัตริยใ์ นฐานะบิดาของประชาชน
2. พระมหากษัตริยใ์ นฐานะธรรมราชา
(ได้รบั อิทธิพลจากพุทธศาสนา)
3. พระมหากษัตริยใ์ นฐานะเทวราชา (เห็นชัดเจนในสมัยอยุธยา)
(ได้รบั อิทธิพลจากขอม คือ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู)
ตอนปลาย
รายนามพระมหากษัตริย ์
ปี ท่เี ริ่มครองราชย์
โดยประมาณ
1. พ่อขุนศรีอนิ ทราทิตย์
2. พ่อขุนบางเมือง
3. พ่อขุนรามคาแหง
4. พระยาเลอไท
5. พระยางัวน
่ าถม
6. พระมหาธรรมราชาที่1(ลิไท)
ระหว่าง พ.ศ. 1762-1781
ไม่ปรากฏ
ระหว่าง พ.ศ. 1822-1841
พ.ศ. 1814
ไม่ปรากฏ
พ.ศ. 1890
7. พระมหาธรรมราชาที่ 2
ไม่ปรากฏ
8. พระมหาธรรมราชาที่3 (ไสลือไท) ไม่ปรากฏ
9. พระมหาธรรมราชาที่4 (บรมปาล) ไม่ปรากฏ
ปี ท่สี วรรคต
โดยประมาณ
ไม่ปรากฏ
ไม่ปรากฏ
ไม่ปรากฏ
ไม่ปรากฏ
ไม่ปรากฏ
ระหว่าง พ.ศ. 19111917
พ.ศ. 1942
พ.ศ. 1926
พ.ศ. 1981
พ่อขุนรามคาแหงมหาราช
กษัตริยท์ ่ยี ่งิ ใหญ่ท่สี ุดสมัยสุโขทัย
การปกครอง
สมัยสุโขทัย
อาณาเขตสมัยสุโขทัย
• เหนื อ ติดต่อกับ ล้านนา
• ตะวันออก ติดต่อกับ อาณาจักรขอม/เขมร
• ใต้ ติดต่อกับ มะละกา
• ตะวันตก ติดต่อกับ อาณาจักรพุกาม
แผนที่แสดงอาณาจักรสุโขทัย
สมัยพ่อขุนรามคาแหง
พุกาม
จีน
ล้านนา
ญวน
สุโขทัย
นครศรีธรรมราช
ขอม
แผนที่แสดงอาณาจักรสุโขทัย
มะละกา
สมัยพ่อขุนรามคาแหง
พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองของสุโขทัย
รูปแบบการปกครอง มี 2 แบบ โดย
1) ช่วงสมัยสุโขทัยตอนต้น (พ.ศ. 1792-1841)
เป็ นแบบพ่อปกครองลูก
2) ช่วงสมัยสุโขทัยตอนปลาย (พ.ศ. 1841-2006)
เป็ นแบบธรรมราชา
พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองของสุโขทัย
ช่วงต้น
พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองของสุโขทัย
ลักษณะรูปแบบการปกครอง
---> รูปแบบราชาธิปไตย / ปิ ตลุ าธิปปไตย
King มีอานาจสูงสุด (สมบูรณาญาสิทธิราชย์)
---> ลักษณะบิดาปกครองบุตร
King ใกล้ชิดกับประชาชนมากเสมือนหัวหน้าครอบครัว
---> ลักษณะลดหลัน่ ลงเป็ นขัน้ ๆ
---> การยึดหลักธรรมพุทธศาสนาในการปกครอง
พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองของสุโขทัย
ลักษณะการปกครองแบบพ่อปกครองลูก
- King ใกล้ชิดกับประชาชน
- เสมือนพ่อ ซึ่งเป็ นหัวหน้าครอบครัว
- ประชาชนเปรียบเสมือนลูก
คานาหน้าชื่อ King จึงใช้ว่า “ พ่อขุน ”
ปกครองแบบพ่อปกครองลูก กษัตริยม์ ีคานาหน้าพระ
นามว่า “ พ่อขุน ”
ผูค้ นเดือดร้อนสัน่ กระดิ่ง
ที่หน้าประตูวงั พ่อขุน
รามคาแหงมหาราช จะ
เสด็จออกตัดสินด้วย
พระองค์เอง
พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองของสุโขทัย
ลักษณะลดหลัน่ ลงเป็ นขัน้ ๆ
อาณาจักร
เมือง
บ้าน
พ่อขุน
พ่อเมือง
พ่อบ้าน
พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองของสุโขทัย
ลักษณะการปกครองแบบพ่อปกครองลูก
การปกครองแบบนี้ เหมาะกับสุโขทัยระยะแรก เพราะ...
อาณาเขตยังไม่กว้างขวางมากนัก
จานวนประชากรไม่มาก
สภาพสังคมไม่ซบั ซ้อน
พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองของสุโขทัย
ช่วงปลาย
พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองของสุโขทัย
การปกครองแบบธรรมราชา
เป็ นการปกครองตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนา
ที่เรียกว่า หลัก ทศพิศราชธรรม
King
มีฐานะเป็ น “ ธรรมราชา “
( กษัตริยผ์ ูซ้ ่งึ มีธรรมเป็ นเครื่องกากับ )
เกิดขึ้นครัง้ แรกในสมัยพระมหาธรรมราชาที่1(ลิไท)
ฐานะของผูป้ กครอง/พระมหากษัตริย ์
สมัยสุโขทัย
จาแนกออกได้ 3 ฐานะ คือ
1.พระมหากษัตริยใ์ นฐานะบิดาของประชาชน
2.พระมหากษัตริยใ์ นฐานะธรรมราชา
3.พระมหากษัตริยใ์ นฐานะเทวราชา
การเมืองการปกครองช่วงนี้ ได้รบั อารยธรรมตะวันออกมา
จากแหล่งต่างๆ เช่น อินเดีย ลังกา มอญ เขมร
คานาหน้านาม King เปลี่ยนจาก
“ พ่อขุน ” มาเป็ น
“ พระยา ”(พญา) หรือ
“ พระมหาธรรมราชา ”
การเมืองการปกครองของสุโขทัย
การปกครองหัวเมือง
เมืองหลวง ( ราชธานี )
ปกครองโดยพระมหากษัตริย ์
เมืองลูกหลวง ( หัวเมืองชัน้ ใน / เมืองหน้าด่าน )
ปกครองโดยราชโอรส
เมืองพระยามหานคร
( หัวเมืองชัน้ นอก )
ปกครองโดยขุนนางชัน้ ผูใ้ หญ่
เมืองประเทศราช ( เมือกออก )
ปกครองโดยเจ้าเมืองนั้นๆ แต่ตอ้ งส่งเรื่องราชบรรณาการ
เมืองลูกหลวง(เมืองหน้าด่าน)
เมืองประเทศราช
เมืองพระยามหานคร
เมืองหลวง(ราชธานี )
น่ าน
หลวงพระบาง
แพร่
บางพาน
เชียงทอง
ทวาย
ตะนาวศรี
ศรีสชั นาลัย(สวรรคโลก)
ชากังราว/นครชุม
(กาแพงเพชร)
กรุงสุโขทัย
สระหลวง(พิจติ รเก่า)
พระบาง (นครสวรรค์)
นครศรีธรรมราช
สองแคว
(พิษณุ โลก)
ศรีเทพ
กฎหมาย
สมัยสุโขทัย
ศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหงทาให้ทราบว่า
ไทยเรามีระบบกฎหมายมาตัง้ แต่สมัยสุโขทัย
ทัง้ กฎหมายมรดก กฎหมายภาษี กฎหมาย
ค้าขาย กฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สนิ กฎหมายที่
สาคัญ เช่น กฎหมายมรดก และ
กฎหมายลักษณะโจร เป็ นต้น
สั งคม วัฒนธรรม
สมัยสุโขทัย
“ สั งคมสมัยสุโขทัยนั้น
ประชาชนชาวสุโขทัยมีชีวติ ที่
สงบสุขภายใต้ ร่มเงาของ
พระพทุ ธศาสนา “
ชนชัน้ ทางสังคม สมัยสุโขทัย
กลุม่ ผูป้ กครอง
กลุม่ ผูถ้ กู ปกครอง
ประกอบด้วย
- กษัตริย ์ (พ่อขุน)
- ลูกเจ้า (เชื้อพระวงศ์)
- ขุนนาง
- พระสงฆ์
ประกอบด้วย
- ไพร่
- ทาส (ในสมัยสุโขทัยยังไม่มี
หลักฐานที่ชดั เจนในการมีของ ทาส
ในสังคมสุโขทัย)
ชนชัน้
ปกครอง
กษัตริย ์
เชื้อพระวงศ์
ขุนนาง
ชนชัน้ ผูถ้ กู
ปกครอง
ไพร่ (ประชาชนทัว่ ไป)
ทาส
( ในสมัยสุโขทัยยังไม่มีหลักฐานที่ชดั เจนในการมีของ ทาส ในสังคมสุโขทัย )
ชนในสังคมสมัยสุโขทัย
เศรษฐกิจ
สมัยสุโขทัย
การเกษตรกรรมได้ผลดีเพราะ
1. มีแม่น้ า ปิ ง ยม และ น่ าน ไหลผ่าน
2. มีการจัดระบบชลประทาน มี
การทานบกักเก็บน้ า ( สรีดภงค์ หรือ ทานบพระร่วง )
ขุดสระน้ า(ตระพัง) รอบเมืองสุโขทัย
และเมืองสาคัญ
น่ าน
ปิ ง
ยม
ทานบกักเก็บน้ า ( สรีดภงค์ หรือ ทานบพระร่วง )
ภาพสะท้อนสังคม เศรษฐกิจสมัยสุโขทัย
" เมื่อชัว่ พ่อขุนรามคาแหง เมืองสุโขทัยนี้ ดี ในน้ ามีปลา ในนามีขา้ ว
เจ้าเมืองบ่เอาจังกอบในไพร่ลูท่ าง เพื่อนจูงวัวไปค้า ขี่มา้ ไปขาย ใคร
จักใคร่คา้ ช้างค้า ใครจักใคร่คา้ ม้าค้า ใครจักใคร่คา้ เงินค้าทองค้า ไพร่
ฟ้ าหน้าใส "
พื้นฐานทางด้านเศรษฐกิจของสมัยสุโขทัยขึ้นอยู่กบั
เกษตรกรรม การทานา ทาสวน ทาไร่
การหัตถกรรม ทาเครื่องสังคโลก
การค้าขายกับต่างประเทศ
หัตถกรรม
1. งานหัตถกรรมซึ่งถือว่าเป็ นการสนับสนุ นตลาด
ภายใน และ การค้ากับตลาดภายนอก
การค้าขาย
1. การค้าภายในประเทศ กับ ต่างประเทศ
การค้ า
สมัยสุโขทัย
การค้าขาย พาณิ ชกรรม
1. สินค้าออกที่สาคัญ คือ เครื่องสังคโลก พริกไทย น้ าตาล งาช้าง
2. สินค้าเข้าที่สาคัญ คือ ผ้าไหม ผ้าทอ อัญมณี
3. ตลาดปสาน คือ ตลาดประจาหมู่บา้ น
4. จกอบ(จังกอบ) คือ ภาษีผ่านด่าน
ซึ่งไม่มีการเก็บ ทาให้มีปริมาณสินค้ามาก
ราคาถูก
การค้าขาย พาณิ ชกรรม
การค้าขาย พาณิ ชกรรม
เครื่องสังคโลก
เส้นทางการค้าที่สาคัญ
ที่ใช้ตดิ ต่อทางทะเลใน
การค้าทางทะเลระหว่าง
อาณาจักรสุโขทัย กับ
ดินแดนอืน่ ๆ โดย
ผ่านทางอ่าวเมาะตะมะ
และฝัง่ อ่าวไทย
มอญ
อยุธยา
อินเดีย
อาหรับ
จีน ญี่ปนุ่
มะละกา
งานหัตถกรรมที่มีช่ือเสียงของสุโขทัยคือ การทาเครื่องปัน้ ดินเผา
เครื่องสังคโลกที่เผาโดยใช้เตาทุเรียงซึ่งที่มีผลิตมากคือ ถ้วยชาม
รองลงมาคือ แจกัน คนโฑ ต่างๆ
เตาทุเรียง
เครื่องสังคโลก
เครื่องสังคโลก
เตาทุเรียง
เตาทุเรียง คือ เตาสาหรับเผาเครื่องถ้วยชามต่าง ๆ ในสมัยสุโขทัย หรือรูจ้ กั กัน
ในนามเครื่องสังคโลก โดยทัว่ ไป เตาทุเรียง หมายถึง เตาบริเวณตัวเมืองสุโขทัย แต่
ทาเป็ นเพียงส่วนน้อยไม่มากเหมือนที่เมืองศรีสชั นาลัย ซึ่งจากการขุดค้นทาง
โบราณคดี ได้พบเตาเผาเครื่องสังคโลกมากมาย ทัง้ ที่สโุ ขทัยและ ศรีสชั นาลัย
“เงินพดด้ วง” แบ่ง
ออกเป็ น สลึง บาท ตาลึง
ส่วนเงินที่มีค่าน้อยที่สดุ คือ
เบี้ย ทามาจากหอยเรียกว่า
หอยเบี้ย
สถาปัตยกรรม
สมัยสุโขทัย
อุทยานประวัตศิ าสตร์สโุ ขทัย
1. เจดียแ์ บบสุโขไทยแท้
ฐานเป็ นสีเ่ หลี่ยมสามชัน้ ตัง้ ซ้อนกัน องค์เจดียเ์ ป็ นทรงกลม
ยอดเจดียพ์ มุ่ ข้าวบิณฑ์(ดอกบัวตูม)
2. เจดียท์ รงกลมแบบลังกา
(คล้ายระฆัง) เป็ นเจดียท์ ่สี ร้างในสมัยช่วงต้นของสุโขทัย ได้รบั
อิทธิพลจากลัทธิลงั กาวงศ์ จากลังกา
3. เจดียแ์ บบศรีวชิ ยั
ฐานเป็ นสีเ่ หลี่ยม องค์ระฆังสูง
เจดียส์ มัยสุโขทัย
เ-<-- เจดียแ์ บบสุโขทัยแท้
ยอดเจดียพ์ มุ่ ข้าวบิณฑ์(ดอกบัวตูม)
เจดียท์ รงกลมแบบลังกา -->
ยอดเจดียพ์ มุ่ ข้าวบิณฑ์
( ดอกบัวตูม )
วัดมหาธาตุ อุทยานประวัตศิ าสตร์สโุ ขทัย
เจดียแ์ บบสุโขทัยแท้
ยอดเจดียพ์ มุ่ ข้าวบิณฑ์
( ดอกบัวตูม )
วัดมหาธาตุ (อุทยานประวัตศิ าสตร์สโุ ขทัย) จ.สุโขทัย
วัดสระศรี
ในอุทยานประวัตศิ าสตร์สโุ ขทัย
เจดียท์ รงแบบลังกา
( ระฆังควา่ )
วัดสระศรี
ในอุทยานประวัตศิ าสตร์สโุ ขทัย
เจดียว์ ดั ช้างล้อม
อ. ศรีสชั นาลัย
จ.สุโขทัย
เจดียว์ ดั ช้างล้อม
อ.ศรีสชั นาลัย จ.สุโขทัย
เจดียว์ ดั ช้างล้อม อ.ศรีสชั นาลัย จ.สุโขทัย
เจดียว์ ดั ช้างล้อม
อ. ศรีสชั นาลัย
จ.สุโขทัย
เจดียว์ ดั ช้างล้อม อ.ศรีสชั นาลัย จ.สุโขทัย
วัดเจ็ดแถว (อุทยานประวัตศิ าสตร์ศรีสชั นาลัย) อ.ศรีสชั นาลัย จ.สุโขทัย
เจดียแ์ บบสุโขทัยแท้
ยอดเจดียพ์ มุ่ ข้าวบิณฑ์
( ดอกบัวตูม )
เจดียแ์ บบสุโขทัยแท้
ยอดเจดียพ์ มุ่ ข้าวบิณฑ์
( ดอกบัวตูม )
วัดเจ็ดแถว (อุทยานประวัตศิ าสตร์ศรีสชั นาลัย) อ.ศรีสชั นาลัย จ.สุโขทัย
วัดเจ็ดแถว (อุทยานประวัตศิ าสตร์ศรีสชั นาลัย) อ.ศรีสชั นาลัย จ.สุโขทัย
วัดช้างล้อม (อุทยานประวัตศิ าสตร์กาแพงเพชร) จ.กาแพงเพชร
วัดช้างล้อม (อุทยานประวัตศิ าสตร์กาแพงเพชร) จ.กาแพงเพชร
ประติกรรม
สมัยสุโขทัย
พระพทุ ธรูป
ลักษณะเด่นของ
พระพุทธรูปสมัยสุโขทัย
มีลกั ษณะเด่นคือ พระเกศมีรศั มี
เปลวเพลิง พระเกศาขมวดเป็ น
ก้นหอย พระพักตร์รูปไข่ พระ
นาสิกแหลมงุม้ พระโอษฐ์ย้ มิ
เล็กน้อย พระอังสะใหญ่(ผ้าที่
พระภิกษุสามเณรสวมเฉวียงบ่า )
ครองจีวรห่มเฉลียง ชายจีวรยาว
จรดพระนาภี
ลักษณะเด่นของ
พระพุทธรูปสมัยสุโขทัย
วัดเจ็ดแถว
อ.ศรีสชั นาลัย
จ.สุโขทัย
ประติมากรรม
สมัยสุโขทัยได้ช่ือว่าสร้างพระพุทธรูปได้งดงาม
ปางที่นิยมสร้างมาก คือ
ปางมารวิชยั
ปางที่นิยมสร้างมาก คือ
ปางมารวิชยั
ปางที่นิยมสร้างมาก
คือ ปางมารวิชยั
พระพุทธชินราช
จ.พิษณุ โลก
วัดศรีชมุ : เขตอุทยานประวัติศาสตร์สโุ ขทัย
ปางมารวิชยั
ปางมารวิชยั
สมัยสุโขทัยได้ช่ือว่าสร้างพระพุทธรูปได้งดงามที่สดุ
ปางลีลา
ได้รบั ยกย่องว่าเป็ นปางที่
สร้างได้งดงามที่สดุ
ปางลีลา
ได้ รับยกย่ องว่ า
เป็ นปรางค์ ที่
งดงามทีส่ ุ ด
วรรณกรรม
สมัยสุโขทัย
การประดิษฐ์
ตัวอักษรไทย
ของพ่อขุน
รามคาแหง
เมื่อ ปี
พ.ศ. 1826
วิธีการเขียนมีวธิ ีการเขียนโดยให้พยัญชนะ
และสระอยู่บนบรรทัดเดียวกันหมด
ลายสือไท
ลายสือไท
ลายสือไท
ไตรภูมิพระร่วง ( เตภูมิกถา )
เป็ นพระราชนิ พนธ์ ของพระมหาธรรม
ราชาที่ 1(พญาลิไท) ซึ่งเกี่ยวกับ
พระพุทธศาสนา มุ่งเน้น ให้ทาความดี
ชี้ให้เห็นถึงบาปบุญ นรก สวรรค์
ไตรภูมิพระร่วง
( เตภูมิกถา )
ไตรภูมิพระร่วง
( เตภูมิกถา )
ไตรภูมิพระร่วง
( เตภูมิกถา )
ไตรภูมิพระร่วง
( เตภูมิกถา )
ตารับนางนพมาศ
ตาหรับนางนพมาศ เป็ นหนังสือที่แต่งโดยนางนพ
มาศ หรือ ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เป็ นหนังสือเกี่ยวกับ
ขนบธรรมเนี ยมประเพณี ต่าง ๆ ของสุโขทัย และให้ความรู ้
เกี่ยวกับการศึกษาของสตรี
ศาสนา
สมัยสุโขทัย
ศาสนาในสมัยสุโขทัย
1. การนับถือพุทธศาสนา
2. การนับถือศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
3. การนับถือผี ความเชื่อพื้นบ้าน
โดยมีการนับถือพุทธศาสนาโดยทัว่ ไปและมีการนับถือความเชื่อศาสนา
อืน่ ปะปนร่วมไปด้วย
จิตกรรม
สมัยสุโขทัย
จิตกรรม
สมัยสุโขทัย พบภาพจิตกรรมทัง้ ลายเส้นและภาพสีฝนตามฝา
ุ่
ผนัง สีน่ ิ ยมใช้เป็ นสีกลุ่มดาแดง ที่เรียกว่า “ สีเอกรงค์ ”
จิตกรรม
ภาพเขียนที่ วัดเจดียเ์ จ็ดแถว
อ. ศรีสชั นาลัย จ.สุโขทัย
ความสั มพันธ์
ระหว่ างประเทศ
สมัยสุโขทัย
ความสั มพันธ์ กบั อาณาจักรอืน่ ๆ
ล้านนา
พญาเม็งราย(มังราย)แห่ง
ล้านนานเป็ นเพือ่ นสนิ ทกับ
พ่อขุนรามคาแหง และได้
ช่วยกันสร้างเมืองเชียงใหม่
ในปี 1839
พ่อขุนรามคาแหง
แห่งเมืองสุโขทัย
พญามังราย
พญางาเมือง
แห่งเมืองพะเยา
มอญ
พระเจ้าฟ้ ารัว่ (มะกะโท)
มีฐานะเป็ นราชบุตรเขย
ของพ่อขุนรามมหาราช
เมื่อสิ้นสมัยพ่อขุนรามฯ
ก็แยกตัวเป็ นอิสระ
ลังกา ( ปัจจุบนั คือศรีลงั กา )
มีความสัมพันธ์กบั สุโขทัยทางด้านวัฒนธรรมทาง
พระพุทธศาสนานิ กายเถรวาท ลัทธิลงั กาวงศ์
สุโขทัยมีความสัมพันธ์กบั จีนในลักษณะการค้าในระบบ
บรรณาการ
จีน
นครศรีธรรมราช
พ่อขุนรามคาแหงมหาราช
ทรงนาพระพุทธศาสนา
นิ กายเถรวาท ลัทธิลงั กาวงศ์
จากนครศรีธรรมราชมาใน
อาณาจักรสุโขทัย
ความเสื่ อมอานาจ
ของสุโขทัย
ปัจจัยที่มีผลต่อการเสือ่ มอานาจของอาณาจักรสุโขทัย
แยกพิจารณาออกเป็ นระยะต่าง ๆ ดังนี้
1. ระยะเริ่มต้นการตัง้ อาณาจักร
2. ระยะเจริญรุ่งเรือง
3. ระยะเสือ่ ม
ปัจจัยที่มีผลต่อการเสือ่ มอานาจของอาณาจักรสุโขทัย
1. ระยะเริ่มต้นการตัง้ อาณาจักร
- สมัยพ่อขุนศรีอนิ ทราทิตย์
2. ระยะเจริญรุ่งเรือง
- สมัยพ่อขุนราคาแหง
3. ระยะเสือ่ ม
- หลังสมัยพญาลิไท
สมัยเป็ นอิสระ
1. พ่อขุนศรีอนิ ทราทิตย์
2. พ่อขุนบานเมือง
3. พ่อขุนรามคาแหง
4. พระยาเลอไทย
5. พระยางัวน
่ าถม
6. พระยาลิไทย (มหาธรรมราชาที่1)
สมัยขึ้นต่อกรุงศรีอยุธยา
7. พระมหาธรรมราชาที่ 2
8. พระมหาธรรมราชาที่ 3
9. พระมหาธรรมราชาที่ 4
อาณาจักรสุโขทัยเจริญรุง่ เรื่องอยู่นานประมาณ 200 ปี
และสิ้นสุดลงในปลายพุทธศตวรรษที่ 20 เป็ นการสิ้นสุด
ราชวงศ์พระร่วง
ด้วยสาเหตุดงั นี้
1) ความไม่เข้มแข็งของกษัตริยส์ โุ ขทัยบางพระองค์
2) การแย่งชิงอานาจกันเองในหมู่ผูน้ าของสุโขทัย
3) การประกาศตนเป็ นอิสระของอาณาจักรอยุธยา
4) การตัง้ ตนเป็ นอิสระของหัวเมืองมอญ
ความเสือ่ มของอาณาจักรสุโขทัย
ความเสือ่ มของอาณาจักรสุโขทัย เกิดจากสาเหตุต่อไปนี้
1. การแตกแยกภายใน
2. ความไม่เข้มแข็งของพระมหากษัตริย ์
3. การถูกตัดเส้นทางการค้ากับ
ต่างประเทศ
ขอบเขตอาณาจักรสุโขทัยได้มีการ
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาแห่งยุคสมัย การ
ที่อาณาจักรสุโขทัยอยู่ท่ามกลางอาณาจักร
ต่าง ๆ การดาเนิ นนโยบายทางด้าน
การเมืองของพระมหากษัตริยพ์ ระองค์
ต่าง ๆ นับเป็ นสิง่ ที่มีความสาคัญต่อความ
อยู่รอดของอาณาจักร
อาณาจักรสุโขทัยได้ สิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 1981
เมื่อถูกผนวกเป็ นส่วนหนึ่ งของอาณาจักรอยุธยา
อาจารย์สอง สุดหล่อ