ทวารวดี - ศรีวิชัย

Download Report

Transcript ทวารวดี - ศรีวิชัย

1. ความแตกต่สัาปงระหว่
ดาห์ทางศิ
ี่ 5ล:ปะทวารวดี
ศิลปะศรีกวับิชศิยั ลปะศรีวิชัย
1.1) ที่ตงั้ และความสัมพันธ์กบั ต่างประเทศ
ประเด็น
ที่ตงั ้
ความสัมพันธ์กบั
ต่างประเทศ
เอกภาพทางศิลปกรรม
ทวารวดี
“Mainland”
-ภาคกลาง
-ภาคอีสาน
-อินเดีย
-ค่อนข้ างมีเอกภาพ
ศรี วชิ ัย
“คาบสมุทร”
-ภาคใต้
-อินเดีย
-อื่นๆ เช่น ชวา,จาม,จีน
ฯลฯ
-ค่อนข้ างหลากหลาย
จาม - เป็ นประเทศที่อยูใ่ นเวียดนามใต้ แต่ตอนนี ้สูญไปแล้ ว
อาณาจัก รที่ รุ่ ง เรื อ งขึน้ บนเกาะสุมาตรา ระหว่า งพุท ธศตวรรษที่ 13-18
มีราชธานีตงั ้ อยู่ใกล้ เมืองปาเล็มบังในปั จจุบันนี ้ นักปราชญ์ ทางโบราณคดีเรี ยกชื่อ
อาณาจักรนี ้ว่า ศรี วชิ ัย
ศิลปะศรี วิชยั ได้ รับอิทธิพล
จากศิลปะอินเดียแบบคุปตะ หลังคุปตะ
และปาละ-เสนะ
โบราณวัตถุสมัยนี ้ที่ค้นพบทางภาคใต้ ของประเทศไทยจะสลักด้ วยศิ ลาหรื อ
หล่อด้ วยสัมฤทธิ์ มีลกั ษณะคล้ ายกับที่พบในเกาะชวาภาคกลาง (พุทธศตวรรษที่
12 หรื อ 13 ถึง 15) มีบางท่านเสนอว่าศิลปะศรี วิชยั ทางภาคใต้ ของประเทศไทยนัน้
น่าจะเรี ยกว่า แบบราชวงศ์ ไ ศเรนทร์ ทางภาคกลางของเกาะชวามากกว่า เพราะ
ค้ นพบศิลปะ ที่เกาะชวามากกว่าที่พบบนเกาะสุมาตรา ส่วนมากสร้ างขึน้ ในพุทธ
ศาสนาลักธิมหายาน (ศิลปะแบบศรี วิชยั แท้ ๆ ในภาคใต้ ของประเทศไทยมีอายุล งมา
จนถึงกลางพุทธศตวรรษที่ 19) ศิลปะศรี วิชยั ตอนต้ นมีลกั ษณะแตกต่างกันมาก แม้ ว่า
จะอยู่ในสมัยเดียวกันแตกต่างกันที่ว่าจะได้ รับอิทธิพลมาจากที่ใด จึ งมีบางท่านเรี ยก
ศิลปะทางภาคใต้ ของประเทศไทย หรื อศิลปะทักษิณ
1.2) ศาสนาและภาษา
ประเด็น
ศาสนา
ทวารวดี
-พุทธเถรวาท
ศรี วชิ ัย
-พุทธศาสนามหายาน
ภาษา
-บาลี(ภาษาทางศาสนา)
-มอญ(ภาษาพื ้นเมือง)
-สันสกฤษ
(ภาษาทางศาสนา)
ศาสนาพุทธเถรวาท
(ง่ายกว่า)
นับถือพระพุทธเจ้ าองค์เดียว ใช้ ภาษาบาลีเขียนคัมภีร์
พุทธศาสนามหายาน
นับถือพระพุทธเจ้ าหลายองค์ ใช้ ภาษาสันสกฤตเขีย น
คัมภีร์
(ยากที่สดุ ในโลก) เชื่อว่าพระพุทธเจ้ าสร้ างโลก พระโพธิสตั ว์ คอยช่วยเหลือ
มนุษย์
2. ประติมานวิทยาในพุทธศาสนามหายาน
เทพ
พระโพธิสตั ว์อวโลกิเตศวร
(โพธิสตั ว์แห่งความกรุณา)
ชัมภละหรื อกุเวร
(เทพเจ้ าแห่งความร่ ารวย)
ลักษณะ
-พระอมิตาภะบนชฎามกุฏ
-หนังกวางบนพระอังสา(ไหล่)
-ถือพังพอน
อ้ าปาก-คายเงิน
-เตะถุงเงิน ที่วางเรี ยงกัน
รู ปที่
38-39
เทพของอินเดียเป็ นผู้ชาย เดินทางไปจีนก็เป็ นชาย และมีคนมาขอลูก เลย
เปลี่ยนเป็ นผู้หญิง (เจ้ าแม่กวนอิม)
เมตา
ให้ ผ้ อู ื่นเป็ นสุข
กรุณา
ช่วยให้ ผ้ อู ื่นพ้ นทุกข์
42
3. ประติมากรรม
สมัย
สมัย
ลักษณะที่สาคัญ
ที่
1 อิทธิพล
-สลักหิน (ส่วนมาก)
อมราวดีคปุ ตะ -มีเครื่ องประดับตกแต่งน้ อย
2 อิทธิพลปาละ- - - หล่อสาริด(ส่วนมาก)
ชวา
- มีเครื่ องประดับตกแต่งมากมาย
3 อิทธิพลขอม - พระพุทธรูปนาคปรก
ตัวอย่ าง
พระโพธิสตั ว์จาก
วัดพระบรมธาตุไชยา
พระโพธิสตั ว์ครึ่งองค์จาก
วัดพระบรมธาตุไชยา
รู ป
38
ก
39
ข,ค
พระพุทธรูปนาคปรกจาก 41
วัดเวียง อ.ไชยา
4. สถาปัตยกรรม
กลุ่ม
ลักษณะพิเศษ
อิทธิพลชวา ยอดวิมานประดับสถูปจาลอง
ตัวอย่ าง
พระบรมธาตุไชยา จ.สุราษฎร์ ธานี
รู ป
44
อิทธิพลจาม ร่องที่เสาติดผนัง
วัดแก้ ว อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ ธานี
ง
รู ปที่ 38 พระโพธิสตั ว์อวโลกิเตศวร
(โพธิสตั ว์แห่งความกรุณา)ซึง่ สลักด้ วยศิลา และค้ นพบที่อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ ธานี
รู ปที่ 39 พระโพธิสตั ว์ครึ่งองค์จากวัดพระบรมธาตุไชยา ถือว่าเป็ นโบราณวัตถุ
ที่งามที่สดุ ชิ ้นหนึง่ ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร แม้ พระธยานิพทุ ธอมิ
ตาภะปางสมาธิองค์เล็กบนศิราภรณ์ของพระโพธิสตั ว์องค์นี ้จะหักหายไปแล้ ว
แต่การที่รูปนี ้ครองหนังกวางก็อาจหมายความว่าเป็ นพระโพธิสตั ว์อวโลกิเตศวร
รู ปที่ 41 พระพุทธรู ปนาคปรกจากวัด
เวียง อ.ไชยา เป็ นของแปลกประหลาด
เพราะพระพุ ท ธรู ป ไม่ ห ล่ อ เป็ นปาง
สมาธิ แต่ทาเป็ นปางมารวิชยั ซึ่งมีน้อย
ม า ก จึ ง มี นั ก ป ร า ช ญ์ บ า ง ท่ า น
สันนิษฐานว่าพระพุทธรู ปและนาคนั น้
ไม่ได้ หล่อพร้ อมกัน เพราะเหตุว่ ารู ปนี ้
อาจถอดออกได้ เป็ น 3 ชิ ้นคือเศียรนาค
ชิน้ หนึ่ง พระพุทธรู ปชัน้ หนึ่ ง และขนด
นาคอีกชิ ้นหนึง่
พระพุทธรู ปนาคปรกแสดงให้ เห็นว่ า
- มีอิทธิพลของศิลปะขอมหรื อลพบุรีเข้ ามาปนเห็นได้ จากลักษณะเศียรนาค พระ
พักตร์ สี่เหลี่ยมของพระพุทธรูป และท่านัง่ ขัดสมาธิราบ รวมทังภาษาขอมที
้
่ใช้ ในจารึก
- อิทธพลของศิลปะศรี วิชยั ตอนปลาย ก็มีปรากฎอยู่คือ พระเกตุมาลาหรื อเมาลี
เรี ยบ ไม่มีขมวดพระเกศา มีรัศมีรูปใบโพธิ์ติดอยูด่ ้ านหน้ า ชายจีวรเป็ นริ ว้ ซ้ อนกันเหนือพระ
อังสาซ้ าย
รู ปที่ 42 รู ปท้ าวกุเวร ประติมากรรมสัมฤทธิ์ สมัยศรี วิชัยสร้ างขึน้ ใน
พุทธศาสนาลักธิมหายาน คือเป็ นรูปชัมภละ เพราะมีจารึกคาถาภาษา
สันสกฤต “เย ธรฺ มฺมา” สลักอยูด่ ้ านหลัง
ปราสาท (อาคารหลายชัน้ )
-สลับชันกั
้ น เกิดที่วา่ ง เอาอาคารเล็กๆ ไป
ใส่ระหว่างชัน้ เรี ยกว่า วิมาน
-สลับชันกั
้ น เกิดที่วา่ ง เอาอาคารจาลอง
ออกเปลี่ยนเป็ นเจดีย์แทน
-พระบรมธาตุไชยา มีเจดีย์จาลอง
เหมือนกับชวา
รู ปที่ 44 พระบรมธาตุไชยา ซึง่ มีลกั ษณะ
คล้ ายคลึงกับบรรดาเจดีย์หรื อจันทิ ที่ในเกาะ
ชวา อิทธิพลชวา ลักษณะพิเศษ ยอดวิมาน
ประดับสถูปจาลอง
พระพุทธรู ปสลักหิน อิทธิพลอมราวดี
รูป ก
พระพุทธรู ปประทับนั่งหล่ อ
สัมฤทธิ์ อิทธิพลปาละ
รูป ข
พระโพธิสัตว์ อวโลกิเตศวร
หล่ อสัมฤทธิ์อทิ ธิพลปาละชวา
รูป ค
ปราสาทวัดแก้ ว อิทธิพลจาม
รูป ง
พระพิมพ์ ศิลปะศรี วชิ ัย เป็ นอวโลกิเตศวร
- พระพิมพ์ชวา เป็ นดินเผาเพื่อให้ แข็ง
- พระพิมพ์ ศรี วิญเป็ นพระพิมพ์ ดินดิ บ(ไม่ได้
เผา)
ไม่ไ ด้ เก็บไว้ บูชาหรื อเป็ นที่ ระลึกเหมือนชวา
แต่จะนาไปไว้ ในถ ้า เหตุที่ไม้ เผาไฟ เพราะจาก
การตรวจสอบมีกระดูกคนผสมอยู่ (เหมือนใน
ทิเบต)เมื่ อพระผู้ใหญ่ ตาย จะนาไปผสมกับ
พระพิมพ์แล้ วนาไปไว้ ในถ ้าเป็ นการอุทิศส่วน
กุศล สาเหตุ ที่ชาวทิเบตไม่เผาเพราะกระดูก
ได้ เผาไฟแล้ วจึงไม่เผาอีกครัง้ หนึง่
รูป จ