3. พุทธศาสนาในทวารวดี - ศูนย์พุทธศาสนศึกษา ม.เกษตร
Download
Report
Transcript 3. พุทธศาสนาในทวารวดี - ศูนย์พุทธศาสนศึกษา ม.เกษตร
บทที่ ๓
พทุ ธศาสนาในทวารวดี
๑ . ท ว า ร ว ดี อ ยู่ ใ น ช่ ว ง
พุทธศตวรรษใดและมีชนเผ่ า
ใดอาศัยอยู่ในอาณาจักรนี?้
พศต.ที่ ๑๑ – ๑๕ มีอาณาจักรทวารวดีเกิดขึน้ และ
เป็ นที่ อ าศั ย ของมอญหรื อ ละว้ า ในแถบลุ่ ม แม่ น้ า
เจ้ าพระยา
มี ก ารพบศิ ล าจารึ ก เป็ นภาษามอญโบราณ ใน
ท้ องที่ นครปฐม ราชบุรี (ต.คูบัว) และหริ ภุญชั ย
(ลาพูน)
นอกจากนั้น ยังได้ พบศิ ลาจารึ กเป็ นภาษามอญ
โบราณซึ่งเก่ าแก่ กว่ าขอม ณ บริเวณศาลพระกาฬ
๒ . เ ร า รู้ จั ก อ า ณ า จั ก ร
ทวารวดีได้ จ ากหลักฐานใด
แ ล ะ อ ยู่ ณ บ ริ เ ว ณ ใ ด
ในปัจจุบัน?
จดหมายเหตุ ของสมณเฮี้ยนจัง (Hian
Stang)
ได้ บันทึกการธรรมจาริกสู่ อนิ เดียไว้ เมือ่ พศต.ที่ ๑๒ ว่ า
“ถัดจากทิศตะวันออกของอินเดียทางรัฐอัสสั มเหนือ
เขาใหญ่ อ อกไปมีอ าณาจั ก รชื่ อ สิ ก หลีตอล้ อ (ศรี เ กษตร
หรือพม่ าปัจจุบัน) ถัดจากนั้นไป คืออาณาจักรตุยล้ อกัวตี่ ”
*** ศ. จอร์ จ เซเดย์ สั นนิษฐานว่ า อาณาจักรทวารวดีน่ าจะ
ตั้งอยู่ระหว่ างพม่ าและขอม (ฟูหนา)
๓. อาณาจั ก รนี้ นั บ ถื อ
พทุ ธศาสนาแบบใดบ้ าง?
มีท้งั นิกายเถรวาทและนิกายมหายาน
(แต่ เถรวาทมีอทิ ธิพลมากกว่ านิกายมหายาน)
ทวารวดีรักษาพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทซึ่งแพร่ เข้ ามา
ในสมัยพระเจ้ าอโศกอย่ างเคร่ งครัด
อิ ท ธิ พ ลของพระพุ ท ธศาสนาแบบเถรวาทยุ ค ทวารวดี
ได้ แพร่ ไปไกลกว่ ายุคใด ๆ ในยุคใกล้ เคียงกัน
๔. พุ ท ธศิ ล ป์ ทวารวดีรั บ
แบบจากศิ ลปะใดของ
อิ น เ ดี ย แ ล ะ สั ง เ ก ต ไ ด้
อย่ างไร?
เป็ นศิลปะคุปตะของอินเดีย โดยมีหลักฐานทางพุทธศิลป์ ใน
สมัยนีม้ ีเหลืออยู่เป็ นจานวนมาก
นั ก โบราณคดี ส มั ย ปั จ จุ บั น ได้ พ บว่ า ศิ ล ปะยุ ค ทวารวดี มี
กระจายอยู่ทั่วไปในประเทศไทยทั้งภาคเหนือ - ใต้ และภาค
ตะวันออกเฉี ยงเหนื อ สิ่ ง เหล่ านี้ทาให้ ทราบร่ องรอยความ
เป็ นมาของพระพุทธศาสนาในยุคทวารวดีได้ ดขี นึ้
พุทธศิ ลป์ จากราชวงศ์ คุปตะ จีวรไม่ นิยมทาเป็ นริ้ วแต่ ทา
แนบพระวรกายเพือ่ แสดงถึงความรู้ สึกอารมณ์
แผ่ นดินเผาภาพภิกษุ ๓ รูป ยืนอุ้มบาตร
ครองจีวรคลุม จีวรมีลกั ษณะเป็ นริ้ ว แสดงถึงอิทธิ พลศิลปะอมราวดี
ของอิ นเดี ย สันนิ ษฐานว่า ทาขึ้นเพื่อประดับศาสนสถาน ถื อว่าเป็ น
โบราณวัตถุที่ได้รับอิทธิพลศิลปะอินเดียที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่พบในไทย
๕. หลัก ฐานศาสนวัต ถุ ที่
ทาให้ นักโบราณคดีเชื่ อว่ า
เป็ นทวารวดีมีอะไรบ้ าง?
หลักฐานทางศาสนวัตถุโบราณแห่ งพระพุทธศาสนาที่สาคัญ ๆ ได้ แก่
พระพิ ม พ์ พบบริ เ วณเมื อ งอู่ ท องเก่ า นครปฐม นครชั ย ศรี ราชบุ รี
(บริเวณนีเ้ ป็ นศูนย์ กลางแห่ งอาณาจักรนีม้ าก่อน)
พระพุ ท ธรู ป เสมาธรรมจั ก รท าด้ ว ยศิ ล าในเมื อ งกนกนคร
ใบเสมาหิน พบทางภาคอีสานทั่วไป
สถูปทีว่ ดั กู่กดุ ที่เมืองลาพูน ซากสถูปที่วดั พระเมรุ
(อยุธยา) ตรงกับอนันทเจดีย์ของพม่ าทีพ่ กุ าม
พระพุทธรู ปศิลาห้ อยพระบาทขนาดใหญ่ กว่ า
คนจริง มี ๔ องค์
อยู่ทนี่ ครปฐม ๑ องค์
อยู่ทอี่ ยุธยา
๓ องค์
(พระพุท ธรู ป ปางพระวรมุ ทระซึ่ ง ใหญ่ กว่ า
คน ปัจจุบันอยู่ทพี่ พิ ธิ ภัณฑ์ สถานแห่ งชาติ )
พระพุ ท ธรู ปศิ ลา (ศิ ล าเขี ยว) ประทั บ นั่ ง ห้ อ ยพระบาท พระนามว่ า
“ พระคันธารราฐ ” ณ วัดหน้าพระเมรุ พระพุทธรู ปองค์น้ ี เป็ นพระพุทธรู ปศิลา
ประทับนัง่ ห้อยพระบาทที่ใหญ่และสมบูรณ์ที่สุดในปั จจุบนั
พระ พุ ท ธ รู ปปา งคั น ธ า รรา ฐ ศิ ล ปะ ท วา รว ดี
(วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร จ.นครปฐม )
พบศิลาจารึ กคาถา เย ธมฺ มา ฯลฯ อยูใ่ ต้ฐานพระพุทธรู ป
ในถ้ าฤๅษีเขางู วัดเขางู ตาบลเจดียห์ ัก อาเภอเมือง จังหวัด
ราชบุ รี ขนาดกว้า ง ๔๗ ซม. สู ง ๒๖ ซม. ไม่ ป รากฏ
หลักฐานสร้าง ซึ่งเป็ นภาษาบาลีอกั ษรคฤนถ์
คำจำรึก
เย ธมฺมำ เหตุปฺปภวำ
เยส เหตุ ตถำคโต อำห
เตสญจ โย นิโรโธ จ
เอว วำที มหำสมโณติฯ
คำแปล
ธ ร ร ม เ ห ล่ ำ ใ ด มี เ ห ตุ เ ป็ น แ ด น เ กิ ด ก่ อ น
พระตถำคตเจ้ ำ ตรั ส เหตุ แ ละควำมดั บ ของธรรม
ทั้ งหลำยเหล่ ำนั้ น พระมหำสมณะเจ้ ำมี ป กติ
ตรัสอย่ ำงนีฯ้
๖. พทุ ธศาสนาเถรวาทใน
ยุ ค นี้ ไ ด้ ไปสู่ ทางเหนื อ
จากการน าของใครและ
บุคคลนีส้ ื บเชื้อสายใด?
ในพุทธศตวรรษที่ ๑๒ พระพุทธศาสนา
แบบเถรวาทได้ แ ผ่ ขึ้น ไปทางภาคเหนื อ
ของไทยปัจจุบัน
โดยการนาของพระนางจามเทวี ผู้ เป็ น
ธิดาแห่ งละโว้ (ลพบุรี) ซึ่งได้ รับเชิญจาก
ประชาชนชาวมอญฝ่ ายเหนือให้ ไปครอง
หริภุญชัย (ลาพูน)
๗. พระเครื่ องชื่ อว่ าอะไรที่
ได้ เกิ ด ขึ้ น ในยุ ค นี้ กรุ วั ด
อะไรและจัดอยู่ ในชุดราชา
พระเครื่องชื่อว่ าอะไร?
• พระเครื่องสกุลลาพูน ที่เรียกว่ า พระรอด กรุ วัดมหาวัน
เป็ นหนึ่งในเบญจภาคีทมี่ อี ายุมากทีส่ ุ ดใน ๕ องค์
• เป็ นศิ ล ปะทวารวดี - ศรี วิ ชั ย เป็ นพระดิ น เผาทั้ ง สิ้ น
มีด้วยกันทั้งหมด ๖ พิมพ์ คือ
- พระรอดพิมพ์ใหญ่
- พระรอดพิมพ์กลาง
- พระรอดพิมพ์เล็ก
- พระรอดพิมพ์ต้อ
- พระรอดพิมพ์ตนื้
- พระรอดพิมพ์บ่วงเงินบ่ วงทอง (หายากทีส่ ุ ด )
๘ . นั ก วิ ช า ก า ร ไ ด้ แ ส ด ง
เอกลัก ษณ์ ถึ ง ความเชี่ ย วชาญ
ในเรื่ อ งพระพุ ท ธศาสนาของ
คน ๓ ชาติ คือมอญ ไทย พม่ า
ไว้ อย่ างไร?
“มอญวินัย ไทยพระสู ตร พม่ ำอภิธรรม”
- พวกมอญเคร่ งครั ดในพระวินัยมำกจน
วชิ รญำณภิกษุ (รั ชกำลที่ ๔) มำขอบวชใหม่ ใน
นิกำยนี้ ชำนำญในพระวินัยปิ ฎก
- ส่ วนพระไทยจะมีค วำมชำนำญเก่ ง ใน
เรื่องพระสุ ตตันตปิ ฎกมำก
- ส่ วนพระพม่ ำ จะมี ค วำมเชี่ ย วชำญใน
เรื่องพระอภิธรรมมำก เก่งในเรื่องอภิธรรมปิ ฎก
๙. ทาไมหลักฐานทางโบราณคดี
เกี่ ย วกั บ ทวารวดี จึ ง มี ม ากกว่ า
สุว รรณภู มิใ นยุ ค แรกและฟู ห นา
ในยุคต่ อมา?
เพราะเป็ นชนชาติ ที่ มี ค วาม
เจริ ญ ในทุ ก ๆ ด้ า นจึ ง ท าให้ มี
ห ลั ก ฐ า น ข้ อ มู ล ค ร บ ถ้ ว น
มากกว่ าสุวรรณภุมิและฟูหนาที่
มีแค่ เพียงจดหมายเหตุเท่ านั้น
๑ ๐ . ท า ไ มพุ ท ธ ศา ส น า ใน ยุ ค
ทวารวดี จึ ง หยั่ ง รากลึ ก ลงไปใน
วั ฒ นธรรมไทย และก่ อให้ เกิ ด
ประเพณี อ ะไรบ้ า งแก่ ค นในยุ ค นี้
สื บทอดมาถึงปัจจุบัน ?
ยุคนี้ศาสนาพุทธเข้ าไปถึงรั ฐและ
ป ร ะ ช า ช น มี ก า ร ส ร้ า ง วั ด เ ป็ น
ศูนย์ กลางชุมชน เกิดประเพณีการบวช
การเผาศพมาแทนที่การฝังศพ เป็ นต้ น