พุทธศาสนากับสิ่งแวดล้อม Buddhism and Environment

Download Report

Transcript พุทธศาสนากับสิ่งแวดล้อม Buddhism and Environment

พุทธศาสนากับสิ่งแวดล้ อม
Buddhism and Environment
01388222
หมู่ 2
ดร.ธีรัตม์ แสงแก้ ว
ผู้บรรยาย
เกณฑ์ การประเมินผล
1. คะแนนเก็บ
- การมีส่วนร่ วมกิจกรรมในห้องเรี ยน
- นาเสนอโครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
2. สอบปลายภาค
รวม
30
15
15
70
100
คะแนน
คะแนน
คะแนน
คะแนน
คะแนน
เนือ้ หารายวิชา
1. ลักษณะทัว่ ไปของพุทธศาสนาและสิ่ งแวดล้ อม
2. ปัญหาสิ่ งแวดล้ อมและการแก้ ไขปัญหาปัจจุบัน
3. พุทธศาสนากับป่ าไม้
4. พุทธศาสนากับสั ตว์
5. พุทธศาสนากับการอนุรักษ์ นา้
6. ปรัชญาสิ่ งแวดล้ อมในพุทธศาสนา
7. หลักการแก้ ไขปัญหาและการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อมในพุทธศาสนา
8. พระสงฆ์ กบั การอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อม
ทัศนะของมนุษย์ที่มีต่อธรรมชาติ 4 รูปแบบบ
1. ยึดมนุษย์เปแ็ นศูนย์กลาง (Anthropocentric)
2. มนุษย์กบั ธรรมชาติเปแ็ นเพื่อนกัน : จริยศาสตร์ทาง
ศาสนาตะวันออก (Eastern Religious Ethics)
3. มนุษย์กบั ธรรมชาติมีความสัมพันธ์กนั เชิงนิเวศ :
หลักนิเวศปแรัชญา เน้ นการมององค์รวม (Holistic
Approach)
4. มนุษย์ไม่ควรกระทาการรุนบรงต่อธรรมชาติ :
ธรรมชาตินิยม (Naturalism)
1. มนุษย์เปแ็ นศูนย์กลาง (Anthropocentric)
• มนุษย์เป็ นนายของธรรมชาติ ธรรมชาติเป็ นทาสซึง่ ไม่มี
ค่าในตนเอง ถ้าหากว่าธรรมชาตินนั ้ ไม่ถกู นามารับใช้
มนุษย์
• มนุ ษย์มสี ทิ ธิ ์ครอบครองเพือ่ พิชติ และศึกษาได้อย่าง
เสรีภาพ (การฆ่าสัตว์ไม่บาปเพราะสัตว์ไม่มคี วามรูส้ กึ
อย่างทีม่ นุษย์ม)ี
• ยุคโบราณ อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติในลักษณะเทพนิยาย
• ยุคกรีก อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติในลักษณะกฎเกณฑ์
ธรรมชาติ
• ยุคกลาง : นักเทววิทยาศาสนาคริสต์ พระเจ้าสร้าง
ธรรมชาติเพือ่ มนุษย์ มนุษย์เป็ นนายธรรมชาติ ดังข้อความใน
พระคัมภีรไ์ บเบิลว่า “เราสร้างมนุษย์ตามฉายาของเรา ให้
ครอบครองฝูงปลาในทะเล ฝูงนกในอากาศ และฝูงสัตว์บน
แผ่นดิน” (พระคริสตธรรมคัมภีร์ : ปฐมกาล) โลกนี้เป็ นเพียง
ทางผ่านเพือ่ ไปสูอ่ าณาจักรพระเจ้า
• ยุคใหม่ : เน้นวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ ความรูท้ เ่ี ป็ น
วิทยาศาสตร์สามารถนาไปใช้เพือ่ ทาให้เราเป็ นนายและ
เจ้าของธรรมชาติได้
- แนวคิดพิชติ ธรรมชาติ (The Conquest of Nature)
- เปลีย่ นจากการแสวงหาสัจจธรรมมาแสวงหา
ทรัพย์สนิ และสิง่ อานวยความสะดวกอย่างไม่จากัด
2. จริยศาสตร์ทางศาสนาตะวันออก
(Eastern Religious Ethics)
• ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู : ศาสนาธรรมชาติ เพราะน้อมตาม
ธรรมชาติ ผูท้ ต่ี อ้ งการบรรลุเป้าหมายสูงสุดต้องปฏิบตั ติ นอยู่
ท่ามกลางธรรมชาติ
• มหาตมะ คานธี : “ธรรมชาตินนั ้ เพียงพอทีจ่ ะเลีย้ งดูทุกชีวติ
แต่ไม่มสี งิ่ ใดเพียงพอทีจ่ ะสนองความละโมบของคนแม้เพียง
คนเดียวได้” และ “มนุษย์จะต้องใช้ชวี ติ อย่างกลมกลืนกับ
ธรรมชาติหากไม่ตอ้ งการเดินไปสูห่ ายนะภัย”
พระแม่ตุลสิ (Tulsi)
Offering water to Tulsi
Holy Frog
บูชากบเป็ นสัตว์ศกั ดิ์สทิ ธิ์
เป็ นสัตว์ที่บนั ดาลให้ ฝนนตก
• พระพุทธศาสนา (Buddhism) : สรรพสิง่ ต้องอาศัยและกัน
เพือ่ การดารงอยู่ ความเปลีย่ นแปลงในจุดใดจุดหนึ่งย่อมมีผล
ต่อภาพรวมทัง้ หมด ความสัมพันธ์ทางศีลธรรมหยังโยงไปสู
่
่
สรรพสิง่ ทัวสากล
่
เป้าหมายเพือ่ ความหลุดพ้นและหนึง่
เดียวกับธรรมชาติ
• เล่าจือ้ : มนุษย์มธี รรมชาติทด่ี ใี นตัวเอง ต้องปล่อยให้พฒ
ั นา
ตนเองโดยเสรีตามธรรมชาติ
3. หลักนิเวศปแรัชญา : เน้ นการมององค์รวม
(Holistic Approach)
• การมองธรรมชาติเป็ นองค์รวม เน้นระบบความสัมพันธ์
ของสรรพสิง่ อธิบายธรรมชาติเชิงนิเวศวิทยา ไม่มอง
แยกส่วนแก้ปญั หาเฉพาะจุดใดจุดหนึ่ง
• มนุษย์เป็ นส่วนหนึ่งของโลกธรรมชาติ (ระบบห่วงโซ่
อาหาร)
4. ธรรมชาตินิยม (Naturalism)
• ทัศนะทีต่ ่อต้านการทดลองและวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์
เช่น นายฟูกโู อกะชาวญีป่ นุ่ “ธรรมชาติทถ่ี ูกรับรูโ้ ดย
อาศัยความรูท้ างวิทยาศาสตร์ เป็ นธรรมชาติทถ่ี ูก
ทาลายไปแล้ว เปรียบเหมือนโครงกระดูก แต่ปราศจาก
วิญญาณ” ให้ความสาคัญกับการทดลองแบบไม่กระทา
คือ ไม่กระทาการทีร่ ุนแรงต่อธรรมชาติ
• การทาเกษตรกรรมธรรมชาติ (แบบดัง้ เดิม)
ความสั มพันธ์ ระหว่ างมนุษย์ กบั ธรรมชาติ
การก้าวสูว่ ถิ ชี วี ติ แบบเรียบง่าย
• ตระหนักถึงคุณค่าของธรรมชาติและปฏิบตั ติ น
สอดคล้องกับธรรมชาติ
• ไม่ถกู ครอบงาโดยกระแสบริโภคนิยม
(Consumerism)
• การบริโภคด้วยตัณหาทีไ่ ม่มวี นั เพียงพอ (How
much is enough)
บทที่ 1
ลักษณะทัว่ ไปของพุทธศาสนาและสิ่ งแวดล้ อม
• ท่าทีพระพุทธศาสนาต่อสิ่ งแวดล้อมทาง
ธรรมชาติ
- เป้ าหมายของพุทธศาสนา ...การกาจัดทุกข์
- พุทธประวัติ ...เกี่ยวข้องกับป่ าเป็ นส่ วนมาก
ปรัชญาพืน้ ฐาน
จุดเริม่ ต้น
สูจ่ ุดหมาย
การดารงชีวติ ของมนุ ษย์ มีความขัดข้องปรวนแปร ต้องเผชิญ
กับความทุกข์อ ย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่ว่าจะต้องการหรือ ไม่
ต้องการ ยอมรับว่ามันมีอยูห่ รือไม่ยอมรับก็ตาม
พุทธปแระวัติ
เสียงกระซิบจากความว่าง
การทางานด้ วยจิตว่าง
พทุ ธศาสนากับการอธิบาย
กาเนิดโลกและจักรวาล
โลกธาตุ
จุลนีสูตร
สั งสารวัฏ
มีจุดเริ่มต้ นและทีส่ ุ ดอันใคร ๆ ตามไปอยู่ร้ ู ไม่ ได้
มนุษย์ สัตว์ ธรรมชาติ
ธรรมชาติในฐานะเป็ นธรรมะ
- ธาตุ
- ขันธ์
ความสั มพันธ์ ระหว่ างมนุษย์ กบั ธรรมชาติ
พทุ ธจริยธรรมเกีย่ วกับสภาวะแวดล้ อม
สรรพสิ่งล้ วนเป็ นมิตรกัน และมิตรไม่ ควรทาลายมิตร
คุณค่ าของสภาวะแวดล้ อม
การสร้ างดุลยภาพต่ อสภาวะสิ่ งแวดล้อม
สรรพสิ่งอิงอาศัยซึ่งกันและกัน
ธรรมชาติเป็ นเพื่อนที่ซ่ ือสัตย์ ท่ ีสุด
ความเป็ นเพือ่ นต่ อสิ่ งแวดล้ อม