week4_db42 - WordPress.com

Download Report

Transcript week4_db42 - WordPress.com

สัปดาห์ ท่ ี 4 : ศิลปะทวารวดี (ประติมากรรมอื่นๆ-สถาปั ตยกรรม)
3. ประติมากรรมอื่นๆ
ประติมากรรม รูป แหล่ ง
ที่พบ
รูปแบบ
ความหมาย
Function
ที่มา
ธรรมจักรบน
เสาในศิลปะ
อินเดีย
โบราณ
ธรรมจักร
17 เฉพาะ - ล้ อรถ
พบพร้ อม
ทีภ่ าค - กงล้ อสักเป็ นลาย
กวางหมอบเสมอ
กลาง ประจายามก้ ามปู
 ปฐมเทศนา
(อิทธิพลศิลปะคุปตะ)
ใช้ ตงไว้
ั ้ บน
เสาสาหรับ
บอก
ศาสนา
ใบเสมา
23 เฉพาะ -ใบเสมาสลักเป็ น
ทีภ่ าค รูปพุทธประวัติ
อีสาน
ปั กกาหนด หินตัง้
เขต
สมัยก่อน
ศักดิ์สทิ ธิ์ ประวัติศาส
ตร์ ใน
ภาคอีสาน
-
รูปที่ 17 ประติมากรรมในศิลปะสมัยทวารวดีนี ้ยังค้ นพบ
ศิลาหลักรูปธรรมจักรและกวางหมอบ รูปเหล่านี ้แสดงถึง
พระพุทธองค์ปางประทานปฐมเทศนา ณ อิสิปตมฤคทาย
วัน เมืองพาราณสี พบที่พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม
ศิลปะะะทวารวดี พุทธศตวรรษที่ 13-14 ใช้ ตงไว้
ั ้ บนเสา
สาหรับบอกศาสนา
รูปที่ 17
รูปที่ 23
รูปที่ 23 ใบเสมาสลักเป็ นรูปพุทธประวัติพบเฉพาะที่ภาคอีสาน ใช้ ปักกาหนดเขต
ศักดิ์สิทธิ์ เป็ นหินตังสมั
้ ยก่อนประวัติศาสตร์ ในภาคอีสาน
4. สถาปั ตยกรรม
เจดีย์ในศิลปะทวารวดีเทคนิคการก่อสร้ างไม่ดี(อิฐเผาไม่สกุ ทัว่ ทังก่
้ อน+
ก่อสร้ างโดยใช้ แกนดินตรงกลาง)เจดีย์ทวารวดีจงึ พังทลายหมดเหลือแต่ฐาน
4.1) ฐาน
รูป
แผนผัง
ยกเก็จ
28
ฐาน
ประดับด้ วยภาพปูนปั น้ /ดินเผา เล่าเรื่ องชาดก
24
รูปที่ 28 เจดีย์ซงึ่ มีฐาน 8 เหลี่ยม ขุดค้ นพบที่เมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
ซึง่ การขุดพบนี ้แสดงให้ เห็นว่าศิลปะศรี วิชยั จากภาคใต้ ของประเทศไทยได้
แผ่ขึ ้นมายังภาคกลาง และได้ เลยไปยังภาคตะวันออกของประเทศไทยใน
ราวศตวรรษที่ 13 แต่ก็คงเป็ นการเผยแพร่ของพุทธศานาลักธิมหายานยิ่ง
กว่าการเผยแพร่ทางด้ านการเมือง
รูปที่ 24 ฐานประดับด้ วยภาพปูนปั น้ /ดินเผา เล่าเรื่ องชาดก
4.2) องค์ระฆังและยอด
เจดีย์ในศิลปะทวารวดีพังหมดเหลือแต่ฐานต้ องศึกษา “องค์ระฆัง” และ
“ยอด” จากเจดีย์จาลอง
ชื่อตัวอย่าง
รูปจาลอง
พระปฐมเจดีย์
องค์เดิม
รูป
ลักษณะ
18 - องค์ระฆังทรงโอคว่า
ขนาดใหญ่
เจดีย์จาก
นครปฐม
27
แสดงอิทธิพล
หมายเหตุ
อินเดียโบราณ- - องค์จาลองนี ้
อมราวดี
สร้ างขึ ้นในสมัย
ร.4 เพื่อให้ ร้ ูถึง
รูปทรงเดิม
ก่อนที่จะมีการ
สร้ างครอบประ
ปฐมเจดีย์องค์
ปั จจุบนั
- องค์ระฆังขนาดเล็ก คุปตะ
- ฉัตรเป็ นแผ่น ซ้ อนขึ ้น
ไปเป็ นทรงกรวย
รูปที่ 18
- องค์ระฆังทรงโอคว่าขนาดใหญ่
- อินเดียโบราณ-อมราวดี
- องค์จาลองนี ้ สร้ างขึ ้นในสมัย ร.4
รูปที่ 18 รูปพระปฐมเจดีย์องค์เดิม ซึง่ บัดนี ้ได้ มีการจาลองให้ เห็นอยู่
ด้ านใต้ ของพระปฐมเจดีย์นนั ้ ถ้ ายกเอาองค์พระปรางค์ที่ อยู่ข้างบน
ออก จะเห็นชัดว่ามีเค้ าเดิมคล้ ายพระสถูปที่สาญจีทางภาคเหนือ
ของประเทศอินเดีย ซึง่ สร้ างหลังสมัยพระเจ้ าอโศกเล็กน้ อย
รูปพระปฐมเจดีย์
รูปที่ 27
- องค์ระฆังขนาดเล็ก
- ฉัตรเป็ นแผ่น ซ้ อนขึ ้นไปเป็ นทรงกรวย
- แสดงอิทธิพลคุปตะ
1. ความรู้เบือ้ งต้ นเกี่ยวกับเทวรูปรุ่ นเก่ า
1.1) สาเหตุที่แยกเทวรูปรุ่นเก่ามีทงภาคกลางและภาคใต้
ั้
แต่พระ
พักตร์
ไม่เป็ นแบบพื ้นเมืองทวารวดี
1.2) เทวรูปรุ่นเก่ามี 2 สกุลช่าง คือ
สกุลช่ าง
ลักษณะ
อิทธิพล
สกุลช่างภาคใต้ - นุ่งโธฏียาว
ภาคตะวันออก
อินเดีย
สกุลช่างศรี เทพ นุ่งสมพตสัน้
ขอม
รูป
31-34
2. ประติมานวิทยา
เทพ
รูป
พระเศียร
ของถือ
ผ้ านุ่ง
ลักษณะอื่นๆ
พระวิษณุ 31-34 4 กรจักร,สังข์,ค กีรีฏมกุฏ
ฑา,ธรณี
โธฏีหรื อ
สมพต
-
พระสูรยะ
35
2 กรดอกบัว 2
ดอก(ยกขึ ้นระดับ
กีรีฏมกุฏ+
ประภา
มณฑล
ชุดเซ็ก
-
พระอรรธ
นารี ศวร
36
-
-
นุ่งสันข้
้ าง
ยาวข้ าง
มีหน้ าอกข้ าง
หนึง่
3. เทวรูปรุ่ นเก่ าสกุลช่ างภาคใต้ -ภาคตะวันออก
ตัวอย่ าง
รุ่ น
พระวิษณุจาก
รุ่นแรก
วัดศาลาทึง อ.ไชยา (พศว.9-10)
พระวิษณุจาก
เขาศรี วิชยั และ
จากปราจีนบุรี
พระวิษณุจาก
ตะกัว่ ป่ า
อิทธิพล
มงกุฎ
ของถือ
มถุรา-อมราวดี กีรีฏมกุฎ สังข์ =
มีลวดลาย ซ้ ายล่าง
กระบอง=
ขวาบน
รุ่นที่ 2
32-33 อินเดียใต้
กีรีฏมกุฎ สังข์ =
(พศว.12-13)
สมัยที่ 4
เรี ยบ
ซ้ ายบน
จักร=ขวา
บน
รุ่นสุดท้ าย
34 พัฒนาเป็ น
กีรีฏมกุฎ สังข์ =
(พศว.14-15)
แบบของ
เรี ยบ
ขวาบน
ตนเอง
กระบอง=
ซ้ ายล่าง
รูป
31
ผ้ านุ่ง
โธฏี+
ผ้ าคาด
โธฏี+
ผ้ าคาด
โธฏี แต่ไม่
มีผ้าคาด
เทวรู ป ที่ เ ก่ า ที่ สุด ในประเทศไทยหรื อ ภาคเอเชี ย
อาคเนย์ เป็ นเทวรู ป ที่ ค้ นพบทางภาคใต้ ของ
ประเทศไทย เช่นเทวรู ปพระนารายณ์ ศิลาค้ นพบที่
อ าเภอไชยา จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธานี สู ง 69 ซม.
ปั จจุบัน อยู่ใ นพิ พิ ธ ภัณ ฑสถานแห่ ง ชาติ พระนคร
เทวรูปองค์นี ้มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 9-10 แสดง
ให้ เห็นถึงอิทธิ พลของศิลปะอินเดียสมัยมถุ ราและ
อมราวดี โดยเฉพาะการถื อ สัง ข์ ใ นหัต ถ์ ซ้ า ยล่ า ง
และหัตถ์ขวาล่าง แสดงปางประทานอภัย
รูปที่ 31
เทวรูปที่ค้นพบทางภาคใต้ ของไทยในเขตจังหวัดสุราษฎร์ ธานี และภาคตะวันออกในแถบ
ดงศรี มหาโพธิ์ จังหวัดปราจีนบุรี มีอายุตงแต่
ั ้ พทุ ธศตวรรษที่ 12 ลงมาส่วนใหญ่เป็ นเทวรูป
พระนารายณ์ 4 กร ทรงถือจักร (ในพระหัตถ์บนขวา)
ทรงถือสังข์ (ในพระหัตถ์ซ้ายบน)
ทรงถือ คทา (ในพระหัตถ์ซ้ายล่าง)
ทรงถือธรณีหรื อดอกบัว (ในพระหัตถ์ขวาล่าง)
สวมหมวกทรงกระบอกนุ่งผ้ ายาวคล้ ายผ้ าโสร่งมีจีบด้ านหน้ า
เทวรูปเหล่านี ้แบ่งออกเป็ น 2 หมู่
หมู่คาดผ้ าเฉียง (รูปที่ 32)
หมู่คาดผ้ าตรง(รูปที่ 33)
วิธีดูพระวิษณุ มี 2 กลุ่ม
1.รุ่นเก่า มือขาบนเกาะกระบอง ซ้ ายล่างถือสังข์
2. รุ่นที่ 2 มือขวาบนถือสังข์ มือซ้ ายล่างถือกระบอง
รูปที่ 32
รูปที่ 33
พระวิษณุจากเขาศรี วิชยั และจากปราจีนบุรี อิทธิพลอินเดียใต้ สมัยที่ 4 มงกุฎกีรีฏมกุฎเรี ยบ
ถือของสังข์ = ซ้ ายบน จักร=ขวาบน โธฏี+ผ้ าคาดเป็ นเทวรูปสกุลช่างภาคใต้ -ภาคตะวันออก
เหตุแห่ งการถือของสาคัญ 4 อย่ างของพระวิษณุ
- ทาไมพระวิษณุต้องถือจักร เพราะว่าพระวิษณุเคยเป็ น
เทพแสงอาทิตย์ มาก่อน ซึ่งจักรเป็ นสัญลักษณ์ แห่ง
แสงอาทิตย์
- ทาไมพระวิษณุต้องถือก้ อนหิน เพราะว่าพระวิษณุเคย
เป็ นผู้กอบกู้โลก เพระช่วยเหลือแผ่นดินจากอสูรซึ่งม้ วน
แผ่นดินลงไปซ่อนในน ้า
- ทาไมพระวิษณุต้องถือกระบอง เพราะว่าพอโลก
เดือดร้ อนพระวิษณุก็จะอวตาลลงมาปราบอสูรเพื่ อลง
ทัณฑ์ (แปลว่า กระบอง)
-ทาไมพระวิษณุต้องถือสังข์ เพราะว่าพระวิษณุได้ นา
คัมภีร์พระเวศที่อสูรซ่อนไว้ ในห้ อยสังข์ออกมา
เทวรู ปพระนารายณ์ 4 กร แต่ ไ ม่ คาดผ้า มี แต่ เ ข็มขัด
คาดอยู่ส่ ว นบนของผ้าทรงแบบผ้าโสร่ ง พระอุ ระผึ่ง
ผาย และพระหัตถ์ไม่ ติด ลาพระองค์ มี อายุอ ยู่ในราว
พุทธศตวรรษที่ 13-14 ค้นพบที่อาเภอตะกัว่ ป่ า จังหวัด
พังงา ทางภาคใต้ของประเทศไทย
รูปที่ 34
เทวรู ปพระนารายณ์ สวมหมวก 8 เหลี่ยม
ย่อสูงเป็ นชัน้ ๆ และทรงโจงกระเบนสัน้ เป็ น
รู ป พระกฤษณะและพระอาทิ ต ย์ ค้ น พบที่
เมืองศรี เทพ จังหวัดเพชรบูรณ์
รูปที่ 35