ความหลากหลาย

Download Report

Transcript ความหลากหลาย

เศรษฐศาสตร์ กลางทะเลลึก
อานาจของภาษา
ชู ศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์
25 พ.ค. 2552
“เศรษฐศาสตร์ กลางทะเลลึก”
ของ อาจินต์ ปัญจพรรค์ 2490
เดิมชื่อ “ในทะเลมีเศรษฐศาสตร์ ”
อิงอร ได้ แนะนาให้ เปลีย่ นชื่อเป็ น
“เศรษฐศาสตร์ กลางทะเลลึก”
ตีพมิ พ์ในนิตยสารพิมพ์ไทยวันจันทร์ 2492
* การแลกเปลีย่ นเชิงสั ญลักษณ์ symbolic
exchange
* มูลค่ าเชิงแลกเปลีย่ น exchange value
* มูลค่ าเชิงสั ญญะ sign exchange value
“ภาษาเป็ นกระบวนการ ‘นิติบัญญัต’ิ ชนิดหนึ่ง ที่เรา
มักมองไม่ เห็นมิติแห่ งอานาจในภาษาเป็ นเพราะเราไม่
ตระหนักว่ า ภาษาเป็ นตัวบงการการจัดแบ่ งประเภท
สิ่ งของต่ างๆ ในโลก […] หาใช่ เพียงการสื่ อสารอย่ างที่
ใครๆ มักพูดกัน หากยังเป็ นการมุ่งบังคับให้ จายอม . . .
ภาษามีความเป็ นฟาสซิสต์ อยู่ในตัวมันเอง”
โรล็องด์ บาร์ ตส์ “ปฐมบทบรรยายวันเข้ ารับตาแหน่ งศาสตราจารย์ ด้านสั ญวิทยา
วรรณกรรมประจาวิทยาลัยแห่ งฝรั่งเศส” แปลโดย นพพร ประชากุล
ภาษา กับ ความจริง
ภาษา ถ่ ายทอด ความจริง
ภาษาเป็ นเครื่องมือสื่ อสาร ความจริงดารงอยู่นอกเหนือภาษา
ภาษาสร้ างความจริง
ภาษาเป็ นคุกขังความคิดมนุษย์
prison-house of language
การเรียกสมาชิกในครอบครัว
X
Y
พี่
Brother
น้ อง
Sister
ภาษากับอานาจ
1. นามนั้นสาคัญไฉน
(what’s in the name)
2. โวหารกับชีวติ
(metaphors we live by)
3. เรื่องเล่ า และเรื่องเล่ าแม่ บท
(narrative and metanarrative)
นามนั้นสาคัญไฉน
“นามนั้นสาคัญไฉน? ทีเ่ ราเรียกกุหลาบนั้น
แม้ เรียกว่ าอย่ างอืน่ ก็หอมรื่นอยู่เหมือนกัน”
โรเมโอจเู ลียต
“One man's terrorist, another man’s freedom
fighter.”
White Noise (1984) ของ Don DeLillo
A featherly plume
A black billowing cloud
Airborne Toxic Event
Cloud of Deadly Chemicals
Nyodene D (Derivative)
2546
โรคไข้ หวัดนรก ไข้ หวัดนก H5N1
ไข้ หวัดมรณะ โรคSARS
โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง
2552
โรคไข้ หวัดเม็กซิโก โรคไข้ หวัดหมู ไข้ หวัด
ใหญ่ สายพันธ์ ใหม่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น 1
การเมืองของการบัญญัติศัพท์
economics
“ทรัพยศาสตร์ ” พระยาสุ ริยานุวตั ร (2454) ถูกแบนในสมัยร. 6
“คหนิติศาสตร์ ” พระนราธิปประพันธ์ พงศ์ ถอดคาแปลมาจากราก
ศัพท์ เดิม oikos (house) nomos (custom, law)
“เศรษฐี ” (capitalist) “เศรษฐวิทยา” (political economy) บัญญัติ
โดยร. 6 เป็ นที่มาของ “เศรษฐการ” และ “เศรษฐกิจ” เพราะพากัน
ใช้ ตามพระราชนิยม
“โภคศาสตร์ ” “โภคกิจ” ท่ านวรรณไวทยากร
“Metaphors we live and die by”
Illness as a metaphor
Fitness as a metaphor
สามัคคีคอื พลัง
เรื่องเล่ า และเรื่องเล่ าแม่ บท
เรื่องเล่ า ในฐานะเรื่องจริง
ชีวประวัติ ประวัติศาสตร์ รายงานข่ าว
เรื่องเล่ า ในฐานะเรื่องแต่ ง
นิทาน ตานานพืน้ บ้ าน นวนิยาย
หยุด
ทาร้ าย
ประเทศไทย
หนังสื อพิมพ์ลงข่ าวคืบหน้ าเกีย่ วกับการอับปางของเรือเดิน
สมุทรลานั้นว่ า
“...ต่ อมาในวันที่ห้า มีเรือบดลาเล็กลอยเข้ ามาใกล้ ฝั่ง
ชาวประมงช่ วยกันออกไปรับเข้ ามา และได้ พบว่ ามีบุคคล
สิ้นชีวติ แล้ วสองศพอยู่ในเรือนั้น สั นนิษฐานว่ า คนหนึ่งเป็ น
พ่อค้ าใหญ่ ที่โดยสารไปในเรือเที่ยวนั้น เพราะมีนาฬิ กา แหวน
กระเป๋ าธนบัตรใบใหญ่ มีนามบัตรและเอกสารต่ างๆ อีกคน
หนึ่งมีเพียงเสื้อยืดกับกางเกงติดกาย เข้ าใจว่ าคงเป็ นคนรับใช้
หรือกุ๊กประจาเรือ”
“อานาจมืดทีน่ ่ ากลัวอย่ างแท้ จริงนั้นอยู่รอบๆ และในตัวเราๆ
ท่ านๆ นี่ต่างหาก มันซึมซ่ านอยู่อย่ างสงบเสงีย่ มเงียบเชียบ
ไม่ กระโตกกระตาก ไม่ มีหัวไม่ มีหาง และมองไม่ เห็นว่ าใคร
เป็ นผู้กระทา ใครเป็ นผู้ถูกกระทา มันคืออานาจของมายาคติ
ทั้งหลายซึ่งประกอบกันเข้ าเป็ นโลกทัศน์ ชีวทัศน์ มนุษยทัศน์
อันคุ้นชินของเรา โดยเราไม่ เคยระแวงสงสั ยเลยว่ าการ
ประทุษกรรมต่ อชีวติ อาชญากรรมทางการเมือง ทาง
สติปัญญา ทางสุ นทรียะจานวนเท่ าใดแล้ วบ้ างทีไ่ ด้ ถูกกระทา
ขึน้ ในนามของมัน”
นพพร ประชากุล คานาเสนอใน เชิงอรรถวัฒนธรรม
ขอบคุณ