หน่วยที่ 8 การใช้โปรแกรมซิมมิวเลชั่นในงานกลึง

Download Report

Transcript หน่วยที่ 8 การใช้โปรแกรมซิมมิวเลชั่นในงานกลึง

หน่ วยที่ 8
การใช้ โปรแกรมซิมมิวเลชั่นในงานกลึง
***********************************
สาระสาคัญ
โปรแกรมซิมมิวเลชั่น (Simulation) สาหรับงานกลึง สามารถ
ตั้งงาน เลือกการจาลองในการใช้ ทูล สามารถตั้งค่ าตาแหน่ งต่ างๆ ของการ
ปฏิบัตกิ ารและควบคุมโปรแกรม การป้ อนโปรแกรมทดสอบและแก้ ไข
โปรแกรมสามารถปฏิบัติงานได้ โดยการใช้ คาสั่ ง เมนู และปุ่ มควบคุม
ต่ างๆ การตั้งค่ า (Setup) โปรแกรมให้ แสดงผลในการซิมมิวเลชั่นได้ อย่ าง
ถูกต้ องพร้ อมกับแสดงภาพเสมือนจริง
สาระการเรียนรู้
1. การใช้ โปรแกรมซิมมิวเลชั่นในงานกลึง
2. การตั้งชิ้นงาน
3. การตั้งทูล (Tool)
4. การตั้งทิศทางการกินงาน
5. การป้ อนโปรแกรมทดสอบและการแก้ไขโปรแกรม
6. การซิมมิวเลชั่น
จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
1. ใช้ โปรแกรมในการแสดงผลซิมมิวเลชั่นได้
2. ตั้งขนาดของชิ้นงานในการแสดงผลซิมมิวเลชั่นได้
3. ตั้งทูลและทิศทางการกินงานได้
4. ป้อนโปรแกรมในการแสดงผลซิมมิวเลชั่นได้
5. แก้ไขโปรแกรมในการแสดงผลซิมมิวเลชั่นได้
6. แสดงผลในการซิมมิวเลชั่นงานกลึงได้
8.1 การใช้ โปรแกรมซิมมิวเลชั่นในงานกลึง
โปรแกรมซิมมิวเลชั่นสาหรับงานกลึง เป็ นโปรแกรมที่ใช้ ในการ
ตรวจสอบว่ าโปรแกรมซีเอ็นซี ทีเ่ ราเขียนมา ทางานได้ อย่างทีเ่ ราต้ องการ
หรือไม่ หรือตรวจสอบว่ าทางานได้ ถูกต้ องเพียงใด ถ้ าหากผิดพลาดอย่างไรจะ
ได้ ทาการแก้ ไขก่ อนทีจ่ ะนาไปใช้ ผลิตจริง เพือ่ ลดการสู ญเสี ยจากที่เกิดจาก
โปรแกรม ทาให้ ประหยัดเวลาและวัสดุ โปรแกรมซิมมิวเลชั่นมีอยู่ด้วยหลาย
โปรแกรม ในบทเรียนนีเ้ ราใช้ โปแกรม CNC Base for Prolight 3000 ซึ่งจะมี
ลักษณะการใช้ งานดังนี้
8.1.1 การเปิ ดโปรแกรม
ให้ ใช้ เมาส์ ทาการดับเบิลคลิกที่ Icon ทีอ่ ยู่บน Desktop
จะปรากฏอยู่ใน
รู ปที่ 8.1 แสดงหน้ าจอหลักของโปรแกรม CNC Base for Prolight 3000
8.1.2 รายละเอียดของโปรแกรม CNC Base for Prolight 3000
สามารถเรียกหน้ าต่ างที่แสดงรายละเอียดของโปรแกรมได้ โดยทีเ่ มนูบาร์
View จากนั้นให้ ใช้ เมาส์ คลิกให้ แสดงหรือปิ ดหน้ าต่ างที่ต้องการ ในหน้ าจอทีป่ รากฏ
ของโปรแกรม จะประกอบด้ วยหน้ าต่ างดังนี้
รู ปที่ 8.2 แสดงรายละเอียดของเมนูบาร์ (View)
1. หน้ าต่ างการบอกตาแหน่ ง Position จะบอกตาแหน่ งทูลทั้งแกน X
และ Z พร้ อมทั้งแสดงให้ เห็นว่ าเป็ นการทางานในระบบ นิว้ หรือ
มิลลิเมตรสามารถตั้งค่ าเริ่มต้ นได้ โดย นาเมาส์ มาชี้ไว้ ในหน้ าต่ างคาสั่ ง
ของ Position จากนั้นใช้ เมาส์ คลิกด้ านขวามือ จะเกิดเคอร์ เซอร์ เมนู
ขึน้ มา เราสามารถใช้ เมาส์ คลิกเลือกระบบการทางานได้ เลย ระบบทีถ่ ูก
เลือกจะมีเครื่องหมายถูกอยู่ด้านหน้ า
รู ปที่ 8.3 แสดงหน้ าต่ างบอกตาแหน่ งของทูลและการตั้ง
ค่ าระบบนิว้ และมิลลิเมตร
2. หน้ าต่ างบอกการทางานของเมนูคาสั่ ง Machine Info ทาหน้ าทีแ่ สดงรายละเอียดการทางานของ
โปรแกรมนั้นๆ แสดงการบอกชนิดของทูลอัตราการป้ อนฟี ด และความเร็วรอบของสปิ นเดิล และ
แสดงการบอกจานวนของบล็อคในการทางานของโปรแกรมประกอบด้ วย
2.1) Tool ……. จะบอกให้ ทราบว่ าขณะนีใ้ ช้ ทูลหมายเลขใดในการทาการตัด
เฉือนชิ้นงานอยู่
2.2) Feed ……. ความเร็วในการป้ อนตัดเฉือนชิ้นงาน
2.3) Pass ……. จานวนโปรแกรมทีต่ รวจสอบหรือเรียกใช้
2.4) Block ……. Of ……. บรรทัดทีท่ างานอยู่ ในจานวนบรรทัดทั้งหมด
2.5) TISpec……. ตาแหน่ งการอ้ างอิงของทูล
2.6) Spindle……. ความเร็วรอบของสปิ นเดิล
2.7) Coord ……. ระบบโคออร์ ดเิ นททีท่ างานอยู่ ในจานวนบรรทัดทั้งหมด
รู ปที่ 8.4 แสดงรายละเอียดหน้ าต่ างของ Machine Info
3. หน้ าต่ าง Operator Panel หน้ าต่ างนีจ้ ะใช้ ควบคุมการทางานของเครื่อง
ซีเอ็นซี ขณะทีก่ าลังทาโปรแกรมอยู่ จะทาหน้ าทีใ่ นการหยุดโปรแกรมโดยที่
ผู้ปฏิบัตงิ านกดปุ่ มสี แดง และคาสั่ งจะเริ่มต้ นการทางานโดยที่ผ้ ปู ฏิบัติงาน
กดปุ่ มคาสั่ งสี เขียว ส่ วนถ้ าต้ องการให้ คาสั่ งหยุดการทางานของเครื่อง
ชั่วขณะจะทาการกดปุ่ มสี นา้ เงิน และนอกจากนีจ้ ะเป็ นการกาหนดปรับ
ความช้ าหรือเร็วของฟี ด และอัตราความเร็วรอบของสปิ นเดิลโดยการกดปุ่ ม
เครื่องหมายบวก (+) และลบ (-) ตามทีต่ ้ องการจะประกอบด้ วย
3.1) Opt Skip……. เปิ ด – ปิ ด การทางานในส่ วนที่ต้องการให้ ข้ามในโปรแกรม
3.2) Opt Stop……. เปิ ด – ปิ ด การทางานในส่ วนที่ต้องการให้ หยุดในโปรแกรม
3.3) Single Step……. เปิ ด – ปิ ด การทางานแบบทีละบรรทัด
3.4) Feed Override……. ปรับเพิม่ – ลด ความเร็วในการเดินกัดงาน
3.5) Spindle Override……. ปรับเพิม่ – ลด ความเร็วรอบของสปิ นเดิล
3.6) ปุ่ มสี แดง (Stop)……. กดเพือ่ หยุดการทางานของเครื่อง
3.7) ปุ่ มสี เขียว (Cycle Start)……. กดเพือ่ เริ่มการทางานของเครื่อง
3.8) ปุ่ มสี นา้ เงิน (Feedhold)……. กดเพือ่ หยุดการทางานของเครื่องชั่วขณะ ถ้ า
ต้ องการให้ เครื่องทางานต่ อก็กดปุ่ มนีอ้ กี ครั้ง หรือกดปุ่ มสี เขียวก็ได้
ปุ่ ม STOP
ปุ่ ม Cycle Start
ปุ่ ม Feed hold
รู ปที่ 8.5 แสดงหน้ าต่ าง Operator Panel
4. หน้ าต่ าง Jog Control ส่ วนนีเ้ ป็ นการควบคุมการเคลือ่ นทีข่ องเครื่องซีเอ็นซี เราใช้ ในการตั้ง ทูล
เป็ นคาสั่ งทีใ่ ช้ ในการบอกระดับค่ าความเร็ว ในแต่ ละระดับในการเคลือ่ นที่ โดยเริ่มต้ นในระดับช้ า ปาน
กลาง และเร็ว และบอกระยะการเคลือ่ นทีข่ องระบบแนวแกน X และ Z ประกอบด้ วย
4.1) ปุ่ ม Enable……. เปิ ด – ปิ ดการทางานของคีย์บอร์ ด
4.2) Speed……. กาหนดความเร็วในการเคลือ่ นทีข่ องงานแบ่ งเป็ น 3 ระดับ คือ ระดับการ
เคลือ่ นทีช่ ้ า (Slow) ระดับการเคลือ่ นทีป่ านกลาง (Med) ระดับการเคลือ่ นทีเ่ ร็ว (Fast)
4.3) Cont…….ปุ่ มนีจ้ ะเปิ ด – ปิ ดเป็ นการเคลือ่ นทีแ่ บบต่ อเนื่อง ถ้ าเปิ ดการใช้ งานเรากด
ปุ่ มเคลือ่ นทีแ่ กนใดก็ตามจะเคลือ่ นทีไ่ ปเรื่อยๆ จะหยุดก็ต่อเมือ่ กดปุ่ มแกนอืน่ เพือ่ ยกเลิก
4.4) Step……. เป็ นปุ่ มสั่ งให้ เคลือ่ นทีแ่ บบจุดต่ อจุด (Incremental) คือเมือ่ กด 1 ครั้ง งาน
จะเคลือ่ นทีไ่ ปได้ ตามระยะทีก่ าหนดแบ่ งเป็ น3ช่ วง คือ A = 0.001 mm. B = 0.01 mm. C = 0.1mm.
4.5) ปุ่ ม X และ Z ใช้ ในการควบคุมการเคลือ่ นทีต่ ามแนวแกนทีต่ ้ องการ
ปุ่ ม Enable
ปุ่ ม X
ปุ่ ม Z
รู ปที่ 8.6 แสดงรายละเอียดปุ่ ม Jog Control ทีค่ วบคุมการเคลือ่ นทีข่ องงาน
5. หน้ าต่ าง Verify จะเป็ นหน้ าต่ างทีแ่ สดงชิ้นงานและเกิดการเคลื่อนทีข่ องทูล
ตามทีเ่ ราเขียนในโปรแกรมสามารถแสดงผลการกลึงขึน้ รู ปของการทางาน
ตามโปรแกรมทีผ่ ้ ปู ฏิบัติงานเขียนไว้ เราสามารถดูการเคลือ่ นทีข่ องทูลว่ า
ถูกต้ องตามแบบหรือไม่ ถ้ าทูลไม่ ถูกต้ องก็สามารถกลับไปทาการแก้ไขใน
โปรแกรมได้
5.1)
ปุ่ มแสดงการย่ อส่ วน และขยายส่ วน
5.2)
ปุ่ มแสดงการทางาน (สั ญลักษณ์ เป็ นลูกศรสี
เขียว) และปุ่ มหยุดการทางาน (ปุ่ มสี แดงสั ญลักษณ์ วงกลมกากบาท)
5.3)
ชิ้นงานขึน้ ลง ซ้ าย ขวา
ใช้ เมาส์ คลิกปุ่ มเพือ่ เลือ่ น
5.4)
ใช้ เมาส์ คลิกปุ่ มเพือ่ ทาการ Reset ในปุ่ มสี นา้ เงิน
และทาการ Verify Setting ในปุ่ มกากบาทสี ดา
รูปที่ 8.7 แสดงรายละเอียดหน้ าต่ าง Verify
6. หน้ าต่ างสาหรับป้ อนโปรแกรม เมือ่ เราเรียกเมนูคาสั่ ง File และเลือกใช้
คาสั่ ง New ขึน้ มาจะได้ หน้ าต่ างว่ างๆ ทีใ่ ช้ สาหรับในการป้อนโปรแกรม หรือ
จะใช้ เมาส์ คลิกทีป่ ุ่ มสั ญลักษณ์ รูปกระดาษจะปรากฏคาสั่ ง New ขึน้ มาก็
สามารถใช้ ป้อนโปรแกรมได้
รูปที่ 8.8 แสดงหน้ าต่ างสาหรับป้อนโปรแกรมและการเปิ ด File เดิมขึน้ มาทางาน
และเมื่อเรียกคาสั่ ง File และ Open ก็จะสามารถทางานไปพร้ อมๆ กันได้
รวมถึงการใช้ คาสั่ งอืน่ ๆ ทีใ่ ช้ ในการป้อนโปรแกรมเช่ น Open , Save , Paste , Print
, Copy ระหว่ าง File ได้ อกี ด้ วย และถ้ ากรณีการเปิ ด File ทีท่ าการ Save ไว้ ขนึ้ มา
จะถูก Lock ทาให้ แก้ไขโปรแกรมไม่ ได้ เราสามารถปลด Lock โดยทีเ่ มนูบาร์ Edit
ใช้ เมาส์ คลิกคาสั่ ง Lock หรือกดปุ่ ม Ctrl + L
รู ปที่ 8.9 แสดงคาสั่ ง Edit
ในกรณีทถี่ ูก Lock
8.2 การตั้งชิ้นงาน
ในการปฏิบัตกิ ารและควบคุมโปรแกรมซิมมิวเลชั่นในงานกลึง จะไม่
เห็นชิ้นงานและทูล เป็ น 3 มิตเิ ช่ นงานกัด เราจะเห็นเพียง 2 มิติ เนื่องจากงาน
กลึงเป็ นทรงกลมแสดงเพียงด้ านเดียว ตามระนาบแนวแกน X และ Z
8.2.1. การตั้งขนาดของชิ้นงาน
เรียก Dialog Box ในเมนูบาร์ Setup และเลือกคาสั่ ง Verify Settings
จะปรากฏดังรู ปภาพที่ 8.10 ใน Tab Display เราสามารถทาการตั้งสี ของ
ชิ้นงาน พืน้ หลัง และทูลได้ ตามความต้ องการ
รู ปที่ 8.10 แสดงหน้ าต่ าง Verify Settings ของ Display
ทาการใช้ เมาส์ คลิก Tab Tool Position ในหน้ าจอนีเ้ ราสามารถตั้ง
การแสดงมีดได้ 2 แบบ ตามลักษณะของเครื่องกลึงว่ าจะเป็ นแบบมีดกลึงอยู่
ด้ านหน้ า หรือด้ านหลังจากคาสั่ ง Tool Location และเป็ นการบอกตาแหน่ ง
Initial Tool Position ว่ าทูลอยู่ในตาแหน่ งใดของระนาบแนวแกน X และ Z
เช่ น X = 254 มิลลิเมตร Z = 203.2 มิลลิเมตร หรือกาหนดเป็ นจุด Origin ใน
ตาแหน่ งจุด 0 , 0
รู ปที่ 8.11 แสดงหน้ าต่ าง Verify Settings ของ Tool Position
ทาการใช้ เมาส์ คลิก Tab Stock จะปรากฏรายละเอียดดังรู ปที่ 8.12
รู ปที่ 8.12 แสดงหน้ าต่ าง Verify Settings ของ Stock
Dimensions คือขนาดของวัตถุดบิ ทีจ่ ะนามาทาชิ้นงาน ซึ่งในการปฏิบัตงิ าน
เราต้ องทาการเผือ่ ความยาวในการจับงานและระยะห่ างจากหัวจับ เพื่อให้ มี
ระยะทีส่ ามารถตัดชิ้นงานได้
= ความยาวของงานคิดจากจุดกึง่ กลาง 3 จับ
โดยเผือ่ ความยาวในการตัดงานแล้ว
= ความโตของงานทีจ่ ะนามากลึง
Origin ใช้ กาหนดจุ 0 , 0 ของงานโดยคิดระยะห่ างจากจุดกึง่ กลางของ 3
จับ เช่ นถ้ าเรากาหนดระยะในแนวแกน Z = 18 X = 0 จุด 0 , 0 จะอยู่ใน
ปลายชิ้นงานเท่ ากับ 2 มิลลิเมตร
= จุด 0 , 0 ห่ างจากจุดศูนย์ อ้างอิงของเครื่อง = 18 มม.
อยู่ในแนวแกน Z
= ให้ จุด 0 , 0 อยู่ในแนวแกน X
8.3 การตั้งทูล (Tool)
ทาการเรียก Dialog Box ทีเ่ มนูบาร์ คาสั่ ง Tool และเลือกคาสั่ ง Setup
Toll Library ปรากฏรายละเอียดดังรู ปที่ 8.13
รู ปที่ 8.13 แสดงหน้ าต่ าง Setup Toll Library
8.3.1 การตั้ง Tool Library
สามารถเลือกการตั้งชนิดของทูลได้ 20 แบบ แต่ ในโปรแกรมได้
ทาการบรรจุทูลไว้ เพียง 4 ชนิด และเรียกทูลแต่ ละตัวด้ วย T…..Code
เช่ น T1 หมายความว่ าเลือกการใช้ งานของทูลตัวที่ 1 มาทาการใช้ งาน
ส่ วนการตั้งทูลกระทาได้ โดยให้ ใช้ เมาส์ คลิกในช่ อง Tool ทีต่ ้ องการให้ เกิด
แสงสว่ าง (Hight Light) จากนั้นก็เลือกรู ปแบบทูลที่ต้องการ
รู ปที่ 8.14 แสดงการตั้ง Tool Library
8.3.2 การตั้งรู ปแบบทูล (Tool)
สามารถกระทาได้ 6 รู ปแบบ โดยแบ่ งตามลักษณะการใช้ งานดังนี้
รู ปที่ 8.15 แสดงการตั้งรู ปแบบทูล
1) แบบ Diamond เป็ นลักษณะรู ปแบบของการใช้ งานมีดกลึงปาดหน้ าและ
กลึงปอก สามารถกาหนดขนาดต่ างๆ ของลักษณะมีดกลึงได้ ดงั นี้
รู ปที่ 8.16 แสดงรู ปแบบ Tool Diamond
2) แบบ Triangle จะเป็ นทูลทีใ่ ช้ งานในลักษณะงานเป็ นมีดกลึงปอกหยาบ ตก
ร่ อง และใช้ เป็ นดอกสว่ านได้ ในตัว สามารถตั้งขนาดของมีดได้ เช่ นเดียวกับมีด
ทรงรู ปแบบของ Tool Diamond
รู ปที่ 8.17 แสดงรู ปแบบ Tool Triangle
3) แบบ Button เป็ นมีดรู ปทรงกลมใช้ ในการกลึงตกร่ องโค้ ง หรือกลึง
ขึน้ รู ป เราสามารถตั้งขนาดความโตของมีดได้
รู ปที่ 8.18 แสดงรู ปแบบ Tool Button
4) แบบ Grooving ใช้ เป็ นมีดตกร่ อง หรือมีดตัด ซึ่งสามารถตั้งค่ าได้ ดังนี้
รู ปที่ 8.19 แสดงรู ปแบบ Tool Grooving
5) แบบ Thread เป็ นลักษณะมีดกลึงเกลียวสามเหลีย่ ม เราสามารถตั้งได้ เพียง
ความกว้ างของมีดและความยาว ส่ วนมุมปลายมีดไม่ กาหนด เพราะในการใช้
คาสั่ ง Verify เราจะไม่ สามารถมองเห็นเป็ นสั นเกลียวได้ แต่ ขนาดงานจะเล็กลง
รู ปที่ 8.20 แสดงรู ปแบบ Tool Thread
6) แบบ Trace ลักษณะรู ปแบบของมีดจะไม่ แสดงรู ปร่ าง แต่ จะเป็ นเพียง
เส้ นเล็กๆ เพือ่ แสดงให้ เห็นการกินผิวงานของปลายมีดออกไป สะดวกในการ
ตรวจสอบรู ปแบบของงาน
รู ปที่ 8.21 แสดงรู ปแบบ Tool Trace
8.4 การตั้งทิศทางการกินงาน
มีดทั้ง 6 แบบเราตั้งทิศทางการกินงานได้ 2 กรณี คือ
8.4.1 การตั้งมีดกลึง
ตั้งมีดกลึงนอก (Outside) และกลึงใน (Inside) หรือปาดหน้ า (Facing)
รู ปที่ 8.22 แสดงการตั้งมีดกลึงนอกและกลึงใน
8.4.2 ทิศทางการกิน
เป็ นทิศทางการกินมีดซ้ าย (Left/Down) มีดขวา (Right/Up)
รู ปที่ 8.23 แสดงการกินเป็ นมีดซ้ ายและมีดขวา
8.5 การป้อนโปรแกรมทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
เมื่อทาการออกแบบและทราบรายละเอียดขนาดต่ างๆ ของชิ้นงาน
เรี ย บร้ อ ยแล้ ว เราจึ ง เขี ย นโปรแกรม เมื่ อ เสร็ จ แล้ ว จึ ง น ามาป้ อนเข้ าไปใน
โปรแกรม ซึ่งวิธีการในการป้ อนโปรแกรมและการแก้ ไข รวมถึงการจัดบรรทัด
ก็สามารถเริ่มต้ นในการจัดการทาโปรแกรมได้ ดงั นี้
1) เปิ ดโปรแกรม CNC Base for Prolight 3000
2) ทาการป้ อนโปรแกรม
3) เมือ่ ทาการป้ อนโปรแกรมเสร็จเรียบร้ อยแล้ วให้ ใช้ คาสั่ ง Setup
เพือ่ ทาการกาหนดตาแหน่ งของค่ า Verify Setting ในตาแหน่ ง Tool Position
, Stock และ Origin ตามค่ าที่ต้องการแล้ วคลิก OK
4) ทาการ Verify Program
รู ปที่ 8.24 แสดงตัวอย่างการป้อนโปรแกรม
รู ปที่ 8.25 แสดงตัวอย่างการกาหนดตาแหน่ ง Verify Setting
ตัวอย่ าง ต้ องการกลึงงานด้ วยวัสดุเหล็กเหนียวมีขนาดความโต 25 มิลลิเมตร
ตามแบบด้ วยมีดคาร์ ไบค์ ปาดหน้ า 2 มิลลิเมตร จงเขียนขั้นตอนการทางาน รู ปแบบมีดกลึง
ทีใ่ ช้ ความเร็วรอบ ความเร็วป้ อนและความลึกในการกลึงตัดเฉือนชิ้นงานในแต่ ละครั้ง
ขั้นตอนการทางาน
1. ทาการกลึงปาดหน้ า 2 มม.
ใบแสดงรายละเอียดงาน
รายละเอียดทูล
T1 มีดปาดหน้ า
Speed = 350 rpm
Feed = .15 x 350 = 52.5
ใช้ 55 มม./นาที
Depth = 1 มม./ครั้ง
โปรแกรม
% O 101
N2 G21 G54
N3 G90 G80 G40 G50 G69
N4 F55 S350 T1 M03
N5 G04 F1
N6 G00 X26.5 Z3
N7 G79 X0 Z0 Q1
N8 G80
N9 G00 Z50
ขั้นตอนการทางาน
2. กลึงปอกโต 50 มม. ยาว 75 มม.
(กลึงปอกยาวกว่ าแบบไว้ เผือ่ ตัด)
รายละเอียดทูล
T2 มีดกลึงปอก
Speed = 420 rpm
Feed = 50 mm./min
Deep = 2 mm.
โปรแกรม
N10 T2 M06
N11 F50 S420 M03
N12G04 F1
N13 G00 X26.5 Z0.5
N14 G77 X25 Z-75 Q2
N15 G80
ขั้นตอนการทางาน
รายละเอียดทูล
3. กลึงปอกโต 40 มม. ยาว 50 มม.
T2 มีดกลึงปอก (มีดเดิม)
Speed = 480 rpm
Feed = 70 mm./min
โปรแกรม
N16 F70 S480
N17 G00 X25.5 Z0.5
N18 G77 X20 Z-50 Q3
N19 G80
ขั้นตอนการทางาน
รายละเอียดทูล
4. กลึงปอกโต 16 มม. ยาว 20 มม.
T2 มีดกลึงปอก (มีดเดิม)
Speed = 560 rpm
Feed = 80 mm./min
Deep = 2 mm.
โปรแกรม
N20 F80 S560
N21 G00 X20.5 Z0.5
N22 G77 X12 Z-35 Q2
N23 G80
ขั้นตอนการทางาน
รายละเอียดทูล
5. กลึงปอกโต 16 มม. ยาว 20 มม.
T2 มีดกลึงปอก (มีดเดิม)
Speed = 680 rpm
Feed = 100 mm./min
โปรแกรม
N24 F100 S680
N25 G00 X12.5 Z0.5
N26 G77 X8 Z-20 Q2
N27 G80
N28 G00 X20 Z50 M02
8.6 การซิมมิวเลชั่น
เมือ่ ป้อนโปรแกรม เรียบร้ อยแล้ว ให้ เรียกคาสั่ ง Verify โดยใช้ เมาส์ คลิกที่
รู ปที่ 8.24 แสดงตัวอย่างโปรแกรม กับงานทีไ่ ด้ จากการ Verify