19-08-2014-72IouEnTue114321

Download Report

Transcript 19-08-2014-72IouEnTue114321

ดร.สุ รางค์ อภิรมย์ วไิ ลชัย
ผู้อานวยการวิทยาลัยสารพัดช่ างกาแพงเพชร
สาขาบริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษา
ภาควิชาบริหารเทคนิคศึกษา
คณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าพระนครเหนือ
Doctor of Philosophy (Vocational and Technical
Education Management)
Ph.D.(Voc. & Tech. Ed. Mgnt.)
การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
(DVE : Dual Vocational Education)
ดร.สุรางค์ อภิรมย์วิไลชัย
ผู้อานวยการวิทยาลัยสารพัดช่ างกาแพงเพชร
[email protected] 08-1379 – 3464
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ดาเนินการจัดการศึกษาด้ านอาชีวศึกษา
- พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542
- พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ.2551
พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542
มาตรา 20 การอาชีวศึกษา การฝึ กอบรมวิชาชีพ ให้ จดั ในสถานศึกษาของรัฐ
สถานศึกษาของเอกชน สถานประกอบการ หรือโดยความร่ วมมือ
ระหว่ างสถานศึกษากับสถานประกอบการ ทั้งนีใ้ ห้ เป็ นไปตามกฎหมาย
ว่ าด้ วยการอาชีวศึกษาและกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ อง
พระราชบัญญัตกิ ารอาชีวศึกษา พ.ศ.2551
มาตรา 8 การจัดการอาชีวศึกษาและการฝึ กอบรมวิชาชีพ ให้ จดั ได้ โดยรู ปแบบดังนี้
- การศึกษาในระบบ
- การศึกษานอกระบบ
- การศึกษาระบบทวิภาคี
การศึกษาในระบบ
เป็ นการจัดการศึกษาวิชาชีพที่เน้ นการศึกษาในสถานศึกษา
อาชีวศึกษา หรือสถาบันเป็ นหลัก โดยมีการกาหนด
จุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสู ตร ระยะเวลา
การวัดและการประเมินผล ทีเ่ ป็ นเงื่อนไขของการสาเร็จ
การศึกษาทีแ่ น่ นอน
การศึกษานอกระบบ
เป็ นการจัดการศึกษาวิชาชีพที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนด
จุดมุ่งหมาย รู ปแบบ วิธีการศึกษา ระยะเวลา การวัด
และการประเมินผลที่เป็ นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษา
โดยเนือ้ หาและหลักสู ตรจะต้ องมีความเหมาะสมและ
สอดคล้ องกับสภาพปัญหาและความต้ องการของบุคคล
แต่ ละกลุ่ม
การศึกษาระบบทวิภาคี
เป็ นการจัดการศึกษาวิชาชีพที่เกิดจากข้ อตกลงระหว่ าง
สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน กับสถานประกอบการ
รัฐวิสาหกิจ หรือหน่ วยงานของรัฐในเรื่องการจัดหลักสู ตร
การเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล โดยผู้เรียน
ใช้ เวลาส่ วนหนึ่งในสถานศึกษาอาชีวศึกษา หรือสถาบัน
และเรียนภาคปฏิบัติในสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือ
หน่ วยงานของรัฐ
ประโยชน์ ในการผลิตและพัฒนากาลังคน
สถานศึกษาอาชีวศึกษา หรือสถาบันสามารถจัดการศึกษา
ในหลายรู ปแบบรวมกันก็ได้ ทั้งนี้ สถานศึกษาอาชีวศึกษา
หรือสถาบันนั้น ต้ องมุ่งเน้ นการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี
เป็ นสาคัญ
หลักสู ตรที่คณะกรรมการการอาชีวศึกษากาหนด
-ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
-ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง (ปวส.)
-ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ
พระราชบัญญัตกิ ารอาชีวศึกษา พ.ศ.2551
มาตรา 51 ในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีที่เป็ นความ
ร่ วมมือระหว่ างสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน
และสถานประกอบการให้ เป็ นไปตามข้ อตกลงระหว่ าง
สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันและ
สถานประกอบการ
พระราชบัญญัตกิ ารอาชีวศึกษา พ.ศ.2551
มาตรา 54 สถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพ หรือองค์ กรอืน่ ที่ให้ ความร่ วมมือ
ในการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึ กอบรมวิชาชีพได้ รับสิ ทธิประโยชน์
ดังนี้
- การสนับสนุนด้ านวิชาการและทรัพยากรตามสมควรแก่ กรณี
- การเชิดชูเกียรติแก่ สถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพ หรือองค์ กร
อืน่ ที่ให้ ความร่ วมมือในการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึ กอบรม
วิชาชีพ
คานิยามศัพท์
สถานประกอบการ หมายถึง บริษทั ห้ างหุ้นส่ วน ร้ าน รัฐวิสาหกิจ หน่ วยงาน
ของรัฐและเอกชน ทั้งในประเทศและต่ างประเทศ ที่ร่วมมือ
กับสถานศึกษาหรือสถาบันในการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
ผู้ควบคุมการฝึ ก
หมายถึง ผู้ทสี่ ถานประกอบการมอบหมายให้ ทาหน้ าที่
ประสานงานกับสถานศึกษาในการจัดการอาชีวศึกษาระบบ
ทวิภาคี และรับผิดชอบดูแลการฝึ กอาชีพของผู้เรียนใน
สถานประกอบการ
คานิยามศัพท์
ครู ฝึก
หมายถึง ผู้ทาหน้ าทีส่ อน ฝึ กอบรมผู้เรียนในสถานประกอบการ
ครู นิเทศ
หมายถึง ครู ของสถานศึกษา / สถาบัน ทีท่ าหน้ าที่การฝึ กอาชีพ
ของผู้เรียนในสถานประกอบการ
การฝึ กอาชีพ หมายถึง การเรียน การฝึ ก การปฏิบัตงิ านในสถานประกอบการ
ครู ฝึก
1. มีคุณสมบัตติ ามพระราชบัญญัตกิ ารอาชีวศึกษา พ.ศ.2551 มาตรา 55
2. ครู ฝึกระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพและประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง
ต้ องมีครู ฝึกอย่ างน้ อย 1 คนต่ อ นักศึกษา 5 คน ระดับปริญญาตรี
ต้ องมีครู ฝึกอย่ างน้ อย 1 คน ต่ อนักศึกษา 2 คน
3. ได้ รับการแต่ งตั้งให้ เป็ นครู ฝึกตามหลักเกณฑ์ ทีค่ ณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กาหนด
คานิยามศัพท์
บันทึกความร่ วมมือ หรือ MOU (Memorandum of
understanding)
หมายถึง หนังสื อซึ่งฝ่ ายหนึ่งแสดงความสมัครใจจะปฏิบัตอิ ย่ างหนึ่ง
อย่ างใด และตามเงื่อนไขที่ปรากฏในหนังสื อนั้น กับอีกฝ่ ายหนึ่ง
โดยทีห่ นังสื อนีไ้ ม่ ถอื ว่ าเป็ นหนังสื อผูกมัด แต่ แสดงความต้ องการ
อันแน่ วแน่ ของผู้ลงนามว่ า จะปฏิบัตดิ งั ทีไ่ ด้ ระบุไว้
สถานศึกษา
สถานประกอบการ
มีข้อตกลงร่ วมกัน
หลักการและวัตถุประสงค์ การจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
จัดการอาชีวศึกษาทีเ่ กิดจากข้ อตกลงระหว่ างสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันการ
อาชีวศึกษากับสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่ วยงานของรัฐ
ร่ วมกันกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย การจัดหลักสู ตร แผนการเรียน แผนการฝึ กอาชีพ
การฝึ กหัดทางาน การวัดผลและการประเมินผล
การจัดการศึกษา การคิดหน่ วยกิต จานวนหน่ วยกิต และ โครงสร้ างหลักสู ตร ให้ เป็ นไป
ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒอิ าชีวศึกษาแต่ ละระดับ
การฝึ กอาชีพในสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่ วยงานของรัฐ โดยมี
ระยะเวลาไม่ น้อยกว่ ากึง่ หนึ่งของการจัดการศึกษาแต่ ละระดับ
ผู้เรียนมีรายได้ และสวัสดิการระหว่ างการฝึ กอาชีพ
ปฏิบัตงิ านได้ ตรงตามสมรรถนะทีส่ ถานประกอบการต้ องการ ตามมาตรฐาน
การศึกษาวิชาชีพและมาตรฐานสมรรถนะของสาขาวิชานั้นๆ
ประเด็นเพือ่ การสร้ างความเข้ าใจ
การจัดทวิภาคีเป็ นการฝึ กอาชีพไม่ ใช่ การฝึ กงาน
ผู้เรียนต้ องได้ ปฏิบัตจิ ริง
ผู้เรียนจะต้ องได้ ปฏิบัตงิ านจริงร่ วมกับผู้เชี่ยวชาญเพือ่ ให้ ได้ ทักษะเฉพาะทางใน
เรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ผู้เรียนได้ เรียนรู้ วธิ ีการแก้ ไขปัญหา เข้ าใจงาน มีทกั ษะการทางาน
ผู้เรียนมีรายได้ ระหว่ างเรียน และต้ องฝึ กอย่ างน้ อยครึ่งหลักสู ตร
ใช้ คาว่ าฝึ กอาชีพ ไม่ ใช่ ฝึกงาน
หลักสู ตร
สอดคล้ องกับชีวติ ในงานอาชีพ
เป็ นหลักสู ตรทีจ่ ดั กระบวนการเรียนการสอนฝึ กให้ ผ้เู รียนเกิดทักษะระดับเชี่ยวชาญ
ทั้งการฝึ กอบรม ฝึ กทักษะ
บูรณาการในรายวิชาต่ างๆ เป็ นเนือ้ งานอาชีพเดียวกันในลักษณะขนมเปี ยกปูน เป็ น
อาชีพใดอาชีพหนึ่ง
ใช้ สมรรถนะอาชีพเป็ นตัวกาหนด
หลักสู ตรต้ องพัฒนาร่ วมกับสถานประกอบการ และสถานประกอบการกาหนดว่ า
ต้ องการทักษะฝี มืออะไรบ้ าง
กระบวนการเรียนการสอน
การทางานในสถานประกอบการ เวลาช่ วงเรียนไม่ เป็ นคาบ/ชั่วโมง
ผู้เรียนมีชีวติ แบบปกติคนทางาน ทางานจริงในทีท่ างาน
ผู้เรียนทาโครงงานทีช่ ่ วยลดค่ าใช้ จ่ายของงานทีท่ าและเพิม่ ประสิ ทธิภาพงานที่รับผิดชอบ
เป็ นโครงงานเล็กๆ หรือทาโครงงานวิจยั ในระหว่ างอยู่สถานประกอบการ
ครู ฝึกต้ องให้ ผู้เรียนลงมือทา จัดบรรยากาศ ปัจจัยสภาพแวดล้ อมเหมาะสม
การวัดและประเมินผล
การประเมินต้ องไม่ เน้ นการใช้ แบบทดสอบ
ทาการประเมินโดยใช้ สภาพจริงเน้ นใน 3 เรื่อง ได้ แก่ การสั งเกต การสั มภาษณ์ การ
ตรวจสอบชิ้นงาน
นา้ หนักการประเมินเน้ นให้ ครู ฝึกมากกว่ าครู นิเทศ
ครู ฝึกในสถานประกอบการเป็ นผู้กาหนดเกณฑ์ และให้ เกรดการให้ ค่าคะแนนอาจเป็ น
ในรู ปแบบ Rubric
วิธีการประเมินใช้ แบบอิงการพัฒนาการ (Growth) มากกว่ าอิงเกณฑ์ หรืออิง
กลุ่ม
กระบวนการประเมิน ใช้ กระบวนการแบบต่ อเนื่อง (Formative
Evaluation) ประเมินทุกวัน ประเมินแบบไม่ เป็ นทางการ
การประเมินไม่ ให้ เป็ นภาระงานให้ สถานประกอบการทีต่ ้ องสร้ างเครื่องมือวัด ซึ่ง
สอดคล้ องกับการปฏิรูปการเรียนรู้ ทแี่ ท้ จริง
การประเมินผลและการสอนงานอยู่ในรู ปของเนือ้ งาน
การประเมินอาจใช้ รูปแบบการผ่ านหรือไม่ ผ่านก็ได้ ไม่ เน้ นการประเมินแบบคะแนน
องค์ ประกอบสาคัญในการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
มีบันทึกความร่ วมมือ MOU (Memorandum of Understanding)
ระหว่ าง สอศ./สถาบัน/สถานศึกษากับสถานประกอบการ
 มีสัญญาการฝึ กอาชีพระหว่ างสถานประกอบการกับผู้เรียน
มีแผนการฝึ กอาชีพในสถานประกอบการ ตลอดระยะเวลาการฝึ กอาชีพที่กาหนดใน
แผนการเรียนตลอดหลักสู ตร
มีการประเมินมาตรฐานการฝึ กอาชีพตามข้ อตกลง และตามแผนการฝึ กอาชีพที่จัดทา
ร่ วมกันระหว่ างสถานประกอบการและสถานศึกษา/สถาบัน
มีครู ฝึก ซึ่งมีคุณสมบัตติ ามพระราชบัญญัตกิ ารอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 มาตรา 55
ประชาสั มพันธ์ กระบวนการเรียน การฝึ กอาชีพ ให้ กบั สถานศึกษา นักเรียน นักศึกษา
และผู้ปกครองทราบ
มีสวัสดิการและค่ าตอบแทนที่เหมาะสมให้ กบั นักเรียน นักศึกษา ตามข้ อตกลงระหว่ าง
สถานประกอบการและสถานศึกษา
มีใบรับรองการผ่ านงานของสถานประกอบการ เมื่อสิ้นสุ ดการฝึ กอาชีพ ลงนามโดยสถาน
ประกอบการ
มีวุฒบิ ัตรการศึกษาระบบทวิภาคีลงนามร่ วมกัน 2 ฝ่ าย คือ สถานประกอบการและ
สถานศึกษา/สถาบัน
จุดประสงค์ ของการศึกษา
Benjamin S. Bloom ได้ จาแนกจุดประสงค์
ดังนี้
1. Cognitive
Domain
2. Psychomotor
Domain
3. Affective
Domain
พุทธิพิสยั
ทักษะพิสยั
จิตพิสยั
คุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษาทุกระดับคุณวุฒิประเภทวิชา
และสาขาวิชาต่ างๆ จะต้ องครอบคลุมอย่ างน้ อย 3 ด้ าน คือ
1. ด้ านคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์
2. ด้ านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทัว่ ไป
3. ด้ านสมรรถนะวิชาชีพ
ดานคุ
ณลักษณะทีพ
่ งึ
้
ประสงค ์
-คุณธรรม
จริยธรรม
-จรรยาบรรณ
วิชาชีพ
-พฤติกรรมลักษณะ
นิสัย
-ทักษะทางปัญญา
ดานสมรรถนะหลั
กและ
้
สมรรถนะทัว่ ไป
-ความรูและทั
กษะการสื่ อสาร
้
-การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
-การพัฒนาการเรียนรูและการ
้
ปฏิบต
ั งิ าน
-การทางานรวมกั
บผู้อืน
่
่
-การใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร ์
-การประยุกตใช
์ ้ตัวเลข
-การจัดการและการพัฒนางาน
ดานสมรรถนะวิ
ชาชีพ
้
- สมรรถนะทีป
่ ระยุกตใช
์ ้
ความรูและทั
กษะในสาขา
้
วิชาชีพ
ตามระดับ
คุณวุฒ ิ และระดับ
สาขาวิชา
ข้ อกาหนดในการนิเทศ
1. ให้ ครู นิเทศไปนิเทศผู้เรียนในสถานประกอบการ โดยแบ่ งเป็ น 2 กรณีคอื
1.1 การนิเทศในประเทศ ให้ นิเทศแห่ งละไม่ น้อยกว่ า 3 ครั้ง ต่ อ ภาคเรียน
1.2 กรณีร่วมมือจัดการศึกษาระบบทวิภาคีกบั ต่ างประเทศ
การนิเทศอาจแบ่ งออกเป็ น 3 ลักษณะ
1) ให้ ครู ผู้สอนวิชาชีพไปนิเทศอย่ างน้ อย 1 ครั้ง
2) ให้ ภาคีเครือข่ ายในต่ างประเทศเป็ นผู้นิเทศแทน
3) ให้ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการนิเทศต่ างประเทศ
2. ครู นิเทศต้ องผ่ านการอบรมการนิเทศการฝึ กอาชีพจากสานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษาหรือผู้ได้ รับมอบหมาย
3. ชั่วโมงนิเทศการฝึ กอาชีพในสถานประกอบการให้ คดิ เป็ นเวลาชั่วโมงสอนปกติ
หากชั่วโมงสอนที่สอนเกินภาระงานทีก่ าหนดสามารถเบิกค่ าสอนเกินภาระงาน
ได้ ตามระเบียบราชการ
4. การเดินทางไปนิเทศให้ เบิกค่ าใช้ จ่ายได้ ตามระเบียบกระทรวงการคลัง
ในการเดินทางไปราชการ
พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝี มือแรงงาน พ.ศ.2545
มาตรา 3
ให้ ยกเลิก พรบ.ส่ งเสริมการฝึ กอาชีพ พ.ศ.2537 ซึ่งไม่ เอือ้ อานวย
เพียงพอต่ อการพัฒนาฝี มือแรงงานในภาวะปัจจุบัน
ปรับปรุงใหม่ ให้ นายจ้ างหรือสถานประกอบการ มีส่วนร่ วมในการพัฒนา
ฝี มือแรงงานมากขึน้ และให้ มีการจัดตั้งกองทุนพัฒนาฝี มือแรงงาน
เพือ่ สนับสนุนการพัฒนาฝี มือแรงงาน
เหตุผลและความจาเป็ นทีต่ ้ องส่ งเสริมการพัฒนาฝี มือแรงงาน
1. การเปิ ดเสรีทางการค้ า
2. การเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีและนวัตกรรม
3. การแข่ งขันทางเศรษฐกิจทวีความรุ นแรง
4. การบริหารจัดการทางการผลิต การค้ า และการบริการ
5. ความต้ องการแรงงานฝี มือมีเพิม่ ขึน้
เหตุผลและความจาเป็ นทีต่ ้ องส่ งเสริมการพัฒนาฝี มือแรงงาน
7. ข้ อจากัดของภาครัฐในการผลิตแรงงานฝี มือให้ ทันตามความต้ องการ
- งบประมาณ
- บุคลากร
8. ข้ อจากัดของภาครัฐในการผลิตแรงงานฝี มือให้ ตรงตามความต้ องการ
- ภาคเอกชนมีเทคโนโลยีและนวัตกรรมทีท่ ันสมัยกว่ า
- สถานประกอบการบางแห่ งมีเทคนิคเฉพาะ
ประกาศคณะกรรมการส่ งเสริมการพัฒนาฝี มือแรงงาน
2 เรื่อง
1. หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการให้ ความเห็นชอบ
รายละเอียดเกีย่ วกับการฝึ กเตรียมเข้ าทางาน
2.
กาหนดค่ าใช้ จ่ายในการฝึ กเตรียมเข้ าทางาน
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการให้ ความเห็นชอบ
รายละเอียดเกีย่ วกับการฝึ กเตรียมเข้ าทางาน
1. ประกาศมีผลบังคับใช้ ต้งั แต่ วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ.2557
2. ยืน่ คาขอรับอนุญาตจัดตั้งศูนย์ ฝึกอบรมฝี มือแรงงาน (แบบ ศร 1)
ก่ อนวันที่จดั ให้ มีการฝึ กอบรมไม่ น้อยกว่ า 30 วัน
ณ สถาบันพัฒนาฝี มือแรงงานภาค หรือ
ศูนย์ พฒ
ั นาฝี มือแรงงานจังหวัด
การฝึ กอบรมฝี มือแรงงาน เพือ่ ขอยกเว้ นภาษีเงินได้ เพิม่ อีก 100%
1. การฝึ กยกระดับฝี มือแรงงาน
2. การฝึ กเปลีย่ นสาขาอาชีพ
3. การฝึ กเตรียมเข้ าทางาน
(เป็ นลูกจ้ าง)
1. ฝึ กเอง
2. ส่ งไปฝึ กภายนอก
(ไม่ ใช่ ลูกจ้ าง)
1. บุคคลทัว่ ไป ฝึ กเอง
2. บุคคลทัว่ ไป ส่ งไปฝึ กภายนอก
3. รับนักเรียน นักศึกษาฯ ฝึ กงาน
เอกสารหลักฐาน ประกอบด้ วย
1. สาเนาหนังสื อแสดงการจดทะเบียนและวัตถุประสงค์ ของกิจการของผู้ขอรับความเห็นชอบ
2. หนังสื อมอบอานาจทาการแทนนิติบุคคลในกรณีทผี่ ้ยู นื่ คาขอเป็ นนิติบุคคล
3. หลักสู ตร
4. สถานทีฝ่ ึ ก หรือ ศูนย์ ฝึกตามฝี มือแรงงาน
5. ชื่อและคุณสมบัติของครูฝึก
6. กาหนดระยะเวลาการฝึ ก
7. รายการอุปกรณ์ ทจี่ าเป็ นทีจ่ ะใช้ ในการฝึ ก (ทีม่ ีอยู่แล้วและทีจ่ ะต้ องหามาเพิม่ เติม)
เอกสารหลักฐาน ประกอบด้ วย
8. วิธีการและมาตรฐานในการวัดผลการฝึ ก
9. รายละเอียดทีแ่ สดงให้ เห็นถึงประโยชน์ ของกิจการของผู้ดาเนินการฝึ ก
10. รายละเอียดเกีย่ วกับรายการค่ าใช้ จ่ายในการดาเนินการฝึ ก
ค่ าใช้ จ่ายในการดาเนินการฝึ ก
1. ค่ าสอนหรือค่ าตอบแทนวิทยากรเท่ าที่จ่ายจริง ไม่ เกินชั่วโมงละ 1,200 บาท
ทั้งนีไ้ ม่ เกินวันละ 8 ชั่วโมง
2. ค่ าพาหนะเดินทางสาหรับผู้เข้ ารับการฝึ กในวันทีม่ ารายงานตัวและเดินทางกลับ
เท่ าทีจ่ ่ ายจริง ไม่ เกินเที่ยวละ 1,000 บาท
3. ค่ าพาหนะเดินทางสาหรับผู้เข้ ารับการฝึ กในระหว่ างเข้ ารับการฝึ ก
เท่ าทีจ่ ่ ายจริงไม่ เกินวันละ 100 บาท เฉพาะวันที่เข้ ารับการฝึ ก
4. ค่ าอาหาร และค่ าอาหารว่ าง-เครื่องดื่ม สาหรับผู้เข้ ารับการฝึ ก/ผู้สอนหรือวิทยากร
เท่ าทีจ่ ่ ายจริง ไม่ เกินวันละ 200 บาทต่ อวัน (เฉพาะวันที่ฝึก)
ค่ าใช้ จ่ายในการดาเนินการฝึ ก
5. ค่ าเบีย้ เลีย้ งสาหรับผู้เข้ ารับการฝึ ก เท่ าทีจ่ ่ ายจริง เฉพาะวันทีเ่ ข้ ารับการฝึ ก
6. ค่ าทีพ่ กั สาหรับผู้เข้ ารับการฝึ ก เท่ าทีจ่ ่ ายจริง ไม่ เกินเดือนละ 3,000 บาท
หรือไม่ เกินวันละ 100 บาท
7. ค่ าเครื่องแต่ งกายสาหรับผู้เข้ ารับการฝึ ก เท่ าทีจ่ ่ ายจริง ไม่ เกิน 2,000 บาท
8. ค่ าจัดทาเอกสารประกอบการฝึ ก เท่ าทีจ่ ่ ายจริง ไม่ เกินคนละ 3,000 บาท
9. ค่ าอุปกรณ์ ป้องกันอันตรายส่ วนบุคคล หรือเครื่องมือประจาตัว เท่ าทีจ่ ่ ายจริง
ไม่ เกินคนละ 3,000 บาท
10. ค่ าประกันอุบัติเหตุระหว่ างการฝึ ก เท่ าทีจ่ ่ ายจริง ไม่ เกินคนละ 3,000 บาท
สิ ทธิประโยชน์
1. ได้ รับการหักค่ าไฟฟ้า และค่ านา้ ประปา เป็ นจานวนสองเท่ า
ของจานวนเงินทีผ่ ้ ูดาเนินการฝึ กได้ เสี ยไปเป็ นค่ าใช้ จ่ายในการ
ฝึ กอบรมฝี มือแรงงาน เพือ่ ประโยชน์ ในการคานวณภาษีเงินได้
2. ได้ รับยกเว้ นอากรขาเข้ าและภาษีมูลค่ าเพิม่ สาหรับเครื่องมือ
เครื่องจักรและอุปกรณ์ ทนี่ าเข้ ามาในราชอาณาจักร เพือ่ ใช้
ฝึ กอบรมในศูนย์ ฝึกอบรมฝี มือแรงงาน
การจัดทาแผนการฝึ กอาชีพทาอย่ างไร?
1. สถานประกอบการและสถานศึกษาร่ วมประชุม ปรึกษา
2. แนวคิดการทาแผนการฝึ กโดยสถานประกอบการ (ทักษะ ความรู้ พฤติกรรมที่ด)ี
3. ศึกษากระบวนการการทางานของสถานประกอบการ (ศึกษาหลักสู ตรตามสาขาวิชาที่เปิ ดสอน)
4. สรุปกระบวนการ > งานตามสาขาวิชา > วิเคราะห์ งาน > (งานหลัก,งานย่ อย)
5. ทาแผนการฝึ ก > กาหนดระยะเวลาการฝึ ก / เนือ้ หา
6. ศึกษากลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะและกลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก จากหลักสู ตร-> หน่ วยกิต เนือ้ หา
7. กาหนดรู ปแบบแผนการฝึ ก
การกาหนดแผนการฝึ กอาชีพ
สถานศึกษา โดยครู ผู้สอน
จัดทา
แผนการจัดการเรียนรู้
เป็ นเครื่องมือการสอน
รวมทั้งนามา
จัดทา
แผนการฝึ กอาชีพ
สถานประกอบการ
โดยครู นิเทศและครู ฝึก
นาหัวข้ อการสอนกับ
ลักษณะงาน
มาจัดทา
แผนการฝึ กอาชีพ
แผนการเรียนทวิภาคีอย่ างน้ อยครึ่งหลักสู ตรจัดอย่ างไร
ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนที่ 3 ภาคเรียนที่ 4 ภาคเรียนที่ 5 ภาคเรียนที่ 6
กลุ่มรายวิชา กลุ่มรายวิชา กลุ่มรายวิชา
แผนการเรียนรู้ครึ่งหลักสู ตร มาจัดทา
แผนการฝึ กอาชีพ
วิเคราะห์ รายการสอนรายวิชาเป็ นลักษณะงานในแผนการฝึ กอาชีพ
ผู้สอนเจ้ าของวิชาเติมเต็มเนือ้ หาวิชาหรือรายวิชาทีข่ าด
ผู้สอนรายวิชา/ครูฝึก นิเทศและประเมินผลการฝึ กอาชีพเป็ นรายวิชา
องค์ ประกอบในการพิจารณา
การจัดทาแผนการฝึ กอาชีพ
หลักสู ตร/งาน
เนือ้ หาและ
ระยะเวลาในการฝึ ก
กรอบโครงสร้ างหลักสู ตร
ทฤษฎี : ปฏิบตั ิ = 40 : 60
ป.ตรี
ปวส.
หลักเทคโนโลยี + อาชีพเฉพาะ + วิจัย
ทฤษฎี : ปฏิบตั ิ = 40 : 60
พืน้ ฐานวิชาชีพ + อาชีพเฉพาะ + วิจัย
ทฤษฎี : ปฏิบตั ิ = 20 : 80
ปวช.
พืน้ ฐานอาชีพ + ทักษะอาชีพเบ็ดเสร็จ + วิจัยอย่ างง่ าย
โครงสร้ างหลักสู ตร ปวช. 2556
1. หมวดวิชาทักษะชีวติ
2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ
2.1
(18) นก.
2.2
นก.
2.3
น้ อยกว่ า
2.4
(4) นก.
2.5
(4) นก.
ไม่ น้อยกว่ า
22 นก.
ไม่ น้อยกว่ า
71 นก.
กลุ่มทักษะวิชาชีพพืน้ ฐาน
กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ (24)
กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก ไม่
(21) นก.
ฝึ กประสบการณ์ ทักษะวิชาชีพ
โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ
แผนการเรียนทวิภาคีอย่ างน้ อยครึ่งหลักสู ตร
 สาขาวิชาช่างยนต์
 สาขาวิชาช่างไฟฟ้ า
 สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์
 สาขาวิชาบัญชี
 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
งานที่มอบหมายให้ แก่นักศึกษา
ตาแหน่ ง (Job Position)
ลักษณะงาน (Job Description)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
แผนการฝึ กอาชีพ ........................................................................
ชื่อสถานประกอบการ .................................ปี การศึกษา .........................................
ระดับ ....................................สาขาวิชา ...............................................
ที่
งาน/ลักษณะงาน
เวลาฝึ ก
ครูฝึก
รวมระยะเวลาการฝึ กตลอดหลักสู ตร (................................สั ปดาห์ )
รายวิชา/หน่ วยการเรียน
ตารางวิเคราะห์ สมรรถนะรายวิชาการฝึ กอาชีพในสถานประกอบการ
สาขาวิชา ......................... ชื่อวิชา ................................
สมรรถนะรายวิชา
วิเคราะห์ การสอนรายวิชา
หน่ วยที่ ..................... สมรรถนะ .....................
.....................
.....................
.....................
.....................
หน่ วยที่ ..................... สมรรถนะ .....................
.....................
.....................
.....................
.....................
1. ………………………………..
2. …………………………………..
3. …………………………………..
4. …………………………………..
5. …………………………………..
6. …………………………………..
7. …………………………………..
วิเคราะห์ งาน / วิเคราะห์ อาชีพ
งานหลัก
งานหลัก
งานย่ อย
งานย่ อย
งานย่ อย
งานย่ อย
งานย่ อย
งานย่ อย
แนวทางการจัดทาตารางการฝึ กอาชีพในสถานประกอบการ (แผนการฝึ กอาชีพ)
สาขาวิชา ................ สาขางาน ...................................
ภาคเรียน รายการฝึ กอาชีพ (งาน/ลักษณะงาน)
งานหลัก ................................
งานย่อย ........................
งานย่อย ........................
งานหลัก ................................
งานย่อย ........................
งานย่อย ........................
งานหลัก ................................
งานย่อย ........................
งานย่อย ........................
เวลาในการฝึ กอาชีพ (ชั่วโมง)
ปี ที่ 1
ปี ที่ 2
ปี ที่ 3
หมายเหตุ
ตารางแผนการนิเทศการฝึ กอาชีพในสถานประกอบการ (สาหรับครูฝึก)
สาขาวิชา ......................... วิชา ..................................
ภาค
เรียน
1
2
รายการฝึ กอาชีพ
สมรรถนะ .................................................
งานหลัก ...................................................
งานย่อย ............................................
งานย่อย .............................................
สมรรถนะ .................................................
งานหลัก ...................................................
งานย่อย ............................................
งานย่อย .............................................
ค่ าระดับคะแนน (ประจาเดือน..............)
5
4
3
2
1
หมาย
เหตุ
ตารางแผนการนิเทศการฝึ กอาชีพในสถานประกอบการ (สาหรับครูนิเทศ)
สาขาวิชา ......................... วิชา ..................................
ภาค
เรียน
1
2
เวลาในการฝึ กอาชีพต่ อภาคเรียน (ชม.)
รายการฝึ กอาชีพ
สมรรถนะ .................................................
งานหลัก .........................................................
งานย่ อย .................................................
งานย่ อย .................................................
สมรรถนะ .................................................
งานหลัก .........................................................
งานย่ อย .................................................
งานย่ อย .................................................
เดือน 1
เดือน 2 เดือน 3 เดือน 4
หมายเหตุ
ตารางการฝึ กอาชีพในสถานประกอบการ (สาหรับนักศึกษา)
ชื่อ นักศึกษา ................................ สาขาวิชา ....................... วิชา ..............................
ภาคเรียน
รายการฝึ กอาชีพ
สมรรถนะ ............................................................................
1
ขอบเขต (PC) ...........................................................
.......................................................
สมรรถนะ ............................................................................
2
ขอบเขต (PC) ...........................................................
.......................................................
สมรรถนะ ............................................................................
3
ขอบเขต (PC) ...........................................................
.......................................................
สถานประกอบการแจ้ งรายละเอียด
งานการศึกษาระบบทวิภาคี
(แบบ สอ.01)
อาจารย์นิเทศจัดทาปฏิทินการ
นิเทศติดตามการฝึ กประสบการณ์
วิชาชีพรายวิชา(แบบ สอ.06)
อาจารย์ นิเทศและครู ฝึกร่ วมกัน
ทารายงานการนิเทศการฝึ ก
ประสบการณ์ (แบบ สอ.07)
สถาบันและสถานประกอบการ
ร่ วมกันวิเคราะห์ ลกั ษณะงาน
(แบบ สอ.02)
กาหนดรายวิชาและรายละเอียด
เกีย่ วกับการศึกษาระบบทวิภาคี
(แบบ สอ.03)
ดาเนินการฝึ กอาชีพตามแผนการฝึ ก
อาชีพผู้ฝึกต้ องบันทึกใบลงเวลาการฝึ ก
ประสบการณ์ วชิ าชีพ(แบบ สอ.05)
การจัดทาแผนการฝึ กอาชีพ
เป็ นรายภาคเรียน
(แบบ สอ.04)
ครู ฝึกประเมินผลการปฏิบัติงาน
โดยใช้ แบบประเมินผลการ
ปฏิบัติงาน (แบบ สอ.08)
ครู ฝึกและอาจารย์ ประจาวิชาประเมินหรือ
ร่ วมกันประเมินโดยใช้ แบบประเมินผลการ
ฝึ กประสบการณ์ วชิ าชีพ (แบบ สอ.09,91)
แบบแจ้ งรายละเอียดงานการศึกษาระบบทวิภาคี
(สาหรับสถานประกอบการ)
1. ชื่อ ทีอ่ ยู่ของสถานประกอบการ (ภาษาไทย)
(ภาษาอังกฤษ)
เลขที่
ถนน
ซอย
ตาบล/แขวง
อาเภอ/เขต
จังหวัด
รหัส
โทรศัพท์
โทรสาร
Website
2. ผู้จัดการสถานประกอบการหรือผู้ได้ รับมอบหมาย
ชื่อ – นามสกุล
ตาแหน่ ง
โทรศัพท์
โทรสาร
E-mail
การติดต่ อประสานงานกับสถาบันการอาชีวศึกษา (การนิเทศงานนักศึกษา และอืน่ ๆ) ขอให้
( ) ติดต่ อกับผู้ซึ่งถูกระบุชื่อข้ างต้ นโดยตรง หรือ ( ) มอบหมายให้ บุคคลต่ อไปนีป้ ระสานงานแทน
ชื่อ – นามสกุล
ตาแหน่ ง
แผนก
โทรศัพท์
โทรสาร
E-mail
แบบ สอ.01
3. ผู้ควบคุมการฝึ กหรือครูฝึก
ชื่อ – นามสกุล
ตาแหน่ ง
โทรศัพท์
แผนก
โทรสาร
4. งานทีม่ อบหมายให้ แก่นักศึกษา
ตาแหน่ ง (Job Position)
E-mail
ลักษณะงาน (Job Description)
1.
…………………………………………………………………………………………………………………
……………
2.
…………………………………………………………………………………………………………………
…………..
แบบ สอ.02
แบบวิเคราะห์ ลกั ษณะงานของสถานประกอบการ
ของ สถาบันการอาชีวศึกษา ................. วิทยาลัย .....................ปี การศึกษา .........................
หลักสู ตร ...................................สาขาวิชา .......................................
ภาคเรียนที่ .............................
ที่
ลักษณะงาน
แผนก/สาขางาน รายวิชา/หน่ วยการเรียน เวลาฝึ ก
รวมระยะเวลาการฝึ กตลอดหลักสู ตร (...............................สั ปดาห์ )
แบบกาหนดรายวิชาและรายละเอียดเกีย่ วกับการศึกษาระบบทวิภาคี
แบบ สอ.03
1.การฝึ กประสบการณ์ วชิ าชีพโดยการศึกษาระบบทวิภาคี
1.1 ชื่องาน
1.2 วัตถุประสงค์
1) เพือ่ ให้ มีทกั ษะความรู้ความเข้ าใจเกีย่ วกับ
2) เพือ่ ให้ มีสมรรถนะเกีย่ วกับ
3) เพือ่ ให้ ผู้เข้ ารับการฝึ กอบรมได้ ฝึกปรับตนเองเข้ ากับชีวติ การทางาน ด้ วยการทดลอง
ปฏิบัติงานจริง
1.3 รายวิชาทีเ่ กีย่ วข้ อง
ลาดับ
รหัส
วิชา
ชื่อวิชา
1
2
3
4
รวม
ระยะเวลาฝึ ก (ชั่วโมง)
(ท-ป-น)
ทฤษฎี
ปฏิบัติ
1.4 เนือ้ หาวิชา
1) ชื่อวิชา
หัวข้ อวิชา
จานวน
ชั่วโมง
คาอธิบายเนือ้ หา
.................................................................................................................................
................................................................................................................................................
2) ชื่อวิชา
หัวข้ อวิชา
จานวน
ชั่วโมง
คาอธิบายเนือ้ หา
.................................................................................................................................
................................................................................................................................................
1.5 ผู้รับการฝึ ก
1.5.1 จานวน
คน ชาย
คน
หญิง
คน
1.5.2 คุณสมบัติ
1) อายุ
ปี
2) การศึกษา
3) อืน่ ๆ
2. สถานฝึ กประสบการณ์ วชิ าชีพ
ฝึ กงานในสถานประกอบการ
……………………………………..
3. ระยะเวลาการฝึ กประสบการณ์ วชิ าชีพ
เดือน
ชั่วโมง
ดาเนินการฝึ กระหว่ างวันที่
ถึงวันที่
4. วิธีการและมาตรฐานการวัดผลการฝึ กประสบการณ์ วชิ าชีพ (โดยเฉลีย่ ต้ องไม่ ต่ากว่ าร้ อยละ 60)
ภาคทฤษฎี
ร้ อยละ
ภาคปฏิบัติ
ร้ อยละ
อืน่ ๆ
(ไม่ ม)ี ร้ อยละ
แผนการฝึ กอาชีพ ........................................................................
ชื่อสถานประกอบการ .................................ปี การศึกษา .........................................
ระดับ ....................................สาขาวิชา ...............................................
ที่
งาน/ลักษณะงาน
เวลาฝึ ก
ครูฝึก
รวมระยะเวลาการฝึ กตลอดหลักสู ตร (................................สั ปดาห์ )
แบบ สอ.04
รายวิชา/หน่ วยการเรียน
แบบ สอ.05
สถาบันการอาชีวศึกษา .................................
ใบลงเวลาการฝึ กประสบการณ์ วชิ าชีพในสถานประกอบการ
ชื่อสถานประกอบการ
ที่ต้ งั
โทรศัพท์
โทรสาร
ระยะเวลาการฝึ กประสบการณ์ วชิ าชีพ ตั้งแต่
ชื่อ-สกุล นักศึกษา
ระดับ
สาขาวิชา
E-mail
ถึงวันที่
วัน/เดือน/ปี
เวลาเข้ า
ฝึ กอาชีพ
ลายเซ็น
นักศึกษา
เวลากลับ
ลายเซ็น
นักศึกษา
ลายเซ็น
ผู้ควบคุม
หมายเหตุ
รวมวันฝึ กปฏิบัติประสบการณ์ วชิ าชีพ ในสถานประกอบการ
วัน ลาป่ วย
ครั้ง/
วัน
ลากิจ
ครั้ง/ วัน สาย ......................ครั้ง
หมายเหตุ นักศึกษาที่ฝึกปฏิบัติประสบการณ์ วชิ าชีพในสถานประกอบการ ต้ องลงเวลาเข้ าฝึ กและลงเวลากลับจากการ
ฝึ กในสถานประกอบการทุกครั้งให้ ตรงกับความจริง
ปฏิทินการนิเทศติดตามผลการฝึ กประสบการณ์ วชิ าชีพรายวิชา
ภาคเรียนที่ .....................ปี การศึกษา ............................
ระดับ ....................สาขาวิชา ...................................
ชื่อครู นิเทศ .......................................................................................
แบบ สอ.06
ครั้งที่ออกนิเทศ
การเดินทางนิเทศ
หมาย
ทีต่ ้งั / จานวน
ครั้งที่ ครั้งที่ ครั้งที่ ครั้งที่ ชื่อสถานประกอบการ
รถยนต์
เหตุ
โทรศัพท์ นักศึกษา รถวิทยาลัย
อืน่ ๆ
ส่ วนตัว
1
2
3
4
วันที่
รายงานการนิเทศการฝึ กประสบการณ์ วชิ าชีพ
สถาบันการอาชีวศึกษา
เดือน
พ.ศ.
ชื่อ-สกุล อาจารย์ นิเทศ
ชื่อสถานประกอบการ
โทรศัพท์
ระหว่ างเวลา
ถึง
ในรายวิชา
จานวน
 นักศึกษาทีไ่ ด้ รับการนิเทศ จานวน
คน
ระบบ  ปกติ  ทวิภาคี
ระดับ  ปวช.
 ปวส.  ปริญญาตรี
ข้ อเสนอแนะ จากสถานประกอบการ
ปัญหาทีพ่ บ
แบบ สอ.07
ชั่วโมง
การแก้ปัญหา
ลงชื่อ
(...................................................)
อาจารย์นิเทศ
ลงชื่อ
(
)
ครู ฝึกในสถานประกอบการ
ข้ าพเจ้ า (นาย,นางสาว)
จะปฏิบัตติ นตามแนวทางแก้ปัญหา
ลงชื่อ
(.................................................)
นักศึกษา
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน
ทักษะการปฏิบัติงาน (PROFESSIONAL SKILLS)
หัวข้ อการประเมิน
1. ทักษะหลัก (Core Skills)
1.1 มีความรู้ความสามารถเพียงพอต่ อภาระหน้ าทีท่ ไี่ ด้ รับมอบหมาย
1.2 มีทักษะความชานาญในการปฏิบัตงิ านตามภาระหน้ าทีท่ ี่ได้ รับ
มอบหมาย
1.3 ความรู้ความเข้ าใจต่ อลักษณะงานทีไ่ ด้ รับมอบหมาย
1.4 มีความสามารถในการตัดสิ นใจทีจ่ ะปฏิบัตงิ านได้ ดี ถูกต้ อง รวดเร็ว
1.5 มีการวิเคราะห์ ข้อมูลและปัญหาต่ างๆอย่ างรอบคอบ
แบบ สอ.08
ระดับความสามารถ
5 4 3 2 1
ระดับความสามารถ
5 4 3 2 1
หัวข้ อการประเมิน
1.6 สามารถใช้ ภาษาในการติดต่ อสื่ อสาร เพียงพอต่ อหน้ าทีท่ ี่ได้ รับมอบหมาย
1.7 ใช้ คอมพิวเตอร์ หรือเทคโนโลยีใหม่ ๆ วิเคราะห์ ข้อมูล รายงานผลได้
1.8 มีความสามารถทีจ่ ะปฏิบัติงานทีไ่ ด้ รับมอบหมายให้ สาเร็จลุล่วง
1.9 มีความคิดวิเคราะห์ ริเริ่มสร้ างสรรค์ และเป็ นประโยชน์ ต่อภาระหน้ าที่
1.10 มีความสามารถในการดาเนินการโครงงานได้ ตรงตามแผนและมีคุณภาพ
หมายเหตุ
5
4
3
หมายถึง
หมายถึง
หมายถึง
มากทีส่ ุ ด
มาก
ปานกลาง
2
1
หมายถึง
หมายถึง
น้ อย
น้ อยทีส่ ุ ด
หัวข้ อการประเมิน
ระดับความสามารถ
5 4 3 2 1
2. ทักษะอาชีพ (Technical Skills)
2.1
2.2
2.3
2.4
2.5
2.6
หมายเหตุ : นาข้ อมูลภาระหน้ าที่ (Job Description) ของอาชีพที่นักศึกษาปฏิบัติ มา
วิเคราะห์ เพือ่ กรอกลงในช่ องทักษะอาชีพ (Technical Skills)
13/04/58
ข้ อคิดเห็นหรือข้ อเสนอแนะเพิม่ เติม
ลงชื่อ
(
ครูฝึก/อาจารย์ นิเทศ
วันที่ เดือน
พ.ศ.
)
แบบประเมินผลการฝึ กประสบการณ์ วชิ าชีพ
ความร่ วมมือระหว่ างสถาบันการอาชีวศึกษา ..........กับ .................
ชื่อ…….....……..…….นามสกุล.....................
สถิตกิ ารฝึ กประสบการณ์ วชิ าชีพ
สาขาวิชา.................ระดับ.............ชั้น..........
ระยะเวลาที่ประเมินตั้งแต่ วนั ที่……เดือน.........พ.ศ......
ภาคเรียนที่.................../.....................
ฝึ กประสบการณ์ วชิ าชีพระหว่ างวันที่…………
เดือน.....................พ.ศ......
ถึงวันที่.........เดือน..................พ.ศ.........
( ) มาสาย ...................ครั้ง
( ) ขาดงาน..................วัน
ถึงวันที่.........เดือน...................พ.ศ...............
( ) ลาป่ วย ...................ครั้ง
( ) ลากิจ ....................วัน
แบบ สอ.09
ลาดับ
ที่
หัวข้ อที่ประเมิน
ส่ วนที่ 1 ประเมินความรู้ (20 คะแนน)
1 ความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับงานทีไ่ ด้ รับมอบหมาย
2 ความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
3 ความเอาใจใส่ ต่องานทีไ่ ด้ รับมอบหมาย
4 มีความรู้ ความสามารถในสาขาวิชาชีพทีเ่ รียน
รวม
คะแนนรวม
คะแนนที่ได้
ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ไม่ ผ่าน
(5) (4) (3)
(2)
(1)
ลาดับ
ที่
หัวข้ อที่ประเมิน
ส่ วนที่ 2 ประเมินด้ านทักษะ/ผลงาน (25 คะแนน)
5 ปริมาณงานที่ทาได้ และเสร็จตามเป้าหมายที่ได้ กาหนดไว้
6 ผลงานมีคุณภาพ ทางานด้ วยความรอบคอบและปลอดภัย
7 วิเคราะห์ และการแก้ปัญหาในการทางานได้
8 ทักษะในการสื่ อสาร
9 บารุงรักษาเครื่องมือเครื่องใช้ และทรัพย์ สินขององค์กร
รวม
คะแนนรวม
คะแนนทีไ่ ด้
ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ไม่ ผ่าน
(5) (4) (3)
(2)
(1)
ลาดับ
ที่
หัวข้ อที่ประเมิน
ส่ วนที่ 3 ประเมินด้ านคุณธรรม จริยธรรม (25 คะแนน)
10 การแต่ งกายและการปฏิบัติตามกฎระเบียบวินัย/
กิริยามารยาท
11 การตรงต่ อเวลา ความซื่อสั ตย์
12 ความขยัน อดทน และความซื่อสั ตย์
13 การรักษาสิ่ งแวดล้อมและไม่ เกีย่ วข้ องกับสิ่ งเสพติด
14 ความร่ วมมือกับองค์กรและยอมรับฟังความคิดเห็นผู้อนื่
รวม
คะแนนรวม
คะแนนรวมทั้ง 3 ส่ วน
คะแนนทีไ่ ด้
ดีมาก
พอใช้ ปรับปรุง ไม่ ผ่าน
ดี (4)
(5)
(3)
(2)
(1)
13/04/58
ข้ อเสนอแนะ
…………………………………………………………………
……..……………………………..
…………………………………………………………………
…………………………………….
หมายเหตุ โปรดประทับตราของสถานประกอบการ
ลงชื่อ
ครู ฝึก/อาจารย์ ประจาวิชา
(................................)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (ระดับ ป.ตรี)
ระยะเวลาประเมิน / Period of review from…………………………………………………………………..
ชื่อผู้ถูกประเมิน / Appraiser’s name……………………………………………..
ตาแหน่ ง/Position……………………..........
แผนก/Department ……………………………………… ลักษณะงาน ............................................
วันเริ่มงาน / Date of employment …………………………………………………………………
ชื่อผู้ประเมิน/Appraiser’s Name ......................................................
ตาแหน่ ง/Position…………………………………
บันทึกเอกสารผลงาน
หนังสื อชมเชย .................................... ฉบับ
หนังสื อเตือน ..................................... ฉบับ
สถิตกิ ารมาทางาน
ลาป่ วย ……………………………… วัน
ลากิจ ............…………………… วัน
ขาดงาน ....………………………….. วัน
สาย ..……………………………. วัน
แบบ สอ.91
ส่ วนที่ 1 การประเมินผลการปฏิบัติงาน
เกณฑ์ การประเมินผล
1 หมายถึง ผลการปฏิบัติงานไม่ เป็ นทีย่ อมรั บ (Unacceptable) ไม่ สามารถทางานให้ บรรลุ
ตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ เป็ นประจา และไม่ สามารถทางานได้ ตามมาตรฐานทีก่ าหนดไว้ ผล
ของการปฏิบัติงานไม่ เป็ นทีย่ อมรับเมื่อเทียบกับตาแหน่ งทีป่ ฏิบตั ิงานอยู่ในปัจจุบัน ไม่ สามารถแสดง
ให้ เห็นได้ ว่าปฏิบัติงานตามปรัชญาขององค์กรแม้ แต่ น้อย
2 หมายถึง ผลการปฏิบัติงานมีคุณภาพไม่ สม่าเสมอ (Inconsistent) ไม่ สามารถทางานให้
บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ อยู่บ่อยครั้ง และไม่ สามารถปฏิบัติงานให้ เป็ นไปตามมาตรฐานที่
กาหนดไว้ ซึ่งผลการปฏิบัติงานจาเป็ นต้ องปรับปรุงเมื่อเทียบกับตาแหน่ งทีป่ ฏิบัตงิ านอยู่ในปัจจุบัน
ไม่ ปฏิบัติตามปรัชญาขององค์กรอยู่บ่อยครั้ง
3 หมายถึง ผลการปฏิบัติงานมีคณ
ุ ภาพพอใช้ (Acceptable) ปฏิบัติงานตามปรัชญาขององค์กรเป็ น
บางครั้ง และสามารถปฏิบัติได้ ตามมาตรฐานทีก่ าหนดไว้ สามารถทาตามข้ อกาหนดได้ ครบสาหรับ
ตาแหน่ งทีป่ ฏิบัติงานอยู่ในปัจจุบนั นาปรัชญาขององค์กรไปปรับใช้ ในการทางาน
4 หมายถึง ผลการปฏิบัติงานมีคณ
ุ ภาพดี (High) ปฏิบัติงานตามปรัชญาขององค์ กรอย่ างสม่าเสมอ
และสามารถทางานได้ ตามมาตรฐานที่กาหนดไว้ สามารถทาตามข้ อกาหนดได้ ครบสาหรับตาแหน่ งที่
ปฏิบัติงานอยู่ในปัจจุบัน นาปรัชญาขององค์กรไปปรับใช้ ในการทางานอย่ างสม่าเสมอ
5 หมายถึง ผลการปฏิบัติงานมีคณ
ุ ภาพดีเยีย่ ม (Exceptional) สามารถปฏิบัติตามมาตรฐานการ
ปฏิบัติงานขององค์กรได้ เป็ นอย่ างดี สามารถปฏิบัติงานได้ เกินกว่ าข้ อกาหนดสาหรับตาแหน่ งทีป่ ฏิบัติงาน
อยู่ในปัจจุบัน นาปรัชญาขององค์กรไปปรับใช้ ในการปฏิบัตงิ านอย่ างสมา่ เสมอ และสามารถหาวิธีการใหม่ ๆ
ที่จะพัฒนาตนเอง เป็ นตัวอย่ างทีด่ ีต่อคนอืน่
ส่ วนที่ 1.1 ความสาเร็จของผลงาน
โปรดทาเครื่องหมาย ( √ ) ในช่ องทีต่ ้ องการ
ความสาเร็จของผลงาน
Unacceptable
Inconsistent
Acceptable
High
Exceptional
1. ปริมาณงาน
1
2
3
4
5
ปริมาณงานที่ทาเสร็จ ความรวดเร็วในการทางาน ความสมา่ เสมอของผลงาน ทางานส่ งทันเวลาที่กาหนด
ความคิดเห็น :
2. คุณภาพในงาน
1
2
3
4
5
ความถูกต้ องของผลงานและความใส่ ใจในรายละเอียด ไม่ มคี วามบกพร่ องในชิ้นงาน ทางานโดยยึดมาตรฐานขั้นตอนการ
ทางานระดับสู ง
ความคิดเห็น :
3. การตัดสิ นใจ
1
2
3
4
5
ตัดสิ นใจได้ อย่ างถูกต้ อง ใช้ อานาจในการทางานทีไ่ ด้ รับมอบหมายอย่ างเหมาะสมเพือ่ ตอบสนองความต้ องการของลูกค้ า
ได้ ทนั ท่ วงที มีการติดตามผลการตัดสิ นในอย่างเหมาะสมและทันเวลา
ความคิดเห็น :
1
2
3
4
5
4. ความน่ าเชื่อถือ
ไว้ วางใจได้ อาศัยการตรวจสอบดูแลจากหัวหน้ างานเพียงเล็กน้ อย ติดตามผลการทางานทีไ่ ด้ รับมอบหมายจนกว่ าจะ
สาเร็จ
ความคิดเห็น :
1
2
3
4
5
5. การมาปฏิบัตงิ าน
เข้ างานสมา่ เสมอ ตรงเวลา และมีความขยันหมัน่ เพียร มาปฏิบัตงิ านตามทีไ่ ด้ ร้องขอไปอย่ างถูกต้ อง
ความคิดเห็น :
1
2
3
4
5
6. การรักษาความปลอดภัย
และการดูแลรักษาอุปกรณ์ ใน
สานักงาน
ทางานด้ วยความมุ่งมัน่ ทีจ่ ะสร้ างความปลอดภัยภายในแผนก รักษาสถานทีท่ างานให้ สะอาด ใช้ มาตรการบารุ งรักษาโดย
การป้ องกันปฏิบัติงานตามข้ อบังคับความปลอดภัยในการทางาน คู่มอื ปฏิบัติ และคู่มอื พนักงาน
ความคิดเห็น :
7. ทัศนคติและความสั มพันธ์
1
2
3
4
5
กับผู้อนื่
นาแนวความคิดและปรัชญาแห่ งความเป็ นองค์ กรพร้ อมทั้งปรัชญาไปปรับใช้ กบั การทางาน สุ ภาพ เรียบร้ อย ให้ ความ
ร่ วมมือกับผู้อนื่ ให้ ความเคารพต่ อผู้อนื่ สามารถทางานเป็ นทีมกับเพือ่ นร่ วมงานหรือผู้บังคับบัญชาได้ ยินดีปฏิบัตติ าม
ข้ อบังคับขององค์ กร มีทักษะการสร้ างมนุษยสั มพันธ์ ทดี่ กี บั ผู้อนื่ เช่ น สามารถทางานทีเ่ ร่ งด่ วนได้ รับสถานการณ์ ได้ ดี
สุ ขุมรอบคอบ มีความสามารถในการเจรจาต่ อรองและมีไหวพริบ สามารถรักษามารยาททีด่ ไี ว้ แม้ เร่ งรีบ รังฟังคาติชม
มีทักษะการใช้ ภาษากายและทักษะการติดต่ อสื่ อสารอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
ความคิดเห็น :
8. การพัฒนาตนเอง
1
2
3
4
5
ความสามารถในการยอมรับความรู้ ใหม่ คาแนะนาหรือคาสอน แสดงออกให้ เห็นถึงความคิดสร้ างสรรค์ และสามารถ
ฝึ กการเรียนรู้ ได้ ด้วยตนเอง เข้ าไปมีส่วนร่ วมกับการฝึ กอบรมที่องค์ กรจัดให้ และกระตือรือร้ นต่ อกิจกรรมการ
ปรับปรุ งงาน
ความคิดเห็น :
1
2
3
4
5
9. ความประพฤติและการ
ปฏิบัตติ ามระเบียบวินัย
ปฏิบัตติ ามนโยบายและกฎระเบียบข้ อบังคับขององค์ กรอย่ างสม่าเสมอ แต่ งกายเหมาะสมตามหลักการแต่ งกายของ
องค์ กร เป็ นตัวแทนทีม่ ภี าพลักษณ์ ของความเป็ นมืออาชีพ
ความคิดเห็น :
1
2
3
4
5
10. ความสาเร็จของงานใน
ความรับผิดชอบหรืองานที่
ได้ รับมอบหมาย
พิจารณาจากความสาเร็จของงานทีไ่ ด้ รับมอบหมายในระยะเวลาที่กาหนด มีประสิ ทธิภาพในการใช้ งบประมาณโดย
ตระหนักถึงต้ นทุน การดาเนินงานและส่ งผลต่ อความสาเร็จขององค์ กร
ความคิดเห็น :
คะแนนรวม ส่ วนที่ 1.1 ความสาเร็จของผลงาน Total scores ….34.....…. X2 = ……68…………
คะแนน
0 – 49 50 – 54 55 – 59 60 – 64 65 - 69 70 - 74 75 - 79 80 - 100
ระดับ
0
1
1.5
2
2.5  3
3.5
4
ความสาเร็จ
คะแนน
80 – 100
75 – 79
70 – 74
65 – 69
60 – 64
55 – 59
50 – 54
0 – 49
ระดับผลการประเมิน
ผลการประเมิน
4
ผลการปฏิบัติงานมีคุณภาพดีเยีย่ ม
3.5
ผลการปฏิบัตงิ านมีคุณภาพดีมาก
3
ผลการปฏิบัตงิ านมีคุณภาพดี
2.5
ผลการปฏิบัตงิ านมีคุณภาพดีพอใช้
2
ผลการปฏิบัตงิ านมีคุณภาพพอใช้
1.5
ผลการปฏิบัตงิ านมีคุณภาพอ่ อน
1
ผลการปฏิบัตงิ านมีคุณภาพอ่ อนมาก
0
ผลการปฏิบัติงานไม่ ผ่าน (ตก)
ส่ วนที่ 1.2 สมรรถนะ และพฤติกรรมการทางาน
มาตรฐานสมรรถนะและพฤติกรรมการทางาน
ให้ พจิ ารณาสมรรถนะและพฤติกรรมการทางานแต่ ละข้ อ และระบุระดับมาตรฐานสมรรถนะและพฤติกรรมทางาน โดย
ทาเครื่องหมาย ( √ ) ลงในช่ องที่เหมาะสม
สมรรถนะและพฤติกรรม
การทางาน
Unacceptable
1. ความรู้ และทักษะในงาน
1
(Job Knowledge and
ความคิดเห็น :
Skills) แสดงออกถึงทักษะ
และความรู้ ท้งั ในแง่ เนือ้ หา
และการปฏิบัตใิ นการทางาน
ให้ ประสบผลสาเร็จอย่างมี
ประสิ ทธิภาพและ
ประสิ ทธิผล
ระดับคะแนน
Inconsistent Acceptable
2
3
High
4
Exceptional
5
สมรรถนะและพฤติกรรมการ
ทางาน
Unacceptable
2. การปรับตัว (Adaptability)
1
สามารถปรับตัว เมือ่ มีการ
ความคิดเห็น :
เปลีย่ นแปลงทั้งในนโยบายและ
กระบวนการทางาน หรือมีการ
ทางานท่ ามกลางบุคลากรทีม่ าจาก
วัฒนธรรมหรือประเทศที่แตกต่ าง
ระดับคะแนน
Inconsistent Acceptable
2
3
High
4
Exceptional
5
สมรรถนะและพฤติกรรมการ
ทางาน
Unacceptable
3. ความกระตือรือร้ น
1
(Energetic) สามารถทางานของ ความคิดเห็น :
ตนให้ ประสบผลสาเร็จด้ วย
ความรู้ สึกตืน่ ตัว มี
ประสิ ทธิภาพและมุ่งมัน่ อยู่
เสมอ แม้ จะต้ องทางานเป็ น
ระยะเวลานาน
ระดับคะแนน
Inconsistent
Acceptable
2
3
High
4
Exceptional
5
สมรรถนะและพฤติกรรมการ
Unacceptable
ทางาน
1
4. ความไว้ ใจได้ (Reliability)
สามารถไว้ วางใจได้ ในการทางานให้ ความคิดเห็น :
ประสบผลสาเร็จและการติดตาม
งาน รวมทั้งการทางานสาเร็จตาม
เป้ าหมายที่กาหนดโดยไม่ มี
ข้ อผิดพลาด
ระดับคะแนน
Inconsistent
Acceptable
2
3
High
4
Exceptional
5
สมรรถนะและพฤติกรรมการ
ทางาน
Unacceptable
5. การทางานเป็ นทีม
1
(Teamwork) มีความสั มพันธ์ ความคิดเห็น :
ทีด่ ใี นการทางานกับผู้อนื่ และ
เต็มใจทีจ่ ะช่ วยเหลือเพือ่
ร่ วมงาน รวมทั้งทางานด้ วย
ความร่ วมมือกับผู้อนื่ อย่างดี
เพือ่ จะบรรลุเป้ าหมายร่ วมกัน
ระดับคะแนน
Inconsistent
Acceptable
2
3
High
4
Exceptional
5
คะแนนรวม ส่ วนที่ 1.2 สมรรถนะ และพฤติกรรม
Total scores …..18...…. X4 = ……72……
การทางาน
คะแนน
0 – 49 50 – 54 55 – 59 60 – 64 65 - 69 70 - 74 75 - 79 80 - 100
ระดับ
0
1
1.5
2
2.5
3  3.5
4
สมรรถนะ
ส่ วนที่ 2 ระดับผลการประเมิน
ระดับผลการประเมินมาจากคะแนนของความสาเร็จของผลงานและสมรรถนะ/พฤติกรรมการทางาน
คะแนนรวมเฉลีย่ ส่ วนที่ 1.1 + ส่ วนที่ 1.2 = ……68+72 = ……140…… ÷ 2 = ……70……………
คะแนน
ระดับผลการประเมิน
ผลการประเมิน
80 – 100
4
ผลการปฏิบัติงานมีคุณภาพดีเยีย่ ม
75 – 79
3.5
ผลการปฏิบัติงานมีคุณภาพดีมาก
70 – 74
3
ผลการปฏิบัติงานมีคุณภาพดี
65 – 69
2.5
ผลการปฏิบัติงานมีคุณภาพดีพอใช้
60 – 64
2
ผลการปฏิบัติงานมีคุณภาพพอใช้
55 – 59
1.5
ผลการปฏิบัติงานมีคุณภาพอ่ อน
50 – 54
1
ผลการปฏิบัตงิ านมีคุณภาพอ่ อนมาก
0 – 49
0
ผลการปฏิบัติงานไม่ ผ่าน (ตก)
ได้ ระดับผลการประเมิน ........3.....................
ส่ วนที่ 2 ความเห็นผู้ถูกประเมินพร้ อมลายเซ็น
ผู้รับการประเมิน
.................................................................................
................................................................................
................................................................................
.......................................................................
(.....................................................................)
วันที่ ....................................................
ส่ วนที่ 3 ความเห็นผู้ประเมินและการอนุมัติ
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
คา 4 คา ทีไ่ ม่ ควรพูด
เหนื่อย
ยาก
ทาไม่ ได้
ไม่ มีเวลา
งานหนัก...............ก็แค่ อดทน
งานล้ น..................ก็แค่ สู้ ไว้
ท้ อแท้ ....................ก็หากาลังใจ
เมือ่ ทุกอย่ างผ่ านไป
หัวใจก็เบิกบาน
ยาชะลอความแก่ 10 เม็ด
เม็ดที่
เม็ดที่
เม็ดที่
เม็ดที่
เม็ดที่
เม็ดที่
เม็ดที่
เม็ดที่
เม็ดที่
เม็ดที่
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
หัดรักให้ เป็ น
หัดใจเย็นเข้ าไว้
หัดคลายวิตก
หัดพกอารมณ์ ขัน
หมัน่ บริหารกายจิต
หัดคิดทันสมัย
หัดรู้ จักให้ อภัย
หัดเข้ าใจคนอืน่
อย่ าฝื นความจริง
หัดสงบนิ่งให้ เป็ น