มาตรฐานสินค้าเกษตรสู่ AEC

Download Report

Transcript มาตรฐานสินค้าเกษตรสู่ AEC

มาตรฐานสิ นค้ าเกษตรสู่ AEC
โดย นางสาวนลินทิพย์ เพณี
นักวิชาการมาตรฐานชานาญการพิเศษ
สานักงานมาตรฐานสิ นค้ าเกษตรและอาหารแห่ งชาติ (มกอช.)
1
หัวข้อบรรยาย
•
•
•
•
•
การค้ าสิ นค้ าเกษตรและอาหารไทยในตลาดโลก/อาเซียน
AEC กับมาตรฐาน
มาตรฐานสิ นค้ าเกษตรของอาเซียน
มาตรฐานตรฐานสิ นค้ าเกษตรไทย
ถาม/ตอบ
2
ประเทศไทยส่ งออกอาหารไปทั่วโลก กว่ า 200 ประเทศ
Canada
UK
USA
Russian
EU
Japan
Federation
China
Indian
Mexico
THAILAND
่ ออกอาหาร ปี 2556
แนวโน้มมูลค่าสง
ประมาณ 9 แสนล้านบาท
ิ ค้าเกษตรกว่า 6 แสนล้านบาท)
(สน
3
4
ภาพรวมโครงสร้ างประชาคมอาเซียน
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)
เปรี ยบเสมือนธรรมนูญของอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
(ASEAN Community)
ประชาคมการเมือง
และความมัน่ คง
อาเซียน (APSC)
ประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซี ยน (AEC)
ประชาคมสังคมและ
วัฒนธรรม
อาเซียน (ASCC)
ความเชื่อมโยงระหว่ างกันในอาเซียน (ASEAN Connectivity)
การเชื่อมโยงทาง
กายภาพ
การเชื่อมโยงด้ าน
กฏระเบียบ
การเชื่อมโยงระหว่ าง
ประชาชน 5
การติดตามความก้ าวหน้ าในการดาเนินงานในระดับอาเซียน
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) กาหนดกรอบกว้ าง
ประชาคมการเมืองและ
ความมั่นคงอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน
ประชาคมสั งคมและ
วัฒนธรรมอาเซียน
APSC Blueprint
AEC Blueprint
ASCC Blueprint
AEC Scorecard
ASCC Scorecard
แผนแม่ บทว่ าด้ วยความเชื่อมโยงระหว่ างกันในอาเซียน
(Master Plan on ASEAN Connectivity)
6
เป้าหมาย AEC Blueprint
1. เป็ นตลาดและฐานการผลิตร่วม
2. มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูง
สินค้าเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี
ทาธุรกิจบริการได้อย่างเสรี
ไปลงทุนได้อย่างเสรี
แรงงานมีฝีมือไปทางานได้อย่างเสรี
เงินทุนเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีมากขึ้น
ปี 2015
3. มีพฒ
ั นาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค
สนับสนุนการพัฒนา SMEs
ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างสมาชิก
e-ASEAN
นโยบายภาษี
นโยบายการแข่งขัน
การคุม้ ครองผูบ้ ริโภค
สิทธิทรัพย์สินทางปั ญญา
สิทธิทรัพย์สินทางปั ญญา
4. บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ
สร้างเครือข่ายการผลิต จาหน่าย
จัดทา FTA กับประเทศนอกอาเซียน
7
เป้าหมาย AEC Blueprint
A – ตลาดและฐานการผลิตเดียว
A 1-5 : การเคลื่อนย้ ายเสรี (สินค้ า บริการ
การลงทุน เงินทุนแรงงานฝี มือ)
A 6 : เร่ งรั ดการรวมกลุ่มรายสาขา
A 7 : อาหาร เกษตรกรรม และการป่ าไม้
8
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
อาเซียนจะรวมตัวเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
ภายในปี 2558 (ค.ศ.2015) โดยมีแนวคิดว่ าอาเซียนจะ
กลายเป็ นเขตการผลิตเดียว ตลาดเดียว หรือ Single
market and production base นั่นหมายถึง จะต้ องมีการ
เคลื่อนย้ ายปั จจัยการผลิตได้ อย่ างเสรี สามารถดาเนิน
กระบวนการผลิตที่ไหนก็ได้ โดยสามารถใช้ ทรัพยากรจาก
แต่ ละประเทศ ทัง้ วัตถุดบิ และแรงงานมาร่ วมในการผลิต
มีมาตรฐานสินค้ า กฎเกณฑ์ กฎระเบียบเดียวกัน
การบังคับใช้ มาตรฐานตามกรอบขององค์ การการค้ าโลก
► เพือ
่ ความปลอดภัย
► เพือ
่ สุ ขอนามัย (คน สั ตว์ พืช)
► เพือ
่ คุ้มครองผู้บริโภค
► เพือ
่ สิ่ งแวดล้ อม
► เพือ่ ความมั่นคงของประเทศ
10
กติกาด้ านมาตรฐานขององค์ การการค้ าโลก
• โปร่ งใส
• ปฏิบัตเิ สมอภาค
• อ้ างอิงมาตรฐานระหว่ างประเทศ - Codex, IPPC, OIE
• ปรับมาตรฐานเข้ าหากัน
• ยอมรับมาตรฐานและผลการทดสอบ/รับรองทีเ่ ท่ าเทียมกัน
11
แนวทางกาหนดมาตรฐานของอาเซียน/ประเทศ
 ประยุกต์ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์และหลักการ
วิเคราะห์ความเสี่ ยงสาหรับการกาหนดมาตรฐานความ
ปลอดภัยอาหาร
 นามาตรฐาน Codex ไปใช้
 มีส่วนร่ วมในการกาหนดมาตรฐาน Codex
ASEAN Bodies Related to Food Safety
ASEAN
Economic
Community
ASEAN Ministers Meeting
on Agriculture & Forestry
(AMAF)
ASEAN
Shrimp
Alliance
ASEAN
Contact Point
on SPS
(ASCP)
Senior Officials Meeting on
Agriculture& Forestry
(SOM-AMAF)
ASEAN
Sectoral
Working
Group on
Fisheries
(ASWGFi)
ASEAN
Sectoral
Working
Group on
Livestock
(ASWGL)
ASEAN
Sectoral
Working
Group on
Crops
(ASWGC)
ASEAN
Focal Point
on
Veterinary
Product
ASEAN
Expert
Working
Group on
Maximum
Residue
Limits of
Pesticides
(EWG-MRL)
ASEAN
Meeting on
Standards for
Horticultural
Produce
(AMSHP)
ASEAN
Task
Force
on
Codex
(ATFC)
ATF on Organic
Agriculture
ASEAN
Food
Safety
Network
(AFSN)
ASEAN
Expert
Working
Group on
ASEAN Good
Agricultural
Practices
(EWG-ASEAN
GAP)
ASEAN Socio-Cultural
Community
ASEAN Free
Trade Agreement
Council
(AFTA Council)
ASEAN GMO Food
Testing Network
(GMF NET)
ASEAN
Sectoral
Working
Group on
Halal
(AWG HALAL )
ASEAN Economic
Ministers
Meeting
(AEM)
ASEAN
Rapid Alert
from food
and feed
(ARASFF)
ASEAN Expert
Working Group on
Harmonization of
Phytosanitary
Measures
(AWGPS)
ASEAN Health
Ministers
Meeting
(AHMM)
Senior Officials
on Health
Development
(SOM-HD)
Senior Economic
Officials Meeting
(SEOM)
Coordinating
Committee on
ATIGA (CCA)
ASEAN
Committee on
Sanitary and
Phytosanitary
Measures
(AC-SPS)
ASEAN Food
Testing
Laboratories
Committee
(AFTLC)
ASEAN
Consultative
Committee on
Standards and
Quality (ACCSQ)
Prepared
Foodstuff
Product Working
Group (PFPWG)
Task Force on
Harmonization
of Prepared
Foodstuff
Standards
Task Force on
Development
of MRA for
Prepared
Foodstuff
ASEAN Expert
Group on Food
Safety (AEGFSs)
ASEAN Risk
Assessment
Center
(ARAC)
ASEAN Ministers
Meeting on
Science &
Technology
(AMMST)
Committee
on Science
and
Technology
(COST)
SubCommittee
on Food
Science and
Technology
(SCFST)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
Single Market
Single Standard
Standard Harmonization
14
กิจกรรมการมาตรฐาน
การกาหนดมาตรฐาน
(Standards Development)
การตรวจสอบและรับรอง
(Conformity Assessment)
มาตรวิทยา
(Metrology)
ASEAN Standard & Conformance Framework
16
การร่ วมกาหนดมาตรฐานอาเซียน
ภายใต้ รัฐมนตรีเกษตรและป่ าไม้ -AMAF
1. มาตรฐานพืชสวนและพืชอาหาร - Task Force on the ASEAN Standards for Horticultural
Produce and other Food Crops (TF MASHP )
 สิ นค้ าพืชสวนและพืชอาหาร ประกาศรับรองแล้ว 40 เรื่อง
- มาตรฐานผลไม้ จานวน 20 เรื่อง ได้ แก่ ทุเรียน มะม่ วง สับปะรด มะละกอ เงาะ มังคุด
แตงโม ส้ มโอ ส้ มเปลือกล่ อน ฝรั่ง ลองกอง มะพร้ าวอ่ อน กล้ วย ขนุน เมล่ อน สละ ชมพู่ ละมุด
น้ อยหน่ า และมะขามหวาน
- มาตรฐานผัก/เครื่องเทศ จานวน 15 เรื่อง ได้ แก่ กระเทียม หอมแดง กระเจี๊ยบเขียว
มะเขือยาว พริกหวาน พริก หอมใหญ่ ฟั กทอง ข้ าวโพดหวาน แตงกวา ถั่วฝั กยาว กะหล่าปลี
เห็ดนางรม มันเทศ และขมิน้
- มาตรฐานพืชอื่นๆ จานวน 5 เรื่อง มะม่ วงหิมพานต์ ถั่วลิสง เมล็ดกาแฟ ชา และโกโก้
 เกษตรอินทรีย์ (Organic agriculture)
17
การร่ วมกาหนดมาตรฐานอาเซียน
ภายใต้รฐั มนตรีเกษตรและป่ าไม้-AMAF
2.การกาหนดค่ าปริมาณสารพิษตกค้ าง (MRL)- Expert WG on the
Harmonization of MRL of Pesticide among ASEAN Members : EWG-MRL
กาหนดค่ า ASEAN-MRL ของสารพิษตกค้ างได้ มากกว่ า 800 ชนิด สอดคล้ อง
กับมาตรฐาน Codex และข้ อมูลการใช้ สารเคมี/ข้ อมูลสารพิษตกค้ างของ
ประเทศสมาชิกอาเซียน และข้ อมูลการใช้ สารเคมี/ข้ อมูลสารพิษตกค้ างของ
ประเทศสมาชิกอาเซียน
3. การปฏิบัตทิ างการเกษตรทีด่ ี (Good Agricultural Practices GAP) ของ
ASEAN หรือ ASEAN GAP ครอบคลุม 3 กลุ่มสิ นค้ า คือ ผักผลไม้ สด
สั ตว์ นา้ (กุ้ง/สั ตว์ นา้ อืน่ ) และปศุสัตว์ (ไก่เนือ้ และไก่ไข่ )
18
การนามาตรฐานไปใช้ - ASEAN GAP (ผักผลไม้ สด)
ปี
กิจกรรม
2555-2558 ประเทศสมาชิกต้ องปรับประสาน/จัดทามาตรฐาน GAP ที่สอดคล้ อง/เทียบเคียง
ASEAN GAP หมวดความปลอดภัยอาหารในปี 2555 และทุกหมวดภายในปี
2558
2556-2559 พัฒนากลไกการรับรอง ASEAN GAP โดยจัดให้ มี ASEAN-GAP Certification
System และ ASEAN-GAP Accreditation committee and system
2557-2558 สร้ างกลไกการยอมรับร่ วมสาหรับระบบการรับรอง ASEAN-GAP Certification
System เช่ น Letter of Intent/Lol, Equivalecy หรือ Matual Recognition
Agreement/MRA
2555-2559 ส่ งเสริมประเทศสมาชิกนา ASEAN GAP ไปประยุกต์ ใช้ ให้ แพร่ หลาย โดยเฉพาะ
ภาคเอกชน/ชุมชน/เกษตรกร และใช้ ASEAN GAP เป็ นเครื่องมือสนับสนุน
การค้ าทัง้ ภายในและภายนอกอาเซียน รวมถึงจัดให้ มี ASEAN GAP Website
19
ASEAN MRLs by agricultural commodity
Agricultural
commodity
Number of MRLs established by EWG-MRLs
Referred to
Codex
Data
submitted by
AMCs
Total
%
Vegetables
472
16
488
58
Fruits
198
19
217
26
Vegetables and Fruits
670
35
705
84
Other agricultural
commodities
133
3
136
16
Total
803
38
841
100
การร่ วมกาหนดมาตรฐานอาเซียน
ภายใต้รฐั มนตรีเศรษฐกิจ - AEM
คณะทางานด้ านผลิตภัณฑ์ อาหารสาเร็จรู ป( Prepared Foodstuff product working ) ภายใต้
คณะกรรมการทีป่ รึกษาด้ านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน (ASEAN Consultative Committee
for Standards and Quality; ACCSQ)
 การปรับประสานมาตรฐาน/ข้ อกาหนดด้ านเทคนิค
 การจัดทากรอบความตกลงการยอมรับร่ วม
การปรับมาตรฐานความปลอดภัยอาหาร
♦ วัตถุเจือปนอาหาร
♦ สารปนเปื้ อน
การปรับมาตรฐานและกฎระเบียบทางเทคนิค
♦ สุขลักษณะอาหาร
♦ ฉลาก
♦ ระบบการควบคุมอาหาร
♦ แนวทางการตรวจประเมิน GMP HACCP
♦ ขัน
้ ตอนการขึน้ ทะเบียนและออกใบรับรองอาหารนาเข้าและส่งออก
21
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กบั ความปลอดภัยอาหาร
• นโยบายหลักของกระทรวง
• ให้ความสาคัญทั้งความปลอดภัยคนไทยและการส่งออก
• ใช้มาตรฐานเป็ นเครื่องมือในการจัดการความปลอดภัยอาหาร
- กาหนดมาตรฐาน
- ส่งเสริมให้เกษตรกร/ผูป้ ระกอบการนามาตรฐานไปใช้
- ควบคุม ตรวจสอบ รับรองตามมาตรฐาน
• การประกาศใช้เครื่องหมายรับรองสินค้าเกษตรและอาหาร (Q)
22
สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
ภารกิจหลัก
- ภารกิจตามพ.ร.บ.มาตรฐานสินค้าเกษตร
- กาหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร(มกษ.) ทั ่วไป/บังคับ
- อนุญาตผูผ้ ลิต/ผูน้ าเข้า/ผูส้ ง่ ออก สินค้าเกษตรตามมาตรฐานบังคับ
- ออกใบอนุญาตและรับรอง CB เอกชนที่ให้การรับรอง มกษ.
- ตรวจสอบควบคุมผูผ้ ลิต/ผูน้ าเข้า/ส่งออก สินค้าเกษตรตามมาตรฐานบังคับ
- ประสานงานและร่วมเจรจาแก้ปัญหาด้านเทคนิคสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช
- เป็ นศูนย์ประสานงานกับองค์กรกาหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ (Codex/OIE/IPPC)
และร่วมกาหนดมาตรฐานระหว่างประเทศและมาตรฐานภูมิภาค
- เป็ นศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศด้านการมาตรฐาน
www.acfs.go.th
23
พรบ.มาตรฐานสินค้ าเกษตร พ.ศ.2551
สินค้าเกษตรที่ผลิตในประเทศ/นาเข้า
ยังไม่มีมาตรฐานบังคับใช้ ส่งผลให้
- สินค้าเกษตรด้อยคุณภาพ
- ไม่ปลอดภัยต่อผูบ้ ริโภค
กลไก
การกาหนดมาตรฐาน
และ
การตรวจสอบและ
รับรอง
คุ้มครองผูบ้ ริโภคจากสินค้าเกษตรไม่ได้คณ
ุ ภาพหรือไม่ปลอดภัย
คุ้มครองผูผ้ ลิต/เกษตรกรจากการถูกเอาเปรียบ
สร้างความเชื่อถือระหว่างผู้ผลิต-ผูค้ ้า-ผูบ้ ริโภค
เป็ นเครื่องมือในการพัฒนา เพิ่มความสามารถในการแข่งขัน
สอดคล้องกับพันธกรณี ระหว่างประเทศ
ใช้ในการทาข้อตกลงความเท่าเทียมกับประเทศคู่ค้า
มาตรฐานสินค้าเกษตร
มาตรฐานบังคับ หมายความว่า มาตรฐานที่มี
กฎกระทรวงกาหนดให้สินค้าเกษตรต้องเป็ นไป
ตามมาตรฐาน
มาตรฐานทั ่วไป หมายความว่า มาตรฐานที่มี
ประกาศกาหนดเพื่อส่งเสริมสินค้าเกษตรให้ได้
มาตรฐาน
การกาหนดมาตรฐานสิ นค้ าเกษตรและอาหาร
กติกา/ข้ อตกลงองค์ การการค้ าโลก
มาตรฐานระหว่ างประเทศ
(Codex/OIE/IPPC)
มาตรฐานภูมภิ าค (อาเซียน)
มาตรฐานระดับประเทศ
มาตรฐานกลุ่มผู้ผลิต/ท้ องถิ่น
26
แปลง
เพาะปลูก
การผลิต
ขั้นต้น
การแปรรูป
GAP
GMP
GMP/HACCP
แหล่ง
รวบรวม
และกระจาย
สินค้า
GMP
มาตรฐานสินค้าเกษตร (มกษ.)
ค้าปลีก
ร้านอาหาร
GMP
สิ นค้ า
84 เรื่อง
ระบบการผลิต
103 เรื่อง
ข้ อกาหนดทั่วไป
33 เรื่อง
มกษ.
มาตรฐานทั่วไป
(สมัครใจ)
28
มาตรฐานสินค้า
ตัวอย่าง  ลาไย
















มังคุด
ทุเรียน
สับปะรด
มะม่วง
กล้วย
ข้าวหอมมะลิไทย
หน่อไม้ฝรั ่ง
พริก
กระเจี๊ยบเขียว
ลองกอง
เงาะ
ส้มโอ
มะเขือเทศ
ส้มเปลือกล่อน
ข้าวโพดฝักอ่อน
ไก่เนื้อ
















ไก่ไข่
ไข่ไก่
เนื้อแพะ
เนื้อสุกร
กล้วยไม้
ปลานิล
กุง้ ก้ามกราม
ปลาหมึก
ปลาแล่เยือกแข็ง
ปูมา้
ปลาทูน่าและโบนิโตในภาชนะบรรจุปิด
สนิท
ปลากะพงขาว
กุง้ เยือกแข็ง
หอยแมลงภู่
กุง้ ขาวแวนาไม
รวม 84 เรื่อง
กุง้ กุลาดา
29
มาตรฐานระบบการผลิต
ตัวอย่าง



การปฏิบตั ทิ างการเกษตรที่ดีสาหรับลาไย
การปฏิบตั ทิ างการเกษตรที่ดีสาหรับ
ข้าวหอมมะลิไทย
การปฏิบตั ทิ างการเกษตรที่ดีสาหรับพืช
อาหาร












การปฏิบตั ทิ างการเกษตรที่ดสี าหรับฟาร์มผึ้ ง

การปฏิบตั ทิ างการเกษตรที่ดีสาหรับ
หน่อไม้ฝรั ่ง
การปฏิบตั ทิ างการเกษตรที่ดีสาหรับ
กระเจี๊ยบเขียว
การปฏิบตั ทิ างการเกษตรที่ดีสาหรับพริก
การปฏิบตั ทิ างการเกษตรที่ดีสาหรับข้าวโพด
ฝักอ่อน



การปฏิบตั ทิ างการเกษตรที่ดีสาหรับกล้วยไม้
การปฏิบตั ทิ ี่ดีสาหรับศูนย์รวมน้ านมดิบ
การปฏิบตั ทิ ี่ดีในการผลิตสัตว์น้ า เล่ม 1
การปฏิบตั ทิ ี่ดีในการผลิตสัตว์น้ า เล่ม 2
การปฏิบตั ทิ ี่ดีในการผลิตสัตว์น้ า เล่ม 3
การปฏิบตั ทิ างการเกษตรที่ดีสาหรับฟาร์มเป็ ดไข่
การปฏิบตั ทิ างการเกษตรที่ดีสาหรับฟาร์มนกกระทา
การปฏิบตั ทิ างการเกษตรที่ดีสาหรับฟาร์มแพะเนื้ อ
การปฏิบตั ทิ างการเกษตรที่ดีสาหรับฟาร์มโคเนื้ อ
การปฏิบตั ทิ ี่ดีสาหรับโรงฆ่าสัตว์
การปฏิบตั ทิ ี่ดีสาหรับโรงฆ่าสุกร
รวม 103 เรื่อง
30
มาตรฐานข้อกาหนดทั ่วไป
ตัวอย่าง
 สารพิษตกค้าง : ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุด
 สารพิษตกค้าง : ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดที่ปนเปื้ อนจากสาเหตุที่ไม่อาจ
หลีกเลี่ยงได้
 วิธีชกั ตัวอย่างเพื่อตรวจหาสารพิษตกค้าง
 ข้อกาหนดด้านความปลอดภัยสินค้าเกษตรและอาหาร
 มาตรการสุขอนามัยพืช : แนวทางการเฝ้ าระวัง
 หลักการทางานในการวิเคราะห์ความเสี่ยง
 ข้อปฏิบตั กิ ารควบคุมการใช้ยาสัตว์
 หลักการวิเคราะห์ความเสี่ยงของอาหารที่ได้จากการใช้เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่
 การประเมินความเป็ นไปได้ในการก่อภูมิแพ้
 อาหารฮาลาล
รวม 33 เรื่อง
31
ผู้ทตี่ ้ องปฏิบัตติ ามพระราชบัญญัตมิ าตรฐานสิ นค้ าเกษตร
• ผู้ผลิต ผู้ส่งออก ผู้นาเข้ าสิ นค้ าเกษตรตามมาตรฐานบังคับ หรือ
มาตรฐานทัว่ ไป
• ผู้ประกอบการตรวจสอบมาตรฐานทีต่ รวจสอบมาตรฐานสิ นค้าเกษตร
ให้ กบั ผู้ผลิต ผู้ส่งออก ผู้นาเข้ าสิ นค้ าเกษตรตามมาตรฐานบังคับ หรือ
มาตรฐานทัว่ ไป
• ผู้จาหน่ าย และผู้มีไว้ ครอบครองเพือ่ จาหน่ ายสิ นค้ าเกษตรตามมาตรฐาน
บังคับ หรือมาตรฐานทัว่ ไป
32
เครื่องหมายรับรองมาตรฐาน
เครื่องหมายรับรองมาตรฐานบังคับ
เครื่องหมายรับรองมาตรฐานทั่วไป
ใช้กบั สิ นค้าเกษตรที่ตอ้ งควบคุมตาม
มาตรฐานบังคับ เพื่อความปลอดภัยของ
ผูบ้ ริ โภค
ใช้กบั สิ นค้าเกษตรที่รับรองตาม
มาตรฐานทัว่ ไป เพื่อส่ งเสริ มการผลิต/
จาหน่ายสิ นค้าที่ได้มาตรฐาน
มาตรา 56 ห้ ามมิให้ ผู้ใดใช้ เครื่องหมายรับรองมาตรฐานตามมาตรา 54 เว้ นแต่ เป็ นผู้ผลิต ผู้ส่งออก
หรือผู้นาเข้ า ทีไ่ ด้ รับใบรับรองตามมาตรฐานบังคับ หรือมาตรฐานทัว่ ไป แล้ วแต่ กรณี
33
ตัวอย่ างการปรับประสานมาตรฐาน: มกษ. GAP พืชอาหาร
ASEAN
Codex
มกษ. GAP พืชอาหาร
(มกษ.9001-2556)
สินค้า
ขายได้ทวโลก
ั่
34
การเตรียมความพร้ อมด้ านมาตรฐานสิ นค้ าเกษตร
เพือ่ รองรับ AEC
• การจัดทามาตรฐาน อาจต้ องกาหนดมาตรฐานบังคับในสิ นค้ าที่ประเทศไทยมี
ความพร้ อม เพือ่ ป้ องกันการนาเข้ าสิ นค้ าด้ อยคุณภาพ/คุ้มครองความปลอดภัยผู
บริโภค
• การตรวจสอบรับรองมาตรฐาน โดยพัฒนาศักยภาพหน่ วยตรวจ/เพิม่ จานวน
• พัฒนาระบบแจ้ งเตือนความปลอดภัยอาหาร/การตรวจสอบย้ อนกลับ ทั้งการ
ส่ งออกและนาเข้ า
• สร้ างเครือข่ าย/ความร่ วมมือให้ มีการส่ งเสริมและนามาตรฐานสิ นค้ าเกษตรไปใช้
ในทุกระดับการผลิตสิ นค้ าเกษตร
35
ขอบคุณค่ ะ
36