ปรัชญาและการประยุกต์ใช้ (คลิก)

Download Report

Transcript ปรัชญาและการประยุกต์ใช้ (คลิก)

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Sufficiency Economy)
และการประยุกต์ใช้
ดร.ปรียานุช พิบลู สราวุธ
โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง
สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย ์
ประเด็นของการนาเสนอ
๑.
๒.
๓.
๔.
ความเป็ นมาของเศรษฐกิจพอเพียง
ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง
แนวทางการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การขับเคลื่ อนเศรษฐกิจพอเพียง
2
๑
ความเป็ นมาของ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3
เป้าหมายของการพัฒนา
๑
การพัฒนาคนให้ พออยูพ่ อกิ น → อยูด่ ี มีสุข
 คนต้องพึ่งตนเองได้ระดับหนึ่ ง มีศกั ยภาพ / มีทางเลือก
สุขภาพ ความรู ้ ทักษะ อาชีพ เสรีภาพ
 คนต้องอยูก่ บั ผูอ้ ื่นในสังคม ได้อย่างสันติสุข
ไม่เบียดเบียน แบ่งปั น
 คนต้องอยูร่ ่วมกับธรรมชาติ & สิ่งแวดล้อม ได้อย่างยัง่ ยืน
ไม่ทาลาย เห็นคุณค่า อนุ รกั ษ์
4
ปั ญหาของการพัฒนาที่ผ่านมา
๑
 หนี้สินเพิ่ม / สัดส่วนเงินออมลด
 ความไม่เท่าเทียมกันของรายได้
 ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม / ภัยธรรมชาติ
 ความสัมพันธ์ของครอบครัวและชุมชน
 ค่านิยม / ศีลธรรม / จรรยาบรรณ เสื่อมลง
5
ความเป็ นมาของเศรษฐกิจพอเพียง
๑
• ยุคสมัยแห่งการพัฒนา
• รูปแบบของการพัฒนามีความเสี่ยงค่อนข้างสูง
• สาธิตแนวทางการพัฒนาที่แตกต่าง
• แสดงผลของการดาเนินงานเพื่อเป็ นทางเลือกที่
เหมาะสมกับระดับขั้นของการพัฒนาของประเทศ
6
๑
พระปฐมบรมราชโองการ
ณ พระที่นงั ่ ไพศาลทักษิ ณ
วันศุกร์ท่ี ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓
เนื่ องในวันบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั
“เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม
เพื่อประโยชน์สุขแห่ งมหาชนชาวสยาม”
7
พอเพียง คือ ไม่เบียดเบียน
๑
ความพอเพียงนี้ อาจจะมีของหรูหราก็ได้
แต่ว่าต้องไม่เบียดเบียนคนอื่น
ต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง
ทาอะไรก็พอเพียง ปฏิบตั ิตนก็พอเพียง
พระราชดารัส (๔ ธ.ค. ๒๕๔๑)
8
โลภน้อย คือ พอเพียง
๑
คนเราถ้าพอในความต้องการ
ก็มีความโลภน้อย
เมื่อมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย.
ถ้าทุกประเทศมีความคิด-อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจมีความคิดว่าทาอะไรต้องพอเพียง
หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง
ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยูเ่ ป็ นสุข.
พระราชดารัส (๔ ธ.ค. ๒๕๔๑)
9
เศรษฐกิจพอเพียงมีหลายระดับ
๑
“....ไฟดับถ้ามีความจาเป็ น หากมีเศรษฐกิจพอเพียงแบบไม่เต็มที่ เรามี
เครื่องปั ่นไฟก็ใช้ปั่นไฟ หรือถ้าขัน้ โบราณว่า มืดก็จุดเทียน คือมีทางที่จะ
แก้ปัญหาเสมอ ฉะนัน้ เศรษฐกิจพอเพียง ก็มีเป็ นขัน้ ๆแต่จะบอกว่า
เศรษฐกิจพอเพียงนี้ ให้พอเพียงเฉพาะตัวเองร้อยเปอร์เซ็นต์นี่เป็ นสิ่งที่ทา
ไม่ได้ จะต้องมีการแลกเปลี่ยน ต้องมีการช่วยกัน ถ้ามีการช่วยกัน
แลกเปลี่ยนกัน ก็ไม่ใช่พอเพียงแล้ว แต่ว่าพอเพียงในทฤษฎีในหลวงนี้
คือ ให้สามารถที่จะดาเนิ นงานได้…”
จากกระแสพระราชดารัสวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒
10
สหกรณ์
๑
“สหกรณ์ แปลว่า การทางานร่วมกัน การทางานร่วมกันนี้ลึกซึ้งมาก
เพราะว่าต้องร่วมมือกันในทุกด้าน ทั้งในด้านงานที่ทาด้วยร่างกาย
ทั้งในด้านงานที่ทาด้วยสมอง และงานการที่ทาด้วยใจ ทุกอย่างนี้ขาด
ไม่ได้ตอ้ งพร้อม”
(พระราชดารัสพระราชทานแก่ผนู ้ าสหกรณ์การเกษตร สหกรณ์นิคม
และสหกรณ์ประมงทั ่วประเทศ ณ ศาลาดุสิดาลัย
๑๑ พฤษภาคม ๒๕๒๖)
11
พระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั
๑
เสด็จออกมหาสมาคม ณ พระที่นงั ่ อนันตสมาคม
เมื่อวันศุกร์ที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๔๙
ประการแรก
คือการที่ทุกคนคิดพูดทาด้วยความเมตตา มุ่งดีมุ่งเจริญ
ต่อกายต่อใจต่อกัน
ประการที่สอง คือการที่แต่ละคนต่างช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ประสานงานประสาน
ประโยชน์กนั ให้งานที่ทาสาเร็จผลทั้งแก่ตนแก่ผอู ้ ื่น
และแก่ประเทศชาติ
ประการที่สาม คือการที่ทุกคน ประพฤติปฏิบตั ติ นสุจริตในกฎกติกา
และในระเบียบแบบแผนโดยเท่าเทียมเสมอกัน
ประการที่สี่ การที่ตา่ งคนต่างพยายามทาความคิดความเห็นของตนให้ถูกต้อง
เที่ยงตรง และมั ่นคง อยูใ่ นเหตุในผล หากความคิดจิตใจ
และการประพฤตปฏิบตั ทิ ี่ลงรอยเดียวกัน ในทางที่ดีที่เจริญนี้
ยังมีพร้อมมูลในกายในใจคนไทย ก็มั ่นใจว่าประเทศชาติไทย
จะดารงมั ่นคงอยูไ่ ปได้
12
๒
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คืออะไร
13
๒
14
สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๑
แนวคิดหลัก
เป็ นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบตั ติ นของประชาชนในทุกระดับ ตัง้ แต่ระดับครอบครัว ระดับ
ชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา
เศรษฐกิจเพื่อให้กา้ วทันต่อโลกยุคโลกาภิวตั น์
เป้าหมาย
มุ่งให้เกิดความสมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม
สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม จากโลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี
เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม/วัฒนธรรม
สมดุล/พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง
หลักการ
ความพอเพียง หมายถึงความพอประมาณ ความมี
เหตุผล การสร้างภูมิคมุ ้ กันที่ดีในตัวพอสมควร ต่อการ
มีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้ง
ภายนอกและภายใน
ทางสายกลาง  พอเพียง
พอประมาณ
เงื่อนไขพื้นฐาน (ความรูค้ ู่คุณธรรม)
 จะต้องอาศัยความรอบรู ้ ความรอบคอบ และความระมัดระวัง
อย่างยิง่ ในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผน และการ
ดาเนินการทุกขั้นตอน
 การเสริมสร้างจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ
นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม
ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรูท้ ี่เหมาะสม ดาเนินชีวิต
ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปั ญญา และความรอบคอบ
มีเหตุผล
เงื่อนไขความรู้
รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง
มีภมู ิ ค้มุ กัน
ในตัวที่ดี
เงื่อนไขคุณธรรม
ซื่อสัตย์สุจริต อดทน เพียร มีสติ ปญั ญา
www.sufficiencyeconomy.org
เศรษฐกิจพอเพียง & ทฤษฎีใหม่
๒
เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นกรอบแนวคิดที่ช้ ีบอกหลักการและแนวทางปฏิบตั ิของทฤษฎีใหม่
ทฤษฎีใหม่หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็ นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบตั ิ
ความพอเพียง
ระดับบุคคล
เศรษฐกิจพอเพียง
แบบพื้นฐาน
ความพอเพียง
ระดับชุมชน/องค์กร
เศรษฐกิจพอเพียง
ความพอเพียงระดับประเทศ
แบบก้าวหน้า
ทฤษฎีใหม่ข้นั ที่ ๑
ทฤษฎีใหม่ข้นั ที่ ๒
ทฤษฎีใหม่ข้นั ที่ ๓
16
สรุปหลักการทรงงาน













๒
ระเบิดจากข้างใน
คนเป็ นศูนย์กลางของการพัฒนา
ปลูกจิตสานึก
เน้นให้พึ่งตนเองได้
คานึงถึงภูมิสงั คม
ทาตามลาดับขั้น
ประหยัด เรียบง่าย
ประโยชน์สูงสุด
ปฏิบตั ิอย่างพอเพียง
บริการที่จดุ เดียว
แก้ปัญหาจากจุดเล็ก
ไม่ติดตารา
ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ
การมีสว่ นร่วม
รู ้ รัก สามัคคี
เป้าหมายคือสังคมพอเพียง
มุ่งประโยชน์สุขคนส่วนใหญ่
17
สรุปเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร
๒
 เป็ นวิถีการดาเนินชีวิต ที่ใช้คุณธรรมนาความรู ้
 เป็ นการพัฒนาตัวเอง ครอบครัว องค์กร ชุมชน
สังคม ประเทศชาติ ให้กา้ วหน้าไปพร้อมกับ
ความสมดุล มั ่นคง ยั ่งยืน
 เป็ นหลักปฏิบตั ิเพื่อให้อยูร่ ว่ มกันอย่างสันติสุข
ระหว่างคนกับคนในสังคม และคนกับธรรมชาติ
18
๓.
การประยุกต์ใช้
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
19
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 โดยพื้นฐานก็คือ การพึ่งตนเอง เป็ นหลัก
การทาอะไรอย่างเป็ นขัน้ เป็ นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง
 พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร ความ
สมเหตุสมผล และการพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงในด้าน
ต่างๆ
 การสร้างสามัคคีให้เกิดขึ้น บนพื้นฐานของความสมดุลใน
แต่ละสัดส่วน แต่ละระดับ
 ครอบคลุมทัง้ ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงจิตใจ และ
วัฒนธรรม
๓
20
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
ในด้านต่างๆ
๓
ด้านเศรษฐกิจ
ลดรายจ่าย/เพิ่มรายได้/ใช้ชีวิตอย่างพอควร/คิดและวางแผนอย่าง
รอบคอบ/มีภูมิคมุ ้ กันไม่เสี่ยงเกินไป/การเผื่อทางเลือกสารอง
ด้านจิตใจ
มี จิ ต ใจเข้ ม แข็ ง พึ่ ง ตนเองได้ /มี จิ ต ส านึ กที่ ดี /เอื้ ออาทร
ประนีประนอม /นึกถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็ นหลัก
ด้านสังคม
ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน /รูร้ กั สามัคคี /สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัว
และชุมชน
ด้านทรัพยากร
ธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
รูจ้ กั ใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ /เลือกใช้
ทรัพยากรที่มีอยูอ่ ย่างคุม้ ค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด /
ฟื้ นฟูทรัพยากรเพื่อให้เกิดความยั ่งยืนสูงสุด
ด้านเทคโนโลยี
รูจ้ กั ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการและ
สภาพแวดล้อม (ภูมิสงั คม) /พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญา
ชาวบ้านเองก่อน /ก่อให้เกิดประโยชน์กบั คนหมู่มาก
21
ตัวอย่างแนวทางการวิเคราะห์ความพอเพียง ๓
โดยใช้ หลักสัปปุริสธรรม ๗
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
รูเ้ หตุ
รูผ้ ล
รูต้ น
รูป้ ระมาณ
รูก้ าล
รูบ้ ุคคล
รูช้ ุมชน
ความมีเหตุมีผล
ความพอประมาณ
มีภูมิคมุ ้ กันที่ดี
22
คุณลักษณะของกิจกรรม
ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
ความพอประมาณ
ความมีเหตุมีผล
พอเหมาะกับ
สภาพของตน
รูส้ าเหตุ – ทาไม
รูป้ ั จจัยที่เกี่ยวข้อง
(ปั จจัยภายใน)
วิชาการ/กฏหมาย
/ความเชื่ อ/ประเพณี
พอควรกับภูมิสงั คม
(ปั จจัยภายนอก)
รูผ้ ลกระทบที่จะ
เกิดขึ้นในด้านต่างๆ
(สมดุล)
(รอบรู/้ สติ ปั ญญา)
๓
มีภูมิคมุ ้ กันที่ดี
คานึงถึงการเปลี่ยนแปลง
ในด้านต่างๆ
รูเ้ ท่าทัน และ
เตรียมความพร้อม
(วางแผน/รอบคอบ/
เรียนรู ้ /พัฒนาตน/
ทาประโยชน์ให้กบั สังคม/
รักษ์สิ่งแวดล้อม)
สามารถพึ่งตนเองได้ และเป็ นที่พ่ึงของผูอ้ ่ืนได้ในที่สุด
23
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
ในระดับบุคคลและครอบครัว
๓
24
ตัวอย่างการใช้จ่ายอย่างพอเพียง
๓
พอประมาณ :
มีเหตุมีผล :
รายจ่ายสมดุลกับรายรับ
ใช้จา่ ยอย่างมีเหตุผล /มีความจาเป็ น /
ไม่ใช้สิ่งของเกินฐานะ /ใช้ของอย่าง
คุม้ ค่าประหยัด
มีภูมิคมุ ้ กัน : มีเงินออม /แบ่งปั นผูอ้ ื่น /ทาบุญ
ความรูค้ ่คู ุณธรรม : ประกอบอาชีพที่สุจริต ด้วยความ
ขยันหมั ่นเพียร ใช้สติปัญญาในการ
ตัดสินใจและดาเนินการต่างๆ เพื่อให้
เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง
25
การพัฒนาชุมชนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ปั ญหา
ข้อมูล
๑. ขั้นก่อร่ างสร้ างตัว
การแสวงหาทางเลือก
๒. ขั้นลงมือปฏิบัตกิ าร
๓. ขั้นขยายผล
ภายในชุ มชน
๔. ขั้นสร้ างพลังและ
ความเข้ มแข็ง
การวิเคราะห์ปัญหา
• จุดประกาย
• แกนนาความคิด
เรียนรู้
แผนชุมชน
• ลดรายจ่ าย
• พึง่ ตนเอง
• เน้ นการออม
• สวัสดิการ
ดาเนินกิจกรรม
ขยายกิจกรรม
ดูจา
ใช้ เป็ น
• พึ่งตนเอง
• ประสาน
• รัฐช่วยทา
ขยายกลุ่ม
• องค์กร
องค์การพันธมิตร • หน่วยงานรัฐ
การสร้างเครื อข่าย
• เอกชน
• ชุมชนข้างเคียง
• ขยายสูต่ าบล อาเภอ จังหวัดจนสูร่ ะดับประเทศ
ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
(ด้านเศรษฐกิจ)
หลักปฏิบตั ิ
๑. รูจ้ กั การใช้จา่ ยของตนเอง
ใช้จา่ ยอย่างมีเหตุมีผล
อย่างพอประมาณ
ประหยัด เท่าที่จาเป็ น
๓
ตัวอย่างกิจกรรม
บันทึกบัญชีรายรับและรายจ่าย
วิเคราะห์บญ
ั ชีรายรับและ
รายจ่าย
แลกเปลี่ยนประสบการณ์
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ
บริโภคเพื่อลดรายจ่ายที่
ฟุ่ มเฟื อย
27
ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
(ด้านเศรษฐกิจ)
หลักปฏิบตั ิ
๒. รูจ้ กั ออมเงิน มีกลไก
ลดความเสี่ยง
ระบบสวัสดิการ
ระบบออมเงิน
ระบบสหกรณ์
ระบบประกันต่างๆ
๓
ตัวอย่างกิจกรรม
• ออมวันละหนึ่งบาท
• สัปดาห์การออม
• จัดตั้งกลุ่ม/สหกรณ์
ออมทรัพย์
28
ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
(ด้านเศรษฐกิจ)
หลักปฏิบตั ิ
๓. รูจ้ กั ประหยัด
ใช้และกินอย่างมีเหตุผล
ไม่ฟุ่มเฟื อย
ใช้พลังงานเท่าที่จาเป็ น
ใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่า
๓
ตัวอย่างกิจกรรม
ปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้
เลี้ยงปลา เลี้ยงไก่ ไว้กิน ไว้ขาย
ใช้สินค้าที่ประหยัดพลังงาน
รีไซเคิลขยะเพื่อนามาใช้ใหม่
นาของเหลือใช้ มาทาให้เกิดประโยชน์
29
ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
(ด้านเศรษฐกิจ)
หลักปฏิบตั ิ
๓
ตัวอย่างกิจกรรม
๔. พึ่งตนเองได้ทางเศรษฐกิจโดย เน้นการผลิตเพื่อพึ่งตนเอง ให้
ผลิต หรือสร้างรายได้ ที่
พอเพียงกับการบริโภค และการ
สอดคล้องกับความต้องการ
ผลิตที่หลากหลาย เช่น
สอดคล้องกับภูมิสงั คม
ปลูกพืชผักผสมผสาน
สอดคล้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ปลูกพืชสมุนไพรไทย
สอดคล้องกับทรัพยากรท้องถิน่
ผลิตสินค้าจากภูมิปัญญา
ท้องถิ่น
จัดอบรมพัฒนาอาชีพใน
ชุมชน
30
ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
(ด้านสังคม)
หลักปฏิบตั ิ
ตัวอย่างกิจกรรม
๕. รูจ้ กั ช่วยเหลือสังคม
หรือชุมชน
ปลูกจิตสานึกสาธารณะ
ปลูกฝังความสามัคคี
ปลูกฝังความเสียสละ
เผยแพร่องค์ความรู ้
เศรษฐกิจพอเพียง
พัฒนาความรูค้ ่คู ณ
ุ ธรรม ผ่านกิจกรรม
รวมกลุม่ ต่างๆ
• จัดกิจกรรมลด ละ เลิก อบายมุข
• จัดกิจกรรมช่วยเหลือผูด้ อ้ ยโอกาส
• จัดค่ายพัฒนาเยาวชน
• จัดตั้งศูนย์เรียนรูภ้ ายในชุมชน
๓
31
ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
(ด้านสิ่ งแวดล้อม)
หลักปฏิบตั ิ
๖. สร้างสมดุลของ
ทรัพยากรธรรมชาติ
ปลูกจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม
ฟื้ นฟูแหล่งเสื่อมโทรมในท้องถิ่น
ฟื้ นฟูและอนุรกั ษ์ทรัพยากรใน
ท้องถิ่น
ฟื้ นฟูดแู ลสถานที่ทอ่ งเที่ยวใน
ท้องถิ่น
๓
ตัวอย่างกิจกรรม
พัฒนาความรูเ้ กี่ยวกับดิน น้ า
ป่ า เพื่อฟื้ นฟู รักษา
• โครงการชีววิถี
• จัดอบรมการอนุรกั ษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ
• จัดทาฝายแม้ว
32
ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
(ด้านวัฒนธรรม)
หลักปฏิบตั ิ
๗. สืบสานวัฒนธรรมไทย
สร้างจิตสานึกรักษ์ไทย
รักบ้านเกิด
ฟื้ นฟูและอนุรกั ษ์อาหาร
ประจาท้องถิ่น
ฟื้ นฟูและอนุรกั ษ์ดนตรีไทย
และเพลงไทย
ฟื้ นฟูและอนุรกั ษ์วตั ถุโบราณ
และโบราณสถาน
๓
ตัวอย่างกิจกรรม
• ปลูกฝังมารยาทไทย
• ส่งเสริมอาหารประจาท้องถิ่น
• ส่งเสริมการใช้ภาษาประจา
ท้องถิ่น
• ทานุบารุงโบราณวัตถุและ
โบราณสถาน
33
ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
(ด้านวัฒนธรรม)
หลักปฏิบตั ิ
๘. ส่งเสริมพระพุทธศาสนา
ปลูกจิตสานึกความรักชาติ
ตระหนักถึงคุณค่าของ
พระพุทธศาสนา
จงรักภักดีตอ่
พระมหากษัตริย ์
๓
ตัวอย่างกิจกรรม
• ให้ความสาคัญกับการรักษาศีล
หรือสวดมนต์เป็ นประจา
• ส่งเสริมการฝึ กอบรมสมาธิภาวนา
• ร่วมกันทะนุบารุงศาสนา
• พัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น
• รณรงค์การใช้สินค้าไทย
34
ตัวอย่างความพอเพียงในองค์กรเอกชน แพรนด้าจิวเวอรี่
ความพอประมาณ
 ผลิตเพื่อกลุม่ ลูกค้าชั้นดีที่
มีช่องทางการขายชัดเจน
 ยึดหลักความเสี่ยง
ปานกลางเพื่อกาไรปกติ
 ยึดหลักการแบ่งปั นและ
ไม่เบียดเบียนคู่คา้ ธุรกิจ
 มีเครือข่ายผูป้ ระกอบการ
รายย่อย ช่วยจัดส่งงาน
เมื่อยอดการสั ่งสินค้าเพิ่ม
๓
ความมีเหตุมีผล
การสร้างภูมิคมุ ้ กันที่ดี
 สร้าง Brand ของตัวเองอย่าง
ต่อเนื่อง และมี Brand ต่างกัน
สาหรับแต่ละระดับของตลาด
 ตรวจสอบการทางานของ
บริษทั เทียบกับคู่แข่งอย่าง
สมา่ เสมอ
 ขยายการผลิตไปยังประเทศ
ที่มีค่าแรงถูก
 มีความยืดหยุน่ ในการเสนอ
ผลิตภัณฑ์ตามความต้องการ
 กระจายผลิตภัณฑ์ในหลาย
ระดับและขยายตลาดในหลาย
ประเทศ
 ให้ราคาแก่ Suppliers
อย่างเหมาะสม
 มีนโยบายจ่ายเงินปั นผล
ไม่เกิน ๖๐%ของกาไรสุทธิ
 ประเมินความเสี่ยงของกิจการ
ทุกๆ ๖ เดือน
 ป้องกันความเสี่ยง โดยซื้อขาย
เงินตราล่วงหน้า
เงื่อนไข
ความรู ้
 พัฒนาและเรียนรู ้ เพื่อสร้างนวัตกรรมและโอกาสทางธุรกิจเสมอๆ
 จัดทาโครงการศึกษาทวิภาคีเพื่อเด็กด้อยโอกาสและพนักงานของบริษทั
 ร่วมในเครือข่าย SVN ในการพัฒนาความรูแ้ ละมาตรฐานธุรกิจ
เงื่อนไข
คุณธรรม
 จัดโครงการร่วมบริจาคโลหิตให้สภากาชาดเป็ นประจาทุก ๓ เดือน
 เป็ นโครงการโรงงานสีขาวดาเนินการป้องกันและแก้ไขปั ญหายาเสพติดในองค์กร
35
สรุปข้อสังเกตเกี่ยวกับ
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
๓
• การประยุ ก ต์ใ ช้ป รัช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เกิ ด ได้
หลายด้าน และหลายรูปแบบ ไม่มีสูตรสาเร็ จ แต่ ละ
คนจะต้อ งพิ จ ารณาปรับ ใช้ ตามความเหมาะสม ให้
สอดคล้องกับเงื่อนไข และสภาวะที่ตนเผชิญอยู่
• ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จะช่วยให้เรา “ฉุ กคิ ด” ว่า
มีทางเลื อกอีกทางหนึ่ ง ที่จะช่วยให้เกิดความยัง่ ยื น มัน่ คง
และสมดุลในระยะยาว
36
๔
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
37
แนวทางการขับเคลื่อน
กลไก
การขับเคลื่อน
• คณะที่ปรึกษา
ผู้ทรงคุณวุฒิ
• คณะอนุ
กรรมการ
ขับเคลื่อนฯ
• คณะทางาน
เครือข่าย
ต่างๆ
สร้างเพื่อน สานข่าย
ขยายผล
สร้างองค์ความรู ้
ฐานข้อมูล
ประชาสังคม
องค์กร
ภาครัฐ
ผูน้ าทาง
ความคิด
วิชาการ
พัฒนาเครือข่ายเรียนรู ้
เศรษฐกิจพอเพียง
องค์กร
ภาคเอกชน
สื่อมวลชน
และประชาชน
สถาบัน
การเมือง
สถาบัน
การศึกษา
และเยาวชน
พัฒนากระบวนการเรียนรู ้
ค้นหาตัวอย่างรูปธรรม
ที่เหมาะสม
ที่หลากหลาย
กับกลุม่ เป้าหมายต่างๆ
๒๕๔๖
ระยะเวลาขับเคลื่อน ๔ ปี
๒๕๕๐
๔
หลัง ๒๕๕๐
ผลระยะยาว
คนไทย
ใช้ชีวิต
บนพื้นฐาน
เศรษฐกิจ
พอเพียง
สังคมไทย
มีเครือข่าย
ความร่วมมือ
เศรษฐกิจ
พอเพียง
การพัฒนา
อยู่บน
พื้นฐาน
เศรษฐกิจ
พอเพียง
38
ขัน้ ตอนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
พอเพียง (๒๕๔๗ – ๒๕๕๐)
๔๗
•สานแกนนา
ขับเคลื่อน
•เครื่องมือ
เรียนรู ้
•แผน/ทิศทาง
ขับเคลื่อน
จุดประกาย
๔๙
๔๘
•สร้างแกนนา
เครือข่าย
•พัฒนาคน
•พัฒนาสื่อเรียนรู ้
•ขยาย
แหล่งเรียนรู ้
ตอกเสาเข็ม
๔
๕๐
•ขยายเครือข่าย
•สื่อสารแบบ
ผสมผสาน
สู่สาธารณชน
ขยายผล
•เทิดพระเกียรติ
•แต่ละเครือข่าย
ร่วมนา
เสนอผลงาน
เห็นคุณค่า
นาไปปฏิบตั ิ
39
การขับเคลื่อน
เศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
2547
กิจกรรม ประกวดความเรียง
ขับเคลื่อน “ตัวอย่างเศรษฐกิจ
พอเพียงทีข่ า้ พเจ้า
รูจ้ กั ” (5 ระดับ)
๔
2548
- ประกวดสื่อการเรียนการ
สอน “ฐานรากการเรียนรู้
เศรษฐกิจพอเพียง”
- ค้นหาตัวอย่างกิจกรรม
พัฒนาผูเ้ รียน (9 โรงเรียน 9
ตัวอย่าง)
-กระตุน้ ความสนใจในวงการ
เป้ าหมาย -สร้างความสนใจ
การศึกษา
-เผยแพร่ความรู้
ความเข้าใจทีถ่ กู ต้อง - ตรวจสอบสถานภาพการ
สอนเศรษฐกิจพอเพียงใน
ห้องเรียน
2549
พัฒนาตัวอย่างหน่ วย
การเรียนรู้เศรษฐกิจ
พอเพียง (หน่วยหลัก /
หน่วยบูรณาการ) ทุกชัน้
ปี / ปวช. / กศน.
2550
-1 เขตพืน้ ที่ 20
สถานศึกษา
- ขยายเครือข่าย
แลกเปลีย่ นเรียนรู้
- พัฒนาบุคลากร /
เครือข่ายสถานศึกษา
- พัฒนาเครือ่ งมือการ
ประยุกต์ ใช้ ปศพ. สู่
สถานศึกษา
-สอนเศรษฐกิจพอเพียง
อย่างถูกต้อง/ เป็ น
รูปธรรม / มี
ความหมาย
-- บริหารสถานศึกษา
และพัฒนาผูเ้ รียนตาม
แนวทาง ปศพ.
- ส่งประกวด 1500
ข้อเท็จจริง ชิน้
ที่ค้นพบ - ส่วนใหญ่ยงั เข้าใจ
ไม่ถกู ต้อง (เกษตร
-ความสนใจในการนา
ปศพ. ไปใช้จดั การศึกษา
มีมาก แต่ยงั ขาดองค์
ความรู้ และเครือ่ งมือ
- ส่งประกวดกว่า 500 ชิน้
- เรืม่ เข้าใจถูกต้องมากขึน้ (3
ห่วง 2 เงือ่ น)
- สือ่ ทีส่ อนครบถ้วนตามคา
40
ช. ขยายผลการดาเนิ นงาน (องค์กรหลัก)
ก. กรอบแนวทางการดาเนิ นงาน
๑.จัดทำสื่อ ตัวอย่ำงหน่วยกำรเรียนรูท้ ่ี
บูรณำกำรปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง
สู่กำรเรียนกำรสอน ทุกระดับกำรศึกษำ
- ทดลองใช้ส่อื ตัวอย่ำงฯ
- ปรับปรุงและพัฒนำสื่อตัวอย่ำง
- ส่งเสริมและพัฒนำบุคลำกร
๒.ส่งเสริมสนับสนุนประสำนงำนกำร
ดำเนินงำนเครือข่ำยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
พอเพียง ในและนอกสังกัด(ภำครัฐและ
เอกชน
๓.จัดทำระบบข้อมูลสำรสนเทศ และ
เชื่อมโยงเครือข่ำยทัง้ ในและนอกสังกัด
(ภำครัฐและเอกชน)
ฯลฯ
ง. ติ ดตามและประเมิ นผล
- พัฒนาตัวชี้ วัดความพอเพียง
- จัดทารายงานความก้าวหน้า
- ติดตามผลงานในพื้ นที่
- ติดตามบุคลากรทางการศึกษา
- ติดตามนักเรียน/นักศึกษา
และประชาชน
ฯลฯ
สป. (กศน./
(สช./กคศ. /
สนพ./สนย.)
สอศ.
สพฐ.
สกอ.
การขับเคลือ่ นฯ
ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงสู่
สถานศึกษา
องค์กร
ในกากับ ศธ.
๑. กำรบูรณำกำรปรัชญำของ
เศรษฐกิจพอเพียงสู่กำรเรียนกำร
สอนในสถำนศึกษำ
๒. กำรนำปรัชญำของเศรษฐกิจ
พอเพียงสู่กำรบริหำรจัดกำร
สถำนศึกษำ.
- พัฒนำบุคลำกร
- ส่งเสริมกำรเรียนกำรสอน
ฯลฯ
ค. การเผยแพร่
และประชาสัมพันธ์
สกศ.
๑.ประสำนควำมร่วมมือและ
เชื่อมโยงเครือข่ำย ภำยใน
และภำยนอก
๒.เผยแพร่หลักปรัชญำ
เศรษฐกิจพอเพียง
- จัดทำสื่อสิงพิมพ์ใน
รูปแบบต่ำงๆ รวมทัง้ สื่อ
เทคโนโลยี
- จัดทำเวบไซด์
- จัดนิทรรศกำรผลกำร
ดำเนินงำน
ฯลฯ
ติดต่อเรา
โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง
สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย ์
๑๗๓ ถนนนครราชสีมา เขตดุสิต กทม. ๑๐๓๐๐
โทรศัพท์ ๐๒-๖๘๗-๓๖๖๒
โทรสาร ๐๒-๒๘๒-๘๒๒๖
[email protected]
www.sufficiencyeconomy.org