แนวทางการนา หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง สู่การจัดการศึ กษา ในสถานศึ กษา ๑ ความเป็ นมาของ ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๑ ปัญหาของการพัฒนา ที ผ ่ านมา ่ หนี้สินเพิ่ม / สัดส่วนเงินออมลด ความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม / ภัยธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของครอบครัวและชุมชน ค่านิยม / ศีลธรรม / จรรยาบรรณ เสื่อมลง.

Download Report

Transcript แนวทางการนา หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง สู่การจัดการศึ กษา ในสถานศึ กษา ๑ ความเป็ นมาของ ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๑ ปัญหาของการพัฒนา ที ผ ่ านมา ่ หนี้สินเพิ่ม / สัดส่วนเงินออมลด ความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม / ภัยธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของครอบครัวและชุมชน ค่านิยม / ศีลธรรม / จรรยาบรรณ เสื่อมลง.

แนวทางการนา
หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
สู่การจัดการศึ กษา
ในสถานศึ กษา
๑
ความเป็ นมาของ
ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
2
๑
ปัญหาของการพัฒนา
ที
ผ
่
านมา
่
หนี้สินเพิ่ม / สัดส่วนเงินออมลด
ความไม่เท่าเทียมกันของรายได้
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม / ภัยธรรมชาติ
ความสัมพันธ์ของครอบครัวและชุมชน
ค่านิยม / ศีลธรรม / จรรยาบรรณ เสื่อมลง
3
๑
ความเป็ นมาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
• ยุคสมัยแห่งการพัฒนา
• รูปแบบของการพัฒนามีความเสี่ยงค่อนข้างสูง
• สาธิตแนวทางการพัฒนาที่แตกต่าง
• แสดงผลของการดาเนินงานเพื่อเป็ นทางเลือกที่
เหมาะสมกับระดับขั้นของการพัฒนาของประเทศ
4
เป้าหมายของการพัฒนาตาม
หลั
ยง่ดมี สี ุข
การพัฒนาคนให้ พออยู
่พก
อกิพอเพี
น → อยู
๑
 พึ่งตนเองได้ระดับหนึ่ง มีศกั ยภาพ / มีทางเลือก
สุขภาพ ความรู ้ ทักษะ อาชีพ เสรีภาพ
 อยูร่ ว่ มกับผูอ้ ื่นในสังคม ได้อย่างสันติสุข
ไม่เบียดเบียน ไม่เอารัดเอาเปรียบ แบ่งปั น เอื้ อเฟื้ อเผื่อแผ่ มีจิตเมตตา จิตสาธารณะ
 อยูร่ ว่ มกับธรรมชาติ & สิ่งแวดล้อม ได้อย่างยั ่งยืน
ไม่ทาลาย เห็นคุณค่า อนุ รกั ษ์
 อยูอ่ ย่างมีรากเหง้าทางวัฒนธรรม
ประเพณี ประวัติศาสตร์ ภูมิปัญญา ค่านิ ยม เอกลักษณ์/อัตลักษณ์
5
พอเพียง คือ ไม่
เบียดเบียน
๑
ความพอเพียงนี้ อาจจะมีของหรูหราก็ได้
แต่ว่าต้องไม่เบียดเบียนคนอื่น
ต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง
ทาอะไรก็พอเพียง ปฏิบตั ิตนก็พอเพียง
พระราชดารัส (๔ ธ.ค. ๒๕๔๑)
6
๒
ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
คืออะไร
7
กรอบแนวคิด
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เป็ นปรัชญาทีช
่ ถ
ี้ งึ แนวการดารงอยูและปฏิ
บต
ั ต
ิ นของประชาชนในทุก
่
ระดับ ตัง้ แตระดั
บครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทัง้ ในการ
่
พัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการ
เป
าหมาย
พั้ ฒ
นาเศรษฐกิจเพือ
่ ให้กาวทั
นตอโลกยุ
คโลกาภิวต
ั น์
้
่
มุงให
อการ
่
้เกิดความสมดุลและพรอมต
้
่
รองรับการ
สมดุลและพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงใน
เปลีย
่ นแปลงอยางรวดเร็
วและกวางขวาง
่
้
ด้าน วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม
ทั
ง
้
ทางวั
ต
ถุ
สั
ง
คม
สิ
่
ง
แวดล
อมและ
หลักการ
้
วั
ฒนธรรม ยจากโลกภายนอกได
้ นอยาง
่
ความพอเพี
ง หมายถึงความ เป็
ดี
พอประมาณ ความมีเหตุผล การ
สร้างภูมค
ิ ุ้มกันในตัวทีด
่ พ
ี อสมควร ตอ
ทางสายกลาง  พอเพียง
่
การมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการ
เปลี
่ นแปลงทั
ง้ ภายนอกและภายใน
พอประมาณ
เงือ
่ ย
นไขพื
น
้ ฐาน
(คุณธรรมนา
ความรู)้
จะต้องอาศั ยความรอบรู้ ความรอบคอบ
และความระมัดระวังอยางยิ
ง่ ในการนา
่
วิชาการตางๆ
มาใช้ในการวางแผน
่
และการดาเนินการทุกขัน
้ ตอน
การเสริมสรางจิ
ตใจของคนในชาติ
้
โดยเฉพาะเจ้าหน้าทีข
่ องรัฐ นักทฤษฎี
และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีสานึกใน
มีเหตุผล
มีภมู ิ ค้มุ กัน
ในตัวที่ดี
เงื่อนไขความรู้
เงื่อนไขคุณธรรม
รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง
ซื่อสัตย์สุจริต อดทน เพียร มีสติ ปญั ญา
www.sufficiencyeconomy.org
เศรษฐกิจพอเพียง &
ทฤษฎีใหม่
๒
เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นกรอบแนวคิดที่ช้ ีบอกหลักการและแนวทางปฏิบตั ิของทฤษฎีใหม่
ทฤษฎีใหม่หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็ นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบตั ิ
ความพอเพียง
ระดับครอบครัว
เศรษฐกิจพอเพียง
แบบพื้นฐาน
ความพอเพียง
ระดับชุมชน/องค์กร
เศรษฐกิจพอเพียง
ความพอเพียงระดับประเทศ
แบบก้าวหน้า
ทฤษฎีใหม่ข้นั ที่ ๑
ทฤษฎีใหม่ข้นั ที่ ๒
ทฤษฎีใหม่ข้นั ที่ ๓
9
ขอคิ
่ วกับความพอเพียง
้ ดเกีย
 พอเพียงไม่ใช่พอแล้ว แต่ตอ้ งเพียรพยายามอย่าง
สมา่ เสมอ
 พอเพียงต้องพัฒนาไปอย่างเป็ นขัน้ ตอน เพื่อให้กา้ วหน้า
ไปพร้อมกับความสมดุล ด้วยความประหยัด รอบคอบ
ระมัดระวัง
 พอเพียงต้องเริ่มที่ตวั เองโดยการคิด พูด ทา อย่าง
พอเพียง
 ฝึ กใจให้มีความสุขจากการพอ แล้วแบ่งปั น /
ไม่เบียดเบียนสังคม สิ่งแวดล้อม
10
๒
สรุปเศรษฐกิจพอเพียงคือ
อะไร
 เป็ นวิถีการดาเนินชีวิต ที่ใช้คณ
ุ ธรรมนาความรู ้
 เป็ นการพัฒนาตัวเอง ครอบครัว องค์กร ชุมชน สังคม
ประเทศชาติ ให้กา้ วหน้าไปพร้อมกับความสมดุล มั ่นคง
 เป็ นหลักปฏิบตั เิ พื่อให้อยูร่ ว่ มกันอย่างสันติสุข
ระหว่างคนกับคนในสังคม และคนกับธรรมชาติ
อย่างยั ่งยืน
11
๓.
การประยุกต์ใช้
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ด้านเศรษฐกิจ
๓
การประยุกตใช
เศรษฐกิ
จ
์ ้
พอเพียง
ในด
านต
างๆ
้
่
ลดรายจ่าย/เพิ่มรายได้/ใช้ชีวิตอย่างพอควร/คิ
ดและวางแผนอย่าง
รอบคอบ/มีภูมิคมุ ้ กันไม่เสี่ยงเกินไป/การเผื่อทางเลือกสารอง
ด้านจิตใจ
ด้านสังคม
มีจติ ใจเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ /มีจติ สานึกที่ดี /เอื้ออาทร
ประนีประนอม /นึกถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็ นหลัก
ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน /รูร้ กั สามัคคี /สร้างความเข้มแข็งให้
ครอบครัวและชุมชน
ด้านทรัพยากร
ธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
รูจ้ กั ใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ /เลือกใช้
ทรัพยากรที่มีอยูอ่ ย่างคุม้ ค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด /
ฟื้ นฟูทรัพยากรเพื่อให้เกิดความยั ่งยืนสูงสุด
ด้านเทคโนโลยี
รูจ้ กั ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการและ
สภาพแวดล้อม (ภูมิสงั คม) /พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญา
ชาวบ้านเองก่อน /ก่อให้เกิดประโยชน์กบั คนหมู่มาก
13
คุณลักษณะของกิจกรรม
ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
ความพอประมาณ
ความมีเหตุมีผล
พอเหมาะกับ
สภาพ/อัตภาพของตน
รูส้ าเหตุ – ทาไม
รูป้ ั จจัยที่เกี่ยวข้อง
(ปั จจัยภายใน)
วิชาการ/กฏหมาย
/ความเชื่อ/ประเพณี
พอควรกับภูมิสงั คม/
(ปั จจัยภายนอก)
รูผ้ ลกระทบที่จะ
เกิดขึ้นในด้านต่างๆ
(สมดุล)
(รอบรู/้ สติ ปั ญญา)
๓
มีภูมิคมุ ้ กันที่ดี
คานึงถึงการเปลี่ยนแปลง
ในด้านต่างๆ
รูเ้ ท่าทันและ
เตรียมความพร้อม
(วางแผน/รอบคอบ/เรียนรู/้
พัฒนาตน/จิตสาธารณะ/
รักษ์สิ่งแวดล้อม)
(ไม่ประมาท)
สามารถพึง่ ตนเองได้ และเป็ นทีพ
่ งึ่ ของ
14
ตัวอยางการประยุ
กตใช
่
์ ้
เศรษฐกิจพอเพียง
ในระดับบุคคลและครอบครัว
๓
15
ตัวอยางการใช
าง
่
้จายอย
่
่
พอเพียง
๓
พอประมาณ :
มีเหตุมีผล :
รายจ่ายสมดุลกับรายรับ
ใช้จา่ ยอย่างมีเหตุผล /มีความจาเป็ น /ไม่ใช้
สิ่งของเกินฐานะ /ใช้ของอย่างคุม้ ค่าประหยัด
มีภูมิคมุ ้ กัน :
มีเงินออม /แบ่งปั นผูอ้ ื่น /ทาบุญ
ความรูค้ ่คู ุณธรรม : ประกอบอาชีพที่สุจริต ด้วยความ
ขยันหมั ่นเพียร ใช้สติปัญญาในการตัดสินใจ
และดาเนินการต่างๆ เพื่อให้เท่าทันต่อการ
เปลี่ยนแปลง
16
๔
การขับเคลือ
่ นเศรษฐกิจ
พอเพียง
ดานการศึ
ก
ษา
้
หลักสูตรแกนกลางการศึ กษาขัน
้ พืน
้ ฐาน
๒๕๕๑
จุดหมาย เพือ่ ให้เกิดกับผูเรี
่ จบการศึ กษา
้ ยน เมือ
ขัน
้ พืน
้ ฐาน ๕ ข้อ
๑.มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิ
่ งึ ประสงค ์
่ ยมทีพ
เห็ นคุณคาของตนเอง
่
มีวน
ิ ย
ั และปฏิบต
ั ต
ิ ามหลักธรรมของ
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาทีต
่ นนับถือ
ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มุงพั
่ ฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอัน
พึงประสงค ์ เพือ
่ ให้สามารถอยูร่ วมกั
บ
่
ผู้อืน
่ ในสั งคม ไดอย
ความสุข ใน
้ างมี
่
ฐานะเป็ นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก
คุณลักษณะอันพึงประสงค ์
หลักสูตรแกนกลางการศึ กษาขัน
้ พืน
้ ฐาน
๒๕๕๑
กลุมสาระการเรี
ยนรูสั
่
้ งคมศึ กษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม
สาระที่ 3เศรษฐศาสตร ์
มาตรฐาน ส.3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการ
ทรัพยากรในการผลิตและบริโภค การใช้ทรัพยากรทีม
่ ี
อยูจ
ประสิ ทธิภาพและคุ้มคา่ รวมทัง้ เขาใจ
่ ากัดไดอย
้ างมี
่
้
หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพือ
่ การดารงชีวต
ิ
อยางมี
ดล
ุ ยภาพ
่
ระดับ ป.1 - 3
ครอบครัว
ระดับ ป.4 – 6
ระดับ ม.1 – 3
จังหวัด
เน้นความพอพียงระดับตนเองและ
เน้นความพอเพียงระดับโรงเรียน
เน้นความพอเพียงระดับชุมชน
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึ กษา
เศรษฐกิจพอเพียคุงณธรรมนาความรู้
การบริหารสถานศึกษา
- จัด
สภาพแวดลอม
้
ทีเ่ อือ
้ ตอการ
่
เรียนรูวิ
้ ถี
พอเพียง
- สร้าง
วัฒนธรรม
องคกร
์
- ปลูกฝังให้เป็ น
การจัดหลักสูตรการเรียนการสอน
- กาหนดมาตรฐาน
การเรียนรู้
ชัน
้ ปี (รายวิชา
พืน
้ ฐาน)
- จัดทาหน่วย/
แผนการเรียนรู้
- จัดกิจกรรมการ
เรียนรู้
- จัดทาสื่ อ/แหลง่
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน
แนะแนว
กิจกรรมนักเรียน
- ให้บริการ
- ลส.-นน. ยุว
กาชาด
แนะแนว
ผู้บาเพ็ญ
- ระบบดูแล
ประโยชน์
ช่วยเหลือ
- โครงงาน
นักิกจเรีกรรมเพื
ยน
ม
นุ ม ต
อ
่ --สัชุ
ง
คม/จิ
ชมรม
สาธารณะ ฯลฯ
เนนการมีสวนรวม
้
่
่
การเห็ นคุณคาของการ
่
อยูร่ วมกั
น
่
แนวทางการนาหลักปศพ.ไปปรับใช้ใน
สถานศึ กษา
การบริหารจัดการ
กาหนดเป็ นนโยบาย
- งานวิชาการ
งบประมาณ บุคคล
บริหารทัว่ ไป
ชุมชนสั มพันธ ์
นาหลักการทรงงาน
มาปรับใช้ในการ
บริหารสถานศึ กษา
บริหารทรัพยากร
ตามหลัก ปศพ. การ
มีส่วนรวม
รูรั
่
้ ก
สามัคคี ไมประมาท
่
การเรี
ย
นการสอน
สอนวิชา
“เศรษฐกิจ
พอเพียง”ตาม
มาตรฐาน
บูรณาการส
๓.๑
หลัก ปศพ.
กับ สาระการ
สราง
เรีย้ นรู้
บรรยากาศที่
ส่งเสริมการ
เรียนรูตาม
้
หลัก ปศพ.
กิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน
ตอยอด
่
หรือ
พัฒนา
กิจกรรม
ที่
สอดคลอ
้
ง
กับภูม ิ
สั งคม/
บริบท
ใช้หลัก
คิด
หลัก
ปฏิบต
ั ท
ิ ี่
สอดคลอง
้
กับหลัก
วิชาการ
อยาง
่
สมเหตุสม
ผล
มีการ
วางแผน
อยาง
่
รอบคอบ
คานึงถึง
ความเสี
่ ยง
ส่งเสริม
ตางๆ
การเรี
่ ยนรู้
และ
คุณธรรม
เป
าหมายของการขั
บ
เคลื
อ
่
นฯ
้สถานศึ
กษา นา
ผู้บริหาร ครู และ
ปศพ. ไปใช้ในการ
บุคลากรทางการศึ กษาที่
บริหารจัดการศึ กษา
เกีย
่ วของมี
ความรู้ ความ
้
และดาเนินกิจกรรมที่
เข้าใจ และปฏิบต
ั ต
ิ นเป็ น
เป็ นประโยชนต
์ อ
่
แบบอยางตาม
ปศพ.
่
ชุมชน/สั งคม ภาพความ
สาเร็จ
นักเรียน มีความรู้ ทักษะ
ปฏิบต
ั ต
ิ นและดาเนินชีวต
ิ ตาม
ปศพ.
“อยูอย
ยง”
่ างพอเพี
่
ผู้ปกครอง ชุมชน ดาเนิน
ชีวต
ิ และ มีการพัฒนาตาม
ปศพ.
23
ยง
นักเรียนอยูอย
เป้าหมาย
่
่ างพอเพี
สมดุลและพรอมรั
บการเปลีย
่ นแปลงในดาน
้
้
ตางๆ
่
• ฝึ กการอยูรวมกับ
• ปลูกฝังใหเด็ก
้
และเยาวชน
รู้จักใช้วัตถุ/
สิ่ งของ/
ทรัพยากร
อยางพอเพี
ยง
่
• สร้างความภูมใิ จ
เห็ นคุณคาของ
่
วัฒนธรรม
คานิ
่ ยม
เอกลักษณ ์ ความ
่ ่
ผู้อืน
่ อยาง
่
เอือ
้ เฟื้ อเผือ
่ แผ/่
แบงปั
่ น/ไม่
เบียดเบียน
วัตถุ
สั งค
ม
วัฒน
ธรร
ม
สิ่ งแว
ดลอม
้ • ปลูกฝังจิตสานึก
รักษธรรมชาติ
/
์
สิ่ งแวดลอม
้
ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานศึกษา (ด้านเศรษฐกิจ)
หลักปฏิบตั ิ
๑. รูจ้ กั การใช้จา่ ยของตนเอง
ใช้จา่ ยอย่างมีเหตุมีผล
อย่างพอประมาณ
ประหยัด เท่าที่จาเป็ น
๔
ตัวอย่างกิจกรรม
บันทึกบัญชีรายรับและรายจ่าย
วิเคราะห์บญ
ั ชีรายรับและ
รายจ่าย
แลกเปลี่ยนประสบการณ์
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ
บริโภคเพื่อลดรายจ่ายที่
ฟุ่ มเฟื อย
24
ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานศึกษา (ด้านเศรษฐกิจ)
หลักปฏิบตั ิ
๒. รูจ้ กั ออมเงิน มีกลไก
ลดความเสี่ยง
ระบบสวัสดิการ
ระบบออมเงิน
ระบบสหกรณ์
ระบบประกันต่างๆ
๔
ตัวอย่างกิจกรรม
• ออมอย่างพอเพียง
• สัปดาห์การออม
• จัดตั้งกลุม่ /สหกรณ์
ออมทรัพย์
25
๔
ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานศึกษา (ด้านเศรษฐกิจ)
หลักปฏิบตั ิ
๓. รูจ้ กั ประหยัด
ใช้และกินอย่างมีเหตุผล
ไม่ฟุ่มเฟื อย
ใช้พลังงานเท่าที่จาเป็ น
ใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่า
ตัวอย่างกิจกรรม
ปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้
เลี้ยงปลา เลี้ยงไก่ ไว้กิน ไว้ขาย
ใช้สินค้าที่ประหยัดพลังงาน
รีไซเคิลขยะเพื่อนามาใช้ใหม่
นาของเหลือใช้ มาทาให้เกิด
ประโยชน์
26
ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานศึกษา (ด้านเศรษฐกิจ)
หลักปฏิบตั ิ
๔. พึ่งตนเองได้ทางเศรษฐกิจโดย
ผลิต หรือสร้างรายได้ ที่
สอดคล้องกับความต้องการ
สอดคล้องกับภูมิสงั คม
สอดคล้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่น
สอดคล้องกับทรัพยากรท้องถิน่
๔
ตัวอย่างกิจกรรม
เน้นการผลิตเพื่อพึ่งตนเอง ให้
พอเพียงกับการบริโภค และการ
ผลิตที่หลากหลาย เช่น
ปลูกพืชผักผสมผสาน
ปลูกพืชสมุนไพรไทย
ผลิตสินค้าจากภูมิปัญญา
ท้องถิ่น
จัดอบรมพัฒนาอาชีพในชุมชน
27
ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานศึกษา (ด้านสังคม)
หลักปฏิบตั ิ
ตัวอย่างกิจกรรม
๕. รูจ้ กั ช่วยเหลือสังคม
หรือชุมชน
ปลูกจิตสานึกสาธารณะ
ปลูกฝังความสามัคคี
ปลูกฝังความเสียสละ
เผยแพร่องค์ความรู ้
เศรษฐกิจพอเพียง
พัฒนาความรูค้ ่คู ณ
ุ ธรรม ผ่านกิจกรรม
รวมกลุม่ ต่างๆ
• จัดกิจกรรมลด ละ เลิก อบายมุข
• จัดกิจกรรมช่วยเหลือผูด้ อ้ ยโอกาส
• จัดค่ายพัฒนาเยาวชน
• จัดตั้งศูนย์เรียนรูภ้ ายในชุมชน
๔
28
ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานศึกษา (ด้านสิ่งแวดล้อม)
หลักปฏิบตั ิ
๖. สร้างสมดุลของ
ทรัพยากรธรรมชาติ
ปลูกจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม
ฟื้ นฟูแหล่งเสื่อมโทรมในท้องถิ่น
ฟื้ นฟูและอนุรกั ษ์ทรัพยากรใน
ท้องถิ่น
ฟื้ นฟูดแู ลสถานที่ทอ่ งเที่ยวใน
ท้องถิ่น
๔
ตัวอย่างกิจกรรม
พัฒนาความรูเ้ กี่ยวกับดิน น้ า
ป่ า เพื่อฟื้ นฟู รักษา
• โครงการชีววิถี
• จัดอบรมการอนุรกั ษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ
• จัดทาฝายแม้ว
29
ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานศึกษา (ด้านวัฒนธรรม)
๔
หลักปฏิบตั ิ
ตัวอย่างกิจกรรม
๗. สืบสานวัฒนธรรมไทย
สร้างจิตสานึกรักษ์ไทย
รักบ้านเกิด
ฟื้ นฟูและอนุรกั ษ์อาหาร
ประจาท้องถิ่น
ฟื้ นฟูและอนุรกั ษ์ดนตรีไทย
และเพลงไทย
ฟื้ นฟูและอนุรกั ษ์วตั ถุโบราณ
และโบราณสถาน
• ปลูกฝังมารยาทไทย
• ส่งเสริมอาหารประจาท้องถิ่น
• ส่งเสริมการใช้ภาษาไทยและ
ภาษาประจาท้องถิ่น
• ทานุบารุงโบราณวัตถุและ
โบราณสถาน
• พัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น
• รณรงค์การใช้สินค้าไทย
30
ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานศึกษา (ด้านวัฒนธรรม)
หลักปฏิบตั ิ
๔
ตัวอย่างกิจกรรม
๘. ส่งเสริมพระพุทธศาสนา
ปลูกจิตสานึกความรักชาติ • ให้ความสาคัญกับการรักษาศีล
ตระหนักถึงคุณค่าของ
หรือสวดมนต์เป็ นประจา
พระพุทธศาสนาและศาสนา • ส่งเสริมการฝึ กอบรมสมาธิภาวนา
ที่ตนศรัทธา
• ร่วมกันทะนุบารุงศาสนาด้วยการ
จงรักภักดีตอ่
ปฏิบตั บิ ูชา และการร่วมดูแลวัด
พระมหากษัตริย ์
และศาสนสถานต่างๆ
31
ตัวอยางการบู
รณาการกิจกรรม
่
เศรษฐกิจพอเพียงในช่วงชัน
้ ที่ ๓
32