ปรัชญา ของ เศรษฐกิจ พอเพียง Sufficiency Economy “เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นเสมือนรากฐานของชีวติ รากฐานความมัน่ คงของแผ่ นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็ม ทีต่ อกรองรับบ้ านเรือน ตัวอาคารไว้ นั่นเอง สิ่ งก่ อสร้ างจะมัน่ คงได้ ก็อยู่ทเี่ สาเข็ม แต่ คนส่ วนมากมองไม่ เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสี ยด้ วยซ้าไป” พระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว.

Download Report

Transcript ปรัชญา ของ เศรษฐกิจ พอเพียง Sufficiency Economy “เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นเสมือนรากฐานของชีวติ รากฐานความมัน่ คงของแผ่ นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็ม ทีต่ อกรองรับบ้ านเรือน ตัวอาคารไว้ นั่นเอง สิ่ งก่ อสร้ างจะมัน่ คงได้ ก็อยู่ทเี่ สาเข็ม แต่ คนส่ วนมากมองไม่ เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสี ยด้ วยซ้าไป” พระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว.

ปรัชญา
ของ
เศรษฐกิจ
พอเพียง
Sufficiency
Economy
“เศรษฐกิจพอเพียง
เป็ นเสมือนรากฐานของชีวติ
รากฐานความมัน่ คงของแผ่ นดิน
เปรียบเสมือนเสาเข็ม
ทีต่ อกรองรับบ้ านเรือน
ตัวอาคารไว้ นั่นเอง
สิ่ งก่ อสร้ างจะมัน่ คงได้
ก็อยู่ทเี่ สาเข็ม
แต่ คนส่ วนมากมองไม่ เห็นเสาเข็ม
และลืมเสาเข็มเสี ยด้ วยซ้าไป”
พระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ทางสายกลาง  พอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล
เงื่อนไขความรู้
รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง
มีภมู ิ ค้มุ กันในตัว
เงื่อนไขคุณธรรม
ซื่อสัตย์สุจริต อดทน เพียร มีสติ ัญั ญ
เศรษฐกิจ สั งคม สิ่ งแวดล้อม วัฒนธรรม
ก้าวหน้ า สมดุล มั่นคง และยัง่ ยืน พร้ อมรับการเปลีย่ นแปลง
หลักของความพอประมาณ (พอดี) 5 ประการ
1.พอดีด้านจิตใจ
เข็มแข็ง มีจิตสานึกที่ดี เอือ้ อาทร ประนีประนอม นึกถึง
ประโยชน์ ส่วนรวม
2.พอดีด้านสั งคม
ช่ วยเหลือเกือ้ กูล รู้ รักสามัคคี สร้ างความเข้ มแข็งให้ ครอบครัว
และชุ มชน
3.พอดีด้านทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
รู้ จักใช้ และจัดการอย่ างฉลาดและรอบคอบและเกิดความยัง่ ยืน
สู งสุ ด
4.พอดีด้านเทคโนโลยี
รู้ จักใช้ เทคโนโลยีทเี่ หมาะสมและสอดคล้ องต่ อความต้ องการ
เป็ นประโยชน์ ต่อสภาพแวดล้อมและเกิดประโยชน์ ต่อ
ส่ วนรวมและพัฒนาจากภูมปิ ัญญาชาวบ้ านก่ อน
5.พอดีด้านเศรษฐกิจ
เพิม่ รายได้ ลดรายจ่ าย ดารงชีวติ อย่ างพอควร พออยู่ พอกิน
สมควรตามอัตตาภาพและฐานะของตน
หลักของความมีเหตุผล 5 ประการ
1.ยึดความประหยัด ตัดทอนค่ าใช้ จ่ายในทุกด้ าน ลดความฟุ่ มเฟื อยในการดารงชีวิต
2.ยึดถือการประกอบอาชีพด้ วยความถูกต้ อง สุ จริต แม้ จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลน
ในการดารงชีวติ
3.ละเลิกการเก่งแย่ งผลประโยชน์ และแข่ งขันในทางการค้ าขายประกอบอาชีพแบบ
ต่ อสู้ กนั อย่ างรุ นแรง
4.ไม่ หยุดนิ่งทีห่ าหนทางในชีวติ หลุดพ้ นจากความทุกข์ ยาก
5.ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลด เลิก สิ่ งยัว่ กิเลสให้ หมดสิ้นไป ไม่ ก่อความชั่วให้
เป็ นเครื่องทาลายตัวเอง ทาลายผู้อนื่ พยายามเพิม่ พูนรักษาความดี ทีม่ อี ยู่ให้
งอกงามสมบูรณ์ ยงิ่ ขึน้
หลักของความมีภูมคิ ุ้มกัน
2 ประการ
ภูมปิ ัญญา : มีความรู้ รอบครอบ และระมัดระวัง
ภูมธิ รรม : ซื่อสั ตย์ สุ จริต ขยันอดทนและแบ่ งปัน
พอเพียง คือ ไม่เบียดเบียน
ความพอเพียงนี้ อาจจะมีของหรูหราก็ได้
แต่ว่าต้องไม่เบียดเบียนคนอื่น
ต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง
ทาอะไรก็พอเพียง ปฏิบตั ติ นก็พอเพียง
พระราชดารัส (๔ ธ.ค. ๒๕๔๑)
โลภน้อย คือ พอเพียง
คนเราถ้าพอในความต้องการ
ก็มีความโลภน้อย
เมื่อมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย.
ถ้าทุกประเทศมีความคิด-อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจมีความคิดว่าทาอะไรต้องพอเพียง
หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง
ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยูเ่ ป็ นสุข.
พระราชดารัส (๔ ธ.ค. ๒๕๔๑)
เป้ าหมายของการพัฒนา
การพัฒนาคนให้ พออย่ พู อกิน → อย่ ดู มี ีสุข
พึง่ ตนเองได้ ระดับหนึ่ง มีศักยภาพ / มีทางเลือก
สุ ขภาพ ความรู้ ทักษะ อาชีพ เสรีภาพ
อยู่ร่วมกับผู้อนื่ ในสั งคม ได้ อย่ างสั นติสุข
ไม่ เบียดเบียน ไม่ เอารัดเอาเปรียบ แบ่ งปันเอือ้ เฟื้ อเผื่อแผ่
มีจิตเมตตา จิตสาธารณะ
อยู่ร่วมกับธรรมชาติ & สิ่ งแวดล้ อม ได้ อย่ างยัง่ ยืน
ไม่ ทาลาย เห็นคุณค่ า อนุรักษ์
สรุปเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร
• เป็ นวิถีการดาเนินชีวิต ที่ใช้คณ
ุ ธรรมนาความรู้
• เป็ นการพัฒนาตัวเอง ครอบครัว องค์กร ชุมชน
สังคม ประเทศชาติ ให้ก้าวหน้ าไปพร้อมกับความ
สมดุล มันคง
่ ยังยื
่ น
• เป็ นหลักปฏิบตั ิ เพื่อให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสขุ
ระหว่างคนกับคนในสังคม และคนกับธรรมชาติ
การประยุกต์ ใช้
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ ใช้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 โดยพื้นฐานก็คือ การพึ่งตนเอง เป็ นหลัก
การทาอะไรอย่างเป็ นขัน้ เป็ นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง
 พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร ความสมเหตุสมผล
และการพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
 การสร้างสามัคคีให้เกิดขึ้น บนพื้นฐานของความสมดุลในแต่
ละสัดส่วน แต่ละระดับ
 ครอบคลุมทัง้ ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี ทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงจิตใจ และวัฒนธรรม
การประยุกต์ ใช้ เศรษฐกิจพอเพียงในด้ านต่ างๆ
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านจิตใจ
ด้านสังคม
ด้านทรัพยากร
ธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
ด้านเทคโนโลยี
ลดรายจ่าย/เพิ่มรายได้/ใช้ชีวิตอย่างพอควร/คิดและวางแผน
อย่างรอบคอบ/มีภูมิคมุ ้ กันไม่เสี่ยงเกินไป/การเผื่อทางเลือก
สารอง
มีจติ ใจเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ /มีจติ สานึกที่ดี /เอื้ออาทร
ประนีประนอม /นึกถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็ นหลัก
ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน /รูร้ กั สามัคคี /สร้างความเข้มแข็งให้
ครอบครัวและชุมชน
รูจ้ กั ใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ /เลือกใช้
ทรัพยากรที่มีอยูอ่ ย่างคุม้ ค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด /
ฟื้ นฟูทรัพยากรเพื่อให้เกิดความยั ่งยืนสูงสุด
รูจ้ กั ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการและ
สภาพแวดล้อม (ภูมิสงั คม) /พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญา
ชาวบ้านเองก่อน /ก่อให้เกิดประโยชน์กบั คนหมู่มาก
ตัวอย่างแนวทางการวิเคราะห์ความพอเพียง
โดยใช้ หลักสัปปุริสธรรม ๗
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
รูเ้ หตุ
รูผ้ ล
รูต้ น
รูป้ ระมาณ
รูก้ าล
รูบ้ ุคคล
รูช้ ุมชน
ความมีเหตุมีผล
ความพอประมาณ
มีภูมิคมุ ้ กันที่ดี
คุณลักษณะของกิจกรรม
ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
ความพอประมาณ
ความมีเหตุมีผล
พอเหมาะกับ
รูส้ าเหตุ – ทาไม
สภาพ/อัตภาพของตน รูป้ ั จจัยที่เกี่ยวข้อง
(ปั จจัยภายใน)
พอควรกับภูมิสงั คม/
(ปั จจัยภายนอก)
(สมดุล)
วิชาการ/กฏหมาย
/ความเชื่อ/ประเพณี
รูผ้ ลกระทบที่จะ
เกิดขึ้นในด้านต่างๆ
(รอบรู/้ สติ ปั ญญา)
มีภูมิคมุ ้ กันที่ดี
คานึงถึงการเปลี่ยนแปลง
ในด้านต่างๆ
รูเ้ ท่าทันและ
เตรียมความพร้อม
(วางแผน/รอบคอบ/เรียนรู/้
พัฒนาตน/จิตสาธารณะ/
รักษ์สิ่งแวดล้อม)
(ไม่ประมาท)
สามารถพึ่งตนเองได้ และเป็ นที่พ่ึงของผูอ้ ่ืนได้ในที่สุด
ตัวอย่ างการประยุกต์ ใช้ เศรษฐกิจพอเพียง
ในระดับบุคคลและครอบครั ว
ตัวอย่างการใช้จ่ายอย่างพอเพียง
พอประมาณ : รายจ่ ายสมดุลกับรายรับ
มีเหตุมีผล : ใช้ จ่ายอย่ างมีเหตุผล /มีความจาเป็ น /ไม่ ใช้ สิ่งของ
เกินฐานะ /ใช้ ของอย่ างคุ้มค่ าประหยัด
มีภูมิคุ้มกัน : มีเงินออม /แบ่ งปันผู้อนื่ /ทาบุญ
ความรู้ คู่คุณธรรม : ประกอบอาชีพทีส่ ุ จริต ด้ วยความ
ขยันหมั่นเพียร ใช้ สติปัญญาในการตัดสินใจ
และดาเนินการต่ างๆ เพือ่ ให้ เท่ าทันต่ อการ
เปลีย่ นแปลง
สรุปข้ อสั งเกตเกีย่ วกับ
การประยุกต์ ใช้ เศรษฐกิจพอเพียง
• การประยุกต์ ใช้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกิดได้ หลายด้ าน
และหลายรู ปแบบ ไม่ มีสูตรสาเร็จ แต่ ละคนจะต้ องพิจารณา
ปรับใช้ ตามความเหมาะสม ให้ สอดคล้ องกับเงือ่ นไข และสภาวะ
ทีต่ นเผชิญอยู่
• ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จะช่ วยให้ เรา “ฉุกคิด” ว่ ามี
ทางเลือกอีกทางหนึ่ง ที่จะช่ วยให้ เกิดความยัง่ ยืน มั่นคง และ
สมดุลในระยะยาว
เศรษฐกิจพอเพียงกับการศึกษา
ตัวอย่ างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา
(ด้ านเศรษฐกิจ)
หลักปฏิบตั ิ
๑. รูจ้ กั การใช้จา่ ยของตนเอง
ใช้จา่ ยอย่างมีเหตุมีผล
อย่างพอประมาณ
ประหยัด เท่าที่จาเป็ น
ตัวอย่างกิจกรรม
บันทึกบัญชีรายรับและ
รายจ่าย
วิเคราะห์บญ
ั ชีรายรับและ
รายจ่าย
แลกเปลี่ยนประสบการณ์
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ
บริโภคเพื่อลดรายจ่ายที่
ฟุ่ มเฟื อย
ตัวอย่ างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา
(ด้ านเศรษฐกิจ)
หลักปฏิบตั ิ
๒. รูจ้ กั ออมเงิน มีกลไก
ลดความเสี่ยง
ระบบสวัสดิการ
ระบบออมเงิน
ระบบสหกรณ์
ระบบประกันต่างๆ
ตัวอย่างกิจกรรม
• ออมอย่างพอเพียง
• สัปดาห์การออม
• จัดตัง้ กลุม่ /สหกรณ์
ออมทรัพย์
ตัวอย่ างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา
(ด้ านเศรษฐกิจ)
หลักปฏิบตั ิ
๓. รูจ้ กั ประหยัด
ใช้และกินอย่างมีเหตุผล
ไม่ฟุ่มเฟื อย
ใช้พลังงานเท่าที่จาเป็ น
ใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่า
ตัวอย่างกิจกรรม
ปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้
เลี้ยงปลา เลี้ยงไก่ ไว้กิน ไว้ขาย
ใช้สินค้าที่ประหยัดพลังงาน
รีไซเคิลขยะเพื่อนามาใช้ใหม่
นาของเหลือใช้ มาทาให้เกิด
ประโยชน์
ตัวอย่ างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา
(ด้ านเศรษฐกิจ)
หลักปฏิบตั ิ
ตัวอย่างกิจกรรม
๔. พึ่งตนเองได้ทางเศรษฐกิจ เน้นการผลิตเพื่อพึ่งตนเอง ให้
โดยผลิต หรือสร้างรายได้ ที่ พอเพียงกับการบริโภค และ
สอดคล้องกับความต้องการ การผลิตที่หลากหลาย เช่น
สอดคล้องกับภูมิสงั คม
ปลูกพืชผักผสมผสาน
สอดคล้องกับภูมิปัญญา
ปลูกพืชสมุนไพรไทย
ท้องถิ่น
ผลิตสินค้าจากภูมิปัญญา
สอดคล้องกับทรัพยากร
ท้องถิ่น
ท้องถิ่น
จัดอบรมพัฒนาอาชีพใน
ชุมชน
ตัวอย่ างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา
(ด้ านสั งคม)
หลักปฏิบตั ิ
ตัวอย่างกิจกรรม
๕. รูจ้ กั ช่วยเหลือสังคม
หรือชุมชน
ปลูกจิตสานึก
สาธารณะ
ปลูกฝังความสามัคคี
ปลูกฝังความเสียสละ
เผยแพร่องค์ความรู ้
เศรษฐกิจพอเพียง
พัฒนาความรูค้ ู่คณ
ุ ธรรม ผ่าน
กิจกรรมรวมกลุม่ ต่างๆ
• จัดกิจกรรมลด ละ เลิก อบายมุข
• จัดกิจกรรมช่วยเหลือ
ผูด้ อ้ ยโอกาส
• จัดค่ายพัฒนาเยาวชน
• จัดตัง้ ศูนย์เรียนรูภ้ ายในชุมชน
ตัวอย่ างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา
(ด้ านสิ่ งแวดล้ อม)
หลักปฏิบตั ิ
๖. สร้างสมดุลของ
ทรัพยากรธรรมชาติ
ปลูกจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม
ฟื้ นฟูแหล่งเสื่อมโทรมใน
ท้องถิ่น
ฟื้ นฟูและอนุรกั ษ์ทรัพยากรใน
ท้องถิ่น
ฟื้ นฟูดแู ลสถานที่ทอ่ งเทีย่ วใน
ท้องถิ่น
ตัวอย่างกิจกรรม
พัฒนาความรูเ้ กี่ยวกับดิน
น้ า ป่ า เพื่อฟื้ นฟู รักษา
• โครงการชีววิถี
• จัดอบรมการอนุรกั ษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ
• จัดทาฝายแม้ว
ตัวอย่ างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา
(ด้ านวัฒนธรรม)
หลักปฏิบตั ิ
๗. สืบสานวัฒนธรรมไทย
สร้างจิตสานึกรักษ์ไทย
รักบ้านเกิด
ฟื้ นฟูและอนุรกั ษ์อาหาร
ประจาท้องถิ่น
ฟื้ นฟูและอนุรกั ษ์ดนตรีไทย
และเพลงไทย
ฟื้ นฟูและอนุรกั ษ์วตั ถุโบราณ
และโบราณสถาน
ตัวอย่างกิจกรรม
• ปลูกฝังมารยาทไทย
• ส่งเสริมอาหารประจาท้องถิ่น
• ส่งเสริมการใช้ภาษาไทยและ
ภาษาประจาท้องถิ่น
• ทานุบารุงโบราณวัตถุและ
โบราณสถาน
• พัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น
• รณรงค์การใช้สินค้าไทย
ตัวอย่ างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา
(ด้ านวัฒนธรรม)
หลักปฏิบตั ิ
ตัวอย่างกิจกรรม
๘. ส่งเสริมพระพุทธศาสนา
ปลูกจิตสานึกความรัก • ให้ความสาคัญกับการรักษาศีล
ชาติ
หรือสวดมนต์เป็ นประจา
ตระหนักถึงคุณค่าของ • ส่งเสริมการฝึ กอบรมสมาธิ
พระพุทธศาสนาและ
ภาวนา
ศาสนาที่ตนศรัทธา
• ร่วมกันทะนุบารุงศาสนาด้วย
จงรักภักดีตอ่
การปฏิบตั ิบูชา และการร่วม
พระมหากษัตริย ์
ดูแลวัด และศาสนสถานต่างๆ
การเขียนแผนแบบบูรณาการ
 ยึดสาระสังคมเป็ นหลัก เพราะสังคมจะมีหวั ข้อ และเนื้อหา
ชัดเจนให้สอดแทรกความคิด/คุณค่า คุณลักษณะที่พึงประสงค์ลง
ไปได้
 ยุทธศาสตร์การสอนของครู สอดแทรกความรับผิดชอบ ความคิด
อิสระ ริเริ่มสร้างสรรค์ลงไป
 เน้นให้เด็กแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ปัญหาต่างๆที่อยูร่ อบตัว
โดยมีครูค่อยชักจูงให้คิดแบบ โยนิโสมนสิการ และมีกลั ยาณมิตร
คอยท้วงติง แนะนา ด้วยความจริงใจ
 เพื่อความอยูร่ ว่ มกันอย่างเกิดประโยชน์และเป็ นสุข ยึดหลัก
เศรษฐกิจพอเพียงในการเรียนรู ้
สว ัสดี