ความเสี่ยง - โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา

Download Report

Transcript ความเสี่ยง - โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา

LOGO
การบริหารความเสี่ยงในสถานศึกษา
ปส ุตา โอษฐ์จนั ทร์ศรี
ความเสี่ยง
RISK
_PASUTA OODJUNSRI
ความเสี่ยง
RISK
_PASUTA OODJUNSRI
ความรท้ ู ี่สาคัญสาหรับการบริหารความเสี่ยง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ความสาคัญและความจาเป็นของการบริหารความเสี่ยง
ประโยชน์ของการบริหารความเสี่ยง
ความหมายของความเสี่ยง โอกาส และการบริหารความเสี่ยง
ปัจจัยเหต ุแห่งความเสี่ยง
ประเภทของความเสี่ยง
แนวคิดและหลักการในการบริหารความเสี่ยงขององค์กร
กระบวนการบริหารความเสี่ยงขององค์การ และการประย ุกต์ใช้
การบริหารความเสี่ยงในการบริหารจัดการการดาเนินกลย ุทธ์
ขององค์การ
8. การบริการความเสี่ยงในโรงเรียน
RISK
_PASUTA OODJUNSRI
ความสาคัญในการบริหารความเสี่ยง
โลกย ุคโลกาภิวตั น์
เศรษฐกิจเสรีไร้พรมแดน
•การแข่งขันในเวทีโลก
สังคม เศรษฐกิจ
เป็นย ุค
แห่งการเรียนรู้
กระแสสังคม เช่น
•ประชาธิปไตย
•การเมือง
วัฒนธรรมและค่านิยมที่เปลี่ยนแปลง
เกิดความเสี่ยงจากเหต ุการณ์ต่างๆ
หลักธรรมาภิบาล
ร่าง สมศ.รอบ 4 ด้านการบริหารและธรรมาภิบาลของ
สถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ การบริหารความเสี่ยง
ประโยชน์ของการบริหารความเสี่ยง
เพื่อให้ผลการดาเนินงานขององค์กรเป็นไปตามวัตถ ุประสงค์และ
เป้าหมายที่วางไว้
เพื่อให้เกิดการรับร ้ ู ตระหนัก และเข้าใจถึงความเสี่ยงด้านต่างๆที่เกิด
ขึ้นกับองค์กร และหาวิธีจดั การที่เหมาะสมในการลดความเสี่ยงให้อยู่
ในระดับที่องค์กรยอมรับได้
สร้างกรอบและแนวทางในการดาเนินงานให้แก่บ ุคลากรในองค์กร
เพื่อให้สามารถบริหารจัดการความไม่แน่นอนที่จะเกิดขึ้นกับองค์กรได้
อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ
เพื่อให้มีระบบในการติดตามตรวจสอบผลการดาเนินการบริหารความ
เสี่ยงและเฝ้าระวังความเสี่ยงใหม่ๆที่อาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา
เพิ่มมูลค่าให้ผม้ ู ีสว่ นได้สว่ นเสียกับองค์กร
RISK_PASUTA OODJUNSRI
ผลกระทบที่เกิดจากการไม่รค้ ู วามเสี่ยง
 การปฏิบตั ิไม่เป็นไปตามเป้าหมายขององค์กร
 ตัดสินใจผิดพลาดจากการใช้ขอ้ มูล
 เสียเปรียบคแู่ ข่ง
 สูญเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น
RISK_PASUTA OODJUNSRI
ความเสี่ยง (Risk ) คืออะไร
ความเสี่ ย ง คื อ เหต ุการณ์ที่อ าจเกิ ด ขึ้ น ในอนาคต และ
อาจมีผลกระทบ (ด้านลบ) ต่อการบรรล ุวัตถ ุประสงค์ของ
องค์กร ทาให้ไม่ประสบความสาเร็จตามวัตถ ุประสงค์และ
เป้าหมายที่กาหนด
RISK_PASUTA OODJUNSRI
ความหมายของการบริหารความเสี่ยง
การบริ ห ารความเสี่ ย ง หมายถึ ง วิ ธี ก าร
บริหารจัดการที่ เป็นไปเพื่ อการคาดการณ์ และลด
ผลเสียของความไม่แน่ นอน ที่ จะเกิดขึ้ นกับองค์กร
ทั้ง นี้ เ พื่ อ ให้อ งค์ก รสามารถบรรล วุ ัต ถ ปุ ระสงค์ไ ด้
โดยมีประสิทธิภาพมากขึ้น
RISK_PASUTA OODJUNSRI
ปัจจัยเหต ุแห่งของความเสี่ยง
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยภายนอก
กลยุทธ์
การเงิน
ทรัพยากร
บุคคล
คู่คา้
วัตถุประสงค์
การ
ปฏิบตั งิ าน
กฎระเบียบ
ข้อกฎหมาย
เศรษฐกิจ
นโยบายรัฐบาล
การเมือง
RISK_PASUTA OODJUNSRI
ประเภทของความเสี่ยง 4 ประเภท
• Strategic Risk – ความเสี่ ยงที่
เกี่ยวของในระดับยุทธศาสตร์
เช่น การเมือง เศรษฐกิจ
กฎหมาย ตลาด ภาพลักษณ์ ผูน้ า
ชื่อเสี ยง ลูกค้า เป็ นต้น
Financial Risk – ความเสี่ ยง
ที่เกี่ยวข้องกับด้านการเงิน เช่น
การผันผวนทางการเงินสภาพคล่อง
อัตราดอกเบี้ย ข้อมูลเอกสารหลักฐานทาง
การเงิน และการรายงานทางการเงินบัญชี
เป็ นต้น
• Operational Risk – ความเสี่ ยงที่
เกี่ยวข้องระดับปฏิบตั ิการ เช่น
กระบวนการ เทคโนโลยี และคนใน
องค์กร เป็ นต้น
ด้าน
กลย ุทธ์
ด้านการ
ปฏิบตั ิงาน
ด้าน
การเงิน
ด้านการ
ปฏิบตั ิตาม
ระเบียบ
•
Hazard Risk – ความเสี่ ยงที่
เก
เกี่ยวข้องในด้านความ
•
ปลอดภัย จากอันตรายต่อชีวติ และ
ะ ทรัพย์สิน เช่น การสู ญเสี ยทางชีวติ และ
ทรัพย์สินจากภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ
และการก่อการร้าย เป็ นต้น
RISK_PASUTA OODJUNSRI
แนวคิดการบริหารความเสี่ ยง
ประเทศสหรัฐอเมริกา
ประเทศออสเตรเลีย
ประเทศแคนาดา
International
Organization For
Standardization (ISO)
Bank for International
Settlements (BIS)
การบริหารความเสี่ยงขององค์กรเชิงบูรณาการ
ตามแนวทาง The Committee of Sponsoring Organization
of the Treadway Commission (COSO)
การจัดการความเสี่ยง
ตามมาตรฐานของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์
(AS/NZS 4360:2004)
การจัดการความเสี่ยงเชิงบูรณาการ
ตามกรอบโครงสร้างของ Treasury Board of Canada
การจัดการความเสี่ยงตามมาตรฐานสากล
ISO/DIS 31000
การจัดการความเสี่ยงตามมาตรฐานของ
Bank for International Settlements (BASEL II)
RISK_PASUTA OODJUNSRI
กระบวนการบริหารความเสี่ยง
13
RISK_PASUTA OODJUNSRI
1. กาหนดวัตถ ุประสงค์ที่ดี (SMART)
TIME
BOUND
มีการกาหนด
ระยะเวลา
SPECIFIC
มีความชัดเจน
MEASURABLE
RELEVANT
สามารถวัดผลได้
มีความสอดคล้องกัน
ACHIEVABLE
สามารถบรรล ุได้
RISK_PASUTA OODJUNSRI
2.การระบ ุเหต ุการณ์
ประเภทความเสี่ยง
ความเสี่ยงด้าน
กลย ุทธ์
กระบวนการ/กิจกรรม
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
การบริหารงาน
-กาหนดกลยุทธ์ผดิ พลาดไม่
สอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ของ
องค์กร
การนากลยุทธ์ไปปฏิบตั ิ
-กิจกรรมตามแผนกลยุทธ์ไม่
สามารถนาไปสูก่ ารบรรลุ
วัตถุประสงค์องค์กรได้
การแข่งขันทางกลยุทธ์
-กลยุทธ์ขององค์กรขาดการ
พัฒนาให้ทนั ต่อสถานการณ์จน
ไม่สามารถแข่งขันกับคูแ่ ข่งได้
RISK_PASUTA OODJUNSRI
ตัวอย่างการระบ ุเหต ุการณ์
ประเภทความเสี่ยง
ความเสี่ยงด้านการ
ปฏิบตั ิงาน
กระบวนการ/กิจกรรม
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
บุคลากรในหน่วยงาน
-ขาดทักษะ, ความชานาญและ
ความรูเ้ ฉพาะทาง
ความปลอดภัย
-เกิดอุบตั เิ หตุ หรือได้รบั
อันตรายจากการ
ปฏิบตั งิ าน
เทคโนโลยี/นวัตกรรม
-เทคโนโลยีลา้ สมัย
-ถูกละเมิดลิขสิทธิ์
สิ่งแวดล้อม
-สร้างมลพิษแก่ชมุ ชนรอบ
ข้าง
-สร้างความเดือดร้อนแก่
ประชาชน
RISK_PASUTA OODJUNSRI
ตัวอย่างการระบ ุเหต ุการณ์
ประเภทความเสี่ยง
ความเสี่ยงด้านการเงิน
กระบวนการ/กิจกรรม
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
งบประมาณ
-เบิกจ่ายงบประมาณไม่ทนั
ตามกาหนดเวลา
-งบประมาณไม่เพียงพอต่อ
การดาเนินงาน
หนีส้ ิน
-องค์กรขาดสภาพคล่องใน
การชาระหนี้
-เกิดหนีส้ ญ
ู จากลูกหนี้
ตลาดสินค้าและการเงิน
-การเปลี่ยนแปลงของราคา
วัตถุดบิ , อัตราแลกเปลี่ยน,
ดอกเบี้ย ฯลฯ
RISK_PASUTA OODJUNSRI
ตัวอย่างการระบ ุเหต ุการณ์
ประเภทความเสี่ยง
ความเสี่ยงด้านการปฏิบตั ิ
ตามกฏระเบียบ
กระบวนการ/กิจกรรม
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
การละเมิดสัญญา
-ดาเนินงานไม่เสร็จตาม
กาหนดในสัญญา
-กระบวนการดาเนินงานไม่
เป็ นไปตามข้อตกลง
การเปลี่ยนแปลงกฏระเบียบ
-ผูเ้ สียผลประโยชน์หรือ
บุคลากรในองค์กรต่อต้านกฏ
ระเบียบใหม่
-องค์กรได้รบั ความเสียหาย
ในทางใดทางหนึง่ จากการ
เปลี่ยนแปลงกฏหมาย
RISK_PASUTA OODJUNSRI
3.การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
ประเมินว่าแต่ละปัจจัยเสี่ยงนัน้ มีโอกาสที่จะเกิดมากน้อยเพียงใด และ
หากเกิดขึ้นแล้วจะส่งผลกระทบต่อองค์กรร ุนแรงเพียงใด และนามา
จัดลาดับว่าปัจจัยเสี่ยงใดมีความสาคัญมากน้อยกว่ากันเพื่อจะได้
กาหนดมาตรการตอบโต้กบั ปัจจัยเสี่ยงเหล่านัน้ ได้อย่างเหมาะสม
ประเมินผลกระทบ (Impact)
ประเมินโอกาสที่จะเกิด (Likelihood)
คานวณระดับความเสี่ยง (Risk Exposure) เพื่อจัดลาดับ
RISK_PASUTA OODJUNSRI
ตัวอย่างผลกระทบต่อองค์กร (ด้านเวลา)
ผลกระทบ
ต่ อองค์ กร
สู งมาก
สู ง
ปานกลาง
น้ อย
น้ อยมาก
ความเสี ยหาย
ระดับ
คะแนน
ทาให้ เกิดความล่าช้ าของโครงการ มากกว่ า 6 เดือน
ทาให้ เกิดความล่าช้ าของโครงการ มากกว่ า 4.5 เดือน ถึง 6 เดือน
ทาให้ เกิดความล่าช้ าของโครงการ มากกว่ า 3 เดือน ถึง 4.5 เดือน
ทาให้ เกิดความล่าช้ าของโครงการ มากกว่ า 1.5 เดือน ถึง 3 เดือน
ทาให้ เกิดความล่าช้ าของโครงการ ไม่ เกิน 1.5 เดือน
5
4
3
2
1
RISK_PASUTA OODJUNSRI
ตัวอย่างโอกาสที่จะเกิดเหต ุการณ์ที่เป็นความเสี่ยง
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ ยง
ความถี่ที่เกิดขึน้ (เฉลีย่ )
ระดับคะแนน
สู งมาก
มากกว่ า 1 ครั้งต่ อเดือน
5
สู ง
ระหว่ าง1-6 เดือนต่ อครั้ง
4
ปานกลาง
ระหว่ าง 6-12 เดือนต่ อครั้ง
3
น้ อย
มากกว่ า 1 ปี ต่ อครั้ง
2
น้ อยมาก
มากกว่ า 5 ปี ต่ อครั้ง
1
RISK_PASUTA OODJUNSRI
การจัดลาดับความเสี่ยง
 คานวนระดับความเสี่ยง (Risk Exposure) เท่ากับผลค ูณของคะแนน
ระหว่างโอกาสที่จะเกิดกับความเสียหายเพื่อจัดลาดับความสาคัญ
และใช้ในการตัดสินใจว่าความเสี่ยงใดควรเร่งจัดการก่อน
 จัดทาแผนภูมิความเสี่ยงเพื่อให้ผบ้ ู ริหารและคนในองค์กรได้เห็น
ภาพรวมว่าความเสี่ยงมีการกระจายตัวอย่างไร
การวัดระดับความเสี่ยง
ผลกระทบ
5
4
3
2
1
สูงมาก
สูง
ปานกลาง
ต่า
1
2
3
โอกาสที่จะเกิด
23
4
5
แผนภ ูมิความเสี่ยง (Risk Profile)
มาก
ผลกระทบ
น้อย
ความเสี่ยงปานกลาง
ผลกระทบรุ นแรงมาก
โอกาสเกิดน้อย
ความเสี่ยงต่า
ผลกระทบน้อย
โอกาสเกิดน้อย
น้อย
ความเสี่ยงสูง
ผลกระทบรุ นแรงมาก
โอกาสเกิดมาก
ความเสี่ยงปานกลาง
ผลกระทบน้อย
โอกาสเกิดมาก
โอกาสทีจ่ ะเกิด
มาก
RISK_PASUTA OODJUNSRI
4. การจัดการกับความเสี่ยง (Addressing Risk Responses)
การยอมรับความเสี่ยง
(Tolerate)
ยอมรับให้มีความเสี่ยงบ้าง เพราะต้นท ุนการจัดการ
ความเสี่ยงอาจไม่คม้ ุ กับผลประโยชน์ที่อาจจะเกิดขึ้น
การจัดการควบค ุมความเสี่ยง มิใช่การขจัดความเสี่ยงให้หมดไป (Obviate) แต่ควบค ุม
(Treat and Control)
(Contain)ทัง
้ โอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงให้อยู่
ในระดับที่รบั ได้
การแบ่ง/ผ่องถ่ายความเสี่ยง
(Share/Transfer)
ผ่องถ่ายให้บ ุคคลที่สามร่วมรับความเสี่ยง เช่น
การประกันภัย
การยกเลิก/สิ้นส ุดกิจกรรมที่มี ความเสี่ยงบางอย่างอาจควบค ุมได้ ด้วยการยกเลิก
ความเสี่ยง (Terminate)
เป้าหมาย โครงการ งานหรือกิจกรรมที่มีความเสี่ยง
การฉวยโอกาสจาก
สถานการณ์ที่มีความเสี่ยง
(Take the Opportunity)
ความเสี่ยงบางอย่างอาจนามาซึ่งโอกาสในการ
บริหารจัดการ
RISK_PASUTA OODJUNSRI
การตอบสนองความเสี่ยง (Risk Response)
พิจารณาหาแนวทางเพื่อจะจัดการกับความเสี่ยงเพื่อให้ระดับความ
เสี่ยงลดลงจนอยูใ่ นระดับที่สามารถยอมรับได้ (Risk Tolerance)
การเลือกแนวทางที่จะจัดการกับความเสี่ยงนัน้ ต้องอยูบ่ นพื้นฐานของ
การเปรียบเทียบระหว่างต้นท ุนที่จะเกิดขึ้นจากแนวทางนัน้ ๆกับ
ผลประโยชน์ที่องค์กรจะได้รบั ว่ามีความคม้ ุ ค่าต่อองค์กรหรือไม่
RISK_PASUTA OODJUNSRI
5. กิจกรรมควบค ุม (Control Activities)
ภายใต้แนวทางต่างๆที่เลือกนัน้ จะประกอบไปด้วยกิจกรรมต่างๆที่
กาหนดขึ้นเพื่อที่จะตอบสนองต่อความเสี่ยง
กิจกรรมควบค ุมในที่น้ ีประกอบด้วยความคิดริเริม
่ ใหม่ๆและกิจกรรม
ที่ช่วยลดความน่าจะเป็นที่เหต ุการที่เป็นความเสี่ยงจะเกิดขึ้นหรือลด
ความเสียหายเมื่อเหต ุการณ์นนั้ ได้เกิดขึ้น การกาหนดกิจกรรม
ควบค ุมจึงมีความครอบคล ุมมากกว่าการควบค ุมภายใน
กาหนดตัวผูร้ บั ผิดชอบในแต่ละกิจกรรม ระยะเวลาในการปฏิบตั ิ การ
วิเคราะห์ตน้ ท ุนและผลประโยชน์ของกิจกรรมซึ่งประกอบด้วย
ค่าใช้จ่ายสาหรับกิจกรรม และระดับความเสี่ยงที่คงเหลือจากการ
ปฏิบตั ิกิจกรรม
RISK_PASUTA OODJUNSRI
6.การติดตามผล (Monitoring)
 แผนจัดการความเสี่ยงถูกนาไปใช้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ
 ทราบถึงข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นหลังจากใช้แผนจัดการความ
เสี่ยง
 สามารถปรับปร ุงแก้ไขแผนจัดการความเสี่ยงให้สอดคล้องกับ
สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป หรือกรณีที่แผนเดิมไม่มีประสิทธิภาพ
 มีการรายงานผลต่อผูบ้ ริหารที่ได้รบั มอบหมาย
RISK_PASUTA OODJUNSRI
การติดตามและทบทวนความเสี่ยง
ความเสี่ ยง
ก่ อนจัดการ
ความเสี่ ยง
ทีถ่ ูกจัดการ
ความเสี่ ยง
ทีถ่ ูกจัดการ
ความเสี่ ยง
ทีเ่ หลือ
การจัดการ
หลังทบทวน
ความเสี่ ยง
ที่ยอมรับได้
ตอบสนองความเสี่ ยง
ระดับความเสี่ ยงทีย่ อมรับ
ได้
ติดตามทบทวน
RISK_PASUTA OODJUNSRI
ขัน้ ตอนและกระบวนการบริหารความเสี่ยง
1. แต่งตัง้ คณะทางาน
และจัดหาทีมงาน
บริหารความเสี่ยง
- ผูบ้ ริหารมอบนโยบาย และให้การสนับสนุน
-ประชุมทีมงาน สรุปงานที่อยู่ในขอบเขตความรับผิดชอบ
2. ระบ ุเหต ุการณ์
- วิเคราะห์ขนั้ ตอนของแผนงาน ระบุความเสี่ยงและสาเหตุในแต่ละขัน้ ตอน
- ศึกษาเอกสาร ข้อมูล ,ระดมความคิด ,สัมภาษณ์
3. ประเมินความเสี่ยง
- โอกาสที่จะเกิด ,ความรุนแรงของผลกระทบ ,ระดับความสาคัญของความ
เสี่ยง และจัดลาดับ
4. ตอบสนองความ
เสี่ยง
5. ติดตามทบทวน
6. สร ุปและรายงาน
- แบ่งปั น ,หลีกเลี่ยง ,ลด และยอมรับ
-พิจารณาผลได้ผลเสียแต่ละทางเลือก
- ติดตามตรวจสอบว่ามีการดาเนินการตามแผนจัดการความเสี่ยง
- วิเคราะห์ความเสี่ยงคงเหลือ
-ย้อนกลับสูว่ งจรบริหารความเสี่ยง
- วิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลง และประโยชน์ที่ได้รบั จากการบริหารความเสี่ยง
- สรุปผลการดาเนินงาน
RISK_PASUTA OODJUNSRI
ความเสี่ยงในสถานศึกษา
RISK
_PASUTA OODJUNSRI
ตารางแสดงจานวนโรงเรียน นักเรียน ครูในโรงเรียนเอกชนระบบโรงเรียน ประเภทสามัญศึกษาจาแนกตามระดับการศึกษา
ปี การศึกษา 2547 - 2555
จานวน
ระดับการศึกษา โรงเรียน
จานวนนักเรียน
(คน)
จานวนครู (คน)
ปี 2547
3,098
1,663,074
88,587
2,500,000
ปี 2548
3,303
1,866,637
104,162
2,000,000
ปี 2549
3,394
1,952,474
109,024
ปี 2550
3,383
2,002,141
114,152
1,500,000
จานวนโรงเรี ยน
จานวนนักเรี ยน(คน)
1,000,000
ปี 2551
3,494
2,033,994
จานวนครู (คน)
108,326
ปี 2552
3,557
1,986,516
107,725
ปี 2553
3,156
1,781,350
113,891
ปี 2554
3,165
1,806,948
106,577
ปี 2555
3,185
1,798,245
88,058
เฉลีย่
3,304
1,876,820
104,500
500,000
ปี
ปี
ปี
ปี
ปี
ปี
ปี
ปี
ปี
2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555
RISK
_PASUTA OODJUNSRI
สถิตินกั เรียนปีการศึกษา 2551 -2557 โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา
5,000
ปี การศึกษา
4,500
2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557
4,000
ระดับชั้น
3,500
อนุบาล1-3 476
476 477 480 487 472 556
ประถม1-6 1,470 1,399 1,350 1,345 1,391 1,369 1,380
3,000
อนุบาล1-3
ประถม1-6
2,500
มัธยม1-3
มัธยม4-6
2,000
มัธยม1-3 1,379 1,455 1,435 1,379 1,322 1,326 1,378
มัธยม4-6 1,247 1,231 1,259 1,311 1,392 1,387 1,420
รวมทั้งสิ้ น
1,500
1,000
500
รวมทั้งสิ้น 4,572 4,561 4,521 4,515 4,592 4,554 4,734
1
2
RISK
3
4
5
6
7
_PASUTA OODJUNSRI
ความเสี่ยงในสถานศึกษา (ดวงใจ ช่วยตระก ูล)
ความเสี่ ยงด้านกฏ
ระเบียบ/ข้อบังคับ
ความเสี่ ยงด้าน
ทรัพยากรมนุษย์
ความเสี่ ยง
ด้านการเรี ยนการสอน
RISK_PASUTA OODJUNSRI
รูปแบบการบริหารความเสี่ยงด้านนโยบายและด้านกลยุทธ์ของโรงเรียนเอกชน
ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
ด้านนโยบาย
1)มีความยืดหยุน่ และสามารถ
ปฏิบตั ิได้
2)มีการบริ หารงานทรัพยากร
บุคคลครบทั้งระบบ
3)มีวิธีการสื่ อสารอย่าง
หลากหลายวิธี
4)มีโครงสร้างและคณะกรรมการ
ดาเนินงานอย่างชัดเจน
5)ผูป้ กครอง ชุมชน ศิษย์เก่าต้อง
เข้ามามีบทบาทช่วยเหลือและ
สนับสนุนการจัดการศึกษา
6) มีการกระจายอานาจในการ
บริ หารงานตามโครงสร้างอย่าง
ชัดเจน
เป้ าหมาย
ทรัพยากร
การติดต่อ
สื่ อสาร
ลักษณะของ
หน่วยงาน
ด้านกลยุทธ์
การวิเคราะห์
สภาพแวดล้อม
1)การมีส่วนร่ วมในการวิเคราะห์
สภาพแวดล้อมของโรงเรี ยน
การกาหนดทิศทาง
2) มีการกาหนดทิศทางการจัด
การศึกษาที่สนองต่อความ
ต้องการของชุมชน
การกาหนด
กลยุทธ์
สภาพสังคม
เศรษฐกิจ ฯ
การปฏิบตั ิตาม
ความร่ วมมือ
การควบคุม
ประเมิน
3) มีการกาหนดเป้ าหมาย
สอดคล้องกับพันธกิจ และ
วัตถุประสงค์ของโรงเรี ยน
4)มีผรู้ ับผิดชอบงานนโยบายและ
แผนอย่างชัดเจน
5)มีการเทียบเคียงคุณภาพ
การศึกษา (Benchmark)กับ
หน่วยงานภายนอก
RISK_PASUTA OODJUNSRI
ความเสี่ยงการนากลย ุทธ์ไปสูก่ ารปฏิบตั ิ (Strategy Implementation)

การวางแผนดี
มีประสิทธิภาพ

การนาไปปฏิบตั ิ
ประสิทธิภาพ
ความสาเร็จ

การวางแผนดี
มีประสิทธิภาพ
×
ขาดประสิทธิภาพ
ในการนาไปปฏิบตั ิ
การสูญเสียโอกาส
ครัง้ สาคัญ

การวางแผนดี
มีประสิทธิภาพ
×
ไม่สามารถนากลยุทธ์
ไปสูก่ ารปฏิบตั ไิ ด้ดี
เกิดความเสี่ยงได้
(at Risk)
×
ไม่มปี ระสิทธิภาพ
ในการวางแผน
×
ไม่มปี ระสิทธิภาพ
ในการนาไปปฏิบตั ิ
ความล้มเหลว
(สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน, 2553 ก)
LOGO
ความไม่ประมาท
เป็นมงคลอันสูงส ุด