Transcript Click

การประเมินความเสี่ยง
ทางส ุขภาพ
อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์
ผลการประเมินความเสี่ยงด้านส ุขภาพ
สิ่งแวดล้อมเหมาะสม สุขภาพปกติ
สิ่งแวดล้อมเหมาะสม สุขภาพไม่ปกติ
ความสัมพันธ์
สิ่งแวดล้อม&สุขภาพ
สิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม สุขภาพปกติ
สิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม สุขภาพไม่ปกติ
ประโยชน์ของการประเมินความเสี่ยง
• เพื่อทราบว่าสถานที่ทางานหรือแผนกนัน้ ๆ มี
โอกาสที่สิ่งค ุกคามในเรือ่ งต่าง ๆ จะก่อให้เกิด
อันตรายได้มากน้อยเพียงใด
• นาไปสูก่ ารพิจารณาที่จะดาเนินการใด ๆ เพื่อ
แก้ปัญหาความเสี่ยงนัน้ ได้อย่างเหมาะสม
ความหมายของสิ่งค ุกคามทางส ุขภาพ
สิ่งค ุกคาม (Hazard) =
สิ่งที่อยูใ่ นที่ทางาน
+
ก่อให้เกิดผลกระทบด้านส ุขภาพ
ความหมายของความเสี่ยง
ความเสี่ยง (Risk) =
โอกาส
+
สิ่งค ุกคามจะทาให้เกิดอันตราย
ระดับความเสี่ยงขึ้นกับ
ความรุนแรง
ของอันตรายที่
จะเกิดขึน้
โอกาสที่สิ่ง
คุกคามจะทาให้
เกิดอันตราย
จานวนคนที่
อาจได้รบั
ผลกระทบ
กระบวนการประเมินความเสี่ยง
การเตรียมการ
• แผนที่ทางาน
• ผังกระบวนการทางาน
• ขัน้ ตอนการทางาน
• รายชือ่ สารเคมี
• อุบตั เิ หตุที่เคยเกิดขึน้
• ข้อมูลการตรวจสุขภาพ
• ข้อมูลที่ดาเนินการอยู่
• ข้อร้องเรียน
กระบวนการประเมินความเสี่ยง
การเตรียมการ
การระบุสิ่งคุกคาม
การประเมินความเสี่ยง
บ ุคคลที่มีความเสี
ประเภทของอ
ุบัติก่ยารณ์
ง
• เจ้
การบาดเจ็
าหน้าที่ บ
• ผูอุบป้ ่ ตัวยเิ หตุ
• ญาติ
อัคคีภยั
• คนมาติ
ติดเชือ้ ดต่อ
• ผูลื่นจ้ าหกล้
้ งเหมางาน
ม
• เสียงดัง
• ความเครียด
กระบวนการประเมินความเสี่ยง
ความเป
โอกาส
็ นอันตราย
ขึ้นงกัเป
แบ่
บ็ยนด
รายละเอี
• เกิ
วิบบธตั ดหรื
ีกได้
ารท
นเจ็อน้้ บางาน
ยตอนเคร่
บางครั
ง้ ยด
เกิกดน้ได้อนยอ้ (1)
เล็
ยมาก
(1)
เกิ
ไม่
ด
บ
ขึ
าดเจ็
น
้
น้
อ
บ
ยมาก
,
มี
ก
ารบาดเจ็
คนปฏิ
ต
ิ
ามขั
อ
ป่
วยเล็
ก
ง
น้
ครั
อ
การประเมินความเสี่ยง
•และบ่
มาตรการป
อย ้ องกัน
เกิดได้บางครั
ปานกลาง
(2)ง้ /ปานกลาง (2) การบาดเจ็
มีการปฏิบบตั ทีงิ านไม่
่ตอ้ งรัปกลอดภั
ษา หรืยอมาตรการไม่
อวัยวะใช้งานไม่
รัดกุได้ม
• ความเคร่
ด
ูจาก งครัด
เกิดขึ(3)
มาก
น้ บ่อยครัง้ /มาก (3)
มีขยอ้ ชีมูวลิตการเกิ
เสี
, บาดเจ็
ดบ่บอรุยครั
นแรง
ง้ อหรื
คนได้
บั า่ ผลกระทบมาก
• ข้ความรู
มูลอทีมีร้ โ่ผอกาสเสี
นมา ยชีวิต
• วิธีการปฏิบตั งิ าน
โอกาสที่จะเกิด
ความเป็ นอันตราย • การทบทวนงานวิ
จานวนคนที่เสีจ่ยยั ง
การจัดระดับความเสี่ยง
กระบวนการประเมินความเสี่ยง
การจัดระดับความเสี่ยง
ความเสี่ยง = โอกาส
x ความเป็นอันตราย
โอกาส
น้อย (1)
บางครัง้ (2)
บ่อย (3)
ความเป็นอันตราย
เล็กน้อย (1)
ปานกลาง (2)
มาก (3)
1 ่ยง
2
3
ความเสี
ได้
เล็กน้อย
ยอมรับได้ทาต่อพร้
ปานกลาง
อ
มกั
บ
ยอมรับได้
2 อไม่
4 ความเสี่ยงที
6 ่มอ
ี ยู่
หรื
สูง
ยอมรับได้
ปานกลาง
3
6
9
สูง
ยอมรับไม่ได้
ปานกลาง
กระบวนการประเมินความเสี่ยง
โอกาส
ความเสี่ยง = โอกาส x
ความเป็นอันตราย
ความเป็นอันตราย
ความเสี
ย
่
ง
เล็กน้อย (1)
ปานกลาง (2)
มาก (3)
ยอมรับได้
น้อย (1)
1
2
3
ไม่ตบอ้ ได้งดาเนิปานกลาง
นการ
เล็หรื
กน้ออไม่
ย
ยอมรั
บางครัง้ (2)
2
4
6
ยอมรั
บ
ได้
แต่
ต
อ
้
งคุ
ม
ไม่ได้
ยอมรับได้
ปานกลาง
สูง
บ่อย (3) หลีกเลี่ยง/ลด/ขจั
3
6
9
ด ควรมี
ดการบไม่ได้
ปานกลาง
สูง การจัยอมรั
จาเป็ นต้องจัดการ
กระบวนการประเมินความเสี่ยง
ความเสี่ยง
ยอมรับได้
หรือไม่
ไม่ได้
หลีกเลี่ยง/ลด/ขจัด
เฝ้ าคุมความเสี่ยง
สื่อสารความเสี่ยง
ตัวอย่างการประเมินความเสี่ยง
แผนกซักฟอก
สิ่งค ุกคาม
โอกาส
ความร้อน เกิดน้อย จานวนคน
น้อย อยูไ่ ม่1นาน
เสียงดัง
เกิดน้อย เครือ่ งจักรดี
1 ป้องกัน
คนใช้อ ุปกรณ์
ยืน ยกของ บ่อยครัง้ มี3ผป้ ู วด
หลังเข้ารักษาบ่อย
ระดับความเสี่ยง
เล็กน้อย เป็นลม เล็กน้อย
1
1 X 1 = 1
ปานกลาง ห ู
ยอมรับได้
2 ยิน 1 X 2 = 2
สูญเสียการได้
ปานกลาง2 ต้อง สูง3 X 2
= 6
รักษา
ความเป็นอันตราย
ตัวอย่างการวางแผน
สิ่งค ุกคาม
ความร้อน
เสียงดัง
ยืน ยกของ
โอกาส
ความเป็นอันตราย
เกิดน้อย จานวนคนน้อย เล็กน้อย เป็นลม
อยูไ่ ม่นาน
เกิดน้อย เครือ่ งจักรดี
ปานกลาง ห ูสูญเสีย
คนใช้อ ุปกรณ์ป้องกัน
การได้ยนิ
บ่อยครัง้ มีผป้ ู วดหลัง
เข้ารักษาบ่อย
ระดับความเสี่ยง
เล็กน้อย
ยอมรับได้
ปานกลาง ต้องรักษา สูง
1
นาไปวางแผน
ตัวอย่างการวางแผนควบค ุมความเสี่ยง
ลักษณะงาน
ความเสี่ยง/อันตรายที่พบ
การป้องกันควบค ุม
ท่าทางการทางาน ยกของหนัก
- กาหนดห่อผ้าให้มนี า้ หนัก
ที่ผปู้ ฏิบตั งิ านสามารถออก
แรงยกได้
- ไม่ควรให้คนๆ เดียวยก
ทัง้ วัน ควรมีการสับเปลี่ยน
หมุนเวียน
ยืนนาน ๆ
- จัดหาเก้าอี้ให้ปฏิบตั งิ าน
ได้มกี ารพัก
ตัวอย่างขัน้ ตอนการประเมินความเสี่ยง
ชีบ้ ง่ อันตราย
กาหนดความ
เสี่ยง
ระบ ุขัน้ ตอนการทางาน (Job Safety Analysis)
ตัดสินว่า
ยอมรับได้
หรือไม่
ทาแผน
ควบคุมความ
เสี่ยง
ขัน้ ตอนการวิเคราะห์งาน
1. เลือกงานที่จะทาการวิเคราะห์ (Select)
2. แตกงานที่จะวิเคราะห์เป็นลาดับขัน้ ตอน (Step)
3. ค้นหาอันตรายที่แฝงอยูใ่ นแต่ละขัน้ ตอน (Identify)
4. พัฒนาเพื่อหามาตรการการแก้ไขปัญหา (Develop)
ตัวอย่างขัน้ ตอนงานซักรีด
เข็นผ้าเข้า
แผนกซักรีด
คัดแยกผ้า
ฉีดล้างนา้
ก่อนนาผ้าเข้า
เครื่องซักผ้า
เติมนา้ ยาฆ่า
เชื้อโรค
ตัวอย่างขัน้ ตอนงานซักรีด
เครื่องซัก
ผ้าทางาน
นาผ้าออก
จากเครื่อง
ซักผ้า
รีดผ้า
พับผ้า
ตัวอย่างการกรอกแบบฟอร์ม
ขัน้ ตอนการ
ทางาน/
ลักษณะงาน
1. เข็นผ้าเข้า
แผนกซักรีด
โดยใช้รถเข็น
2. คัดแยกผ้า
เข็นผ้าเข้า
แผนกซักรีด
สิ่งค ุกคามหลัก
1.1 ปวดหลัง
ระยะเวลา
ทางาน
(ชัว่ โมง)
2 ชัว่ โมง
2.1 ฝุ่ นเข้าตาและ
6 ชัว่ โมง
ฉีดล้างนา้
ทางเดิ
นหายใจ
คัดแยกผ้
า
ก่อนนาผ้าเข้า
2.2 ถูกเข็ม/ของมีคม เครื่องซักผ้า
ที่ตดิ มากับผ้าบาดมือ
จานวน
ผูป้ ฏิบตั ิงาน
(คน)
2 คน
5 คน
เติมนา้ ยาฆ่า
เชื้อโรค
เขียนชื่อ นามสก ุล รหัส และ
ให้ทายชื่อผลไม้ต่อไปนี้...
เฉลย
1. บักเค็ง
2. บักเบน
3. บักเม่า
4. บักเล็บแมว
5. บักค้อ
6. บักบก
7. บักผีผว่ น
8. บักส้มมอ
9. บักหว้า
10. บักอีโก่ย
ใครถ ูกมากกว่า 3 ข้อ
รูต้ วั ไว้ค ุณน๊ะ บ้านนอก
การจัดบริการทางส ุขภาพ
แก่บ ุคลากรในโรงพยาบาล
อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์
ความหมาย
การจัดบริการทางส ุขภาพ หมายถึง การให้บริการทาง
สุขภาพครอบคลุมทัง้ การให้บริการส่งเสริม ป้องกัน รักษา
และฟื้ นฟูสภาพ ซึ่งการให้บริการดังกล่าวจะต้องมีการ
ตรวจส ุขภาพเสียก่อน
การตรวจส ุขภาพ หมายถึง การตรวจร่างกายและ
สภาวะทางจิตใจตามวิธีทางการแพทย์ เพื่อให้ทราบถึง
ความเหมาะสม และผลกระทบต่อสุขภาพของผูป้ ฏิบตั งิ าน
อันเกิดจากการทางาน
วัตถ ุประสงค์และความสาคัญของการตรวจ
1. เพื่อที่จะคัดกรองบุคคลที่จะเข้ามาทางาน
2. เพื่อที่จะตรวจหาความผิดปกติของบุคคล
3. เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการปรับสภาพแวดล้อม
ในการทางาน
4. เป็ นการตรวจเบื้องต้นเพื่อเป็ นข้อมูลพื้นฐาน
ขัน้ ตอนการตรวจประเมินส ุขภาพ
การประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพ
พิจารณาตรวจคัดกรองสุขภาพ
สารวจ
สภาพการ
ทางาน
พิจารณา
อันตราย
พิจารณา
โอกาส
วางแผนตรวจคัดกรองสุขภาพ
จัดลาดับ
ความเสี่ยง
ขัน้ ตอนการตรวจประเมินส ุขภาพ
จัดเตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ คน
บริหารจัดการก่อนวันตรวจ
บริหารจัดการขณะตรวจ
การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล
ตัวอย่างขัน้ ตอนงานซักรีด
เข็นผ้าเข้า
แผนกซักรีด
คัดแยกผ้า
ฉีดล้างนา้
ก่อนนาผ้าเข้า
เครื่องซักผ้า
เติมนา้ ยาฆ่า
เชื้อโรค
ตัวอย่างขัน้ ตอนงานซักรีด
เครื่องซัก
ผ้าทางาน
นาผ้าออก
จากเครื่อง
ซักผ้า
เสียงดัง - ตรวจหู
รีดผ้า
พับผ้า
ฝุ่ น-ตรวจปอด
การตรวจส ุขภาพบ ุคลากร
- การตรวจสมรรถภาพปอด บุคลากรที่ทางานในที่มฝี ุ่ น เกี่ยวข้องกับสารเคมี
ไอระเหยของสารต่างๆ
- การตรวจสมรรถภาพการได้ยิน สาหรับผูท้ ี่ทางานในที่มเี สียงดัง
- การตรวจสมรรถภาพการมองเห็น สาหรับผูท้ ี่ทางานใช้สายตานานๆ ใช้
คอมพิวเตอร์ หรือแพทย์ผทู้ าการผ่าตัด
- การตรวจหาเชื
่ทางานสัมผัสเลือด สารคั
ดหลัง่
ก่อนเข้า ้ อไวรัสเอดส์ บุคลากรที
ตรวจ
ตามความ
ต่างๆ
ท
างาน
ประจ
าปี
เสี
ย
่
ง
- การตรวจ nasal swab C/S เมือ่ มีการระบาด MRSA ของหน่วยงานที่เสี่ยง
- การตรวจ rectal swab C/S บุคลากรที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับอาหาร เช่น
โภชนาการ คาเฟทีเรีย
- การตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบเอ โภชนาการ คาเฟทีเรีย บุคลากรที่ทา
หน้าที่เกี่ยวข้องกับอาหาร
- การตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และให้วคั ซีน บุคลากรที่ทางานสัมผัส
เลือด สารคัดหลัง่ ต่างๆ