PPT เศรษฐกิจพอเพียง มิ.ย.57โดยนายยืนยง ราชวงษ์

Download Report

Transcript PPT เศรษฐกิจพอเพียง มิ.ย.57โดยนายยืนยง ราชวงษ์

การบริหารจัดการหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงอย่างเป็ นระบบ
โดย นายยืนยง ราชวงษ์
ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต ๑
“ เศรษฐกิจพอเพียง
เป็ นเสมือนรากฐานของชีวติ
รากฐานความมัน่ คงของแผ่นดิน
เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถกู ตอกรองรับ
บ้านเรือนตัวอาคารไว้น้นั เอง
สิง่ ก่อสร้างจะมัน่ คงได้กอ็ ยูท่ ่ีเสาเข็ม
แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็ม
และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้า”
พระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั
“ คนเราถ้าพอใจในความต้องการ
ก็มีความโลภน้อย
เมื่อมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอืน่ น้อย
ถ้าทุกประเทศมีความคิด อันนี้ ไม่ใช่เศรษฐกิจ
มีความคิดว่า ทาอะไรต้องพอเพียง
หมายความว่า พอประมาณ
ไม่สดุ โต่ง ไม่โลภอย่างมาก
คนเราก็อยู่เป็ นสุข”
พระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั
แนวพระราชดาริในการดาเนิ นชีวิตแบบพอเพียง
๑. ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จา่ ยในทุกด้าน ลดละ
ความฟุ่ มเฟื อยในการใช้ชีวติ
๒. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง ซื่อสัตย์สจุ ริต
๓. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันกันในทางการค้า
แบบต่อสูก้ นั อย่างรุนแรง
๔. ไม่หยุดนิ่ งที่จะหาทางให้ชีวติ หลุดพ้นจากความทุกข์ยาก
ด้วยการขวนขวายใฝ่ หาความรูใ้ ห้มีรายได้เพิม่ พูนขึ้น จนถึงขัน้ พอเพียง
เป็ นเป้ าหมายสาคัญ
๕. ปฏิบตั ติ นในแนวทางที่ดี ลดละสิง่ ชัว่ ประพฤติตนตามหลักศาสนา
ความเข้าใจของคนไทย
ปัญหาหนึ่ งของการนาปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียง ไป
ใช้กค็ อื ผูน้ าไปใช้อาจยังไม่ได้ศึกษาหรือไม่มีความรู ้
เพียงพอ ทัง้ ยังไม่กล้าวิเคราะห์หรือตัง้ คาถามต่อตัวปรัชญา
เนื่ องจากเป็ นปรัชญาของพระมหากษัตริย ์ ความชอบธรรม
ให้กบั การพัฒนารูปแบบใดหรือมีนัยยะ ทางการเมือง
อะไรอยู่เบื้องหลัง
คาถามยอดนิ ยมของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
คาถามข้อ ๑.
เกษตรทฤษฏีใหม่คอื ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใช่
หรือไม่
ตอบ เป็ นแนวคิดส่วนหนึ่ ง ไม่ใช่ทง้ั หมด
เพราะภาคการเกษตรนาไปทาได้เป็ นรูปธรรม
ชัดเจนจึงเป็ นตัวอย่างที่ดีในการขยายผล
คาถามข้อ ๒.
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นแนวคิดอุดม
คติหรือไม่
ตอบ ไม่ใช่ เป็ นหลักการที่เป็ นรูปธรรม
ไม่สดุ โต่ง นาสูก่ ารลงมือทาได้จริง
คาถามข้อ ๓.
เศรษฐกิจพอเพียงส่งเสริมให้ผลิตเพือ่ บริโภคเองเลิก
ค้าขายกับภายนอกใช่ ขัดต่อหลักการทางธุรกิจ ที่
เน้นการหากาไรหรือไม่
ตอบ ไม่ใช่ เราต้องจัดการให้เหมาะ
เริ่มจากทามาหากิน ทามาค้าขาย ทาขายส่งนอกได้
คาถามข้อ ๔.
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไม่สนใจสาขาการผลิต
ที่ทนั สมัย ไม่การถ่ายโอนเทคโนโลยี จริง
หรือไม่
ตอบ ไม่จริง ให้เริ่มจากรากฐานการผลิตที่เริ่มจาก
พึง่ ตนเอง แล้วเพิม่ เทคโนโลยีได้อย่างมีเหตุผล
คาถามข้อ ๕.
การดาเนิ นชีวติ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงควร
เริ่มต้นจากอะไร
ตอบ เริ่มจากเข้าใจความหมายและหลักการ ใช้
กับตนเองและครอบครัวก่อนให้พง่ึ ตนเองได้
คาถามข้อ ๖.
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนาไปใช้ได้กบั
คนทุกวัย ทุกอาชีพและทุกศาสนาหรือไม่
ตอบ ใช้ได้กบั คนทุกวัย ทุกอาชีพและทุกชาติ
ศาสนา เพราะเริ่มจากความดีงามของจิตใจและ
คานึ งประโยชน์สขุ ส่วนรวม
คาถามข้อ ๗.
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จะประยุกต์ใช้กบั การ
พัฒนาระบบการศึกษาของไทยได้ อย่างไร
ตอบ ได้ เพราะการศึกษาคือเครื่องมือพัฒนาคน
ให้รูจ้ กั คิด ทาเป็ นอย่างมีเหตุผล
คาถามข้อ ๘.
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จะต้องมีพ้ นื ที่ทาง
การเกษตร ใช่หรือไม่ อย่างไร
ตอบ ไม่ใช่ เพราะหลักปรัชญาเรื่องวิถชี ีวติ เรื่อง
การเรียนการสอน การสร้างความรอบรู ้ นาไปสู่
การมีเหตุผล(คิด) และนาไปสูก่ ารสร้าง
คุณลักษณะนิ สยั ที่ดีให้เกิดขึ้นในตัวนักเรียน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ทางสายกลาง
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภมู ิคมุ ้ กันในตัวที่ดี
ความรู ้
คุณธรรม
รอบรู,้ ระลึกรู,้ รูแ้ จ้ง
ซื่อสัตย์, ขยัน, อดทน,แบ่งปัน
เศรษฐกิจมัน่ คง
ชีวติ สมดุล
สังคมยัง่ ยืน
๑. ความพอประมาณ
หมายถึง ความพอดี
ที่ไม่นอ้ ยเกินไปและไม่มากเกินไป
โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผูอ้ น่ื
เช่น การประกอบกิจกรรม การทางาน
การผลิตและ การบริโภค ที่อยู่ในระดับ
พอประมาณ
หลักของความพอประมาณ (พอดี)5ประการ ข้อสรุปของสภาพัฒน์ฯ
1.พอดีดา้ นจิตใจ
เข็มแข็ง มีจติ สานึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอม
นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม
2.พอดีดา้ นสังคม
ช่วยเหลือเกื้อกูล รูร้ กั สามัคคี สร้างความเข้มแข็ง
ให้ครอบครัวและชุมชน
3.พอดีดา้ นทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
รูจ้ กั ใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ
และเกิดความยั ่งยืนสูงสุด
4.พอดีดา้ นเทคโนโลยี
รูจ้ กั ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและสอดคล้องต่อความต้องการ
เป็ นประโยชน์ตอ่ สภาพแวดล้อมและเกิดประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม
และพัฒนาจากภูมิปัญญาชาวบ้านก่อน
5. พอดีดา้ นเศรษฐกิจ
เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ดารงชีวิตอย่างพอควร พออยู่ พอกิน
สมควรตามอัตตาภาพและฐานะของตน
๒. ความมีเหตุผล
หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับ
ความพอเพียงนั้น จะต้องเป็ นไปอย่าง
มีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจั จัย
ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึ งถึงผลที่คาดว่าจะ
เกิดขึ้นจากการกระทานั้นๆ อย่างรอบคอบ
หลักของความมีเหตุผล ๕ ประการ
๑. ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จา่ ยในทุกด้าน ลดความฟุ่ มเฟื อย
ในการดารงชีพ
๒. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลน
ในการดารงชีพ
๓. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันในทางการค้าขาย
ประกอบอาชีพ แบบต่อสูก้ นั อย่างรุนแรง
๔. ไม่หยุดนิ่ งที่หาทางในชีวติ หลุดพ้นจากความทุกข์ยาก
๕. ปฏิบตั ติ นในแนวทางที่ดี ลด เลิก สิง่ ยัว่ กิเลสให้หมดสิ้นไป ไม่ก่อความ
ชัว่ ให้เป็ นเครื่องทาลายตัวเอง ทาลายผูอ้ น่ื พยายามเพิม่ พูนรักษาความดี ที่มี
อยู่ให้งอกงามสมบูรณ์ย่งิ ขึ้น
๖. หลักการปฏิบตั กิ จิ กรรม ในสถานศึกษาทุกกิจกรรม
๓. ภูมิคมุ ้ กัน
หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับ
ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ
ที่จะเกิดขึ้น โดยคานึ งถึงความเป็ นไปได้
ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
ในอนาคต
เงือ่ นไข ของการตัดสินใจและดาเนิ นกิจกรรมต่างๆ ให้
อยู่ในระดับพอเพียง ๒ ประการ
๑. เงือ่ นไขความรู ้ ประกอบด้วย ความรอบรู ้
เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องรอบด้าน มีความรอบคอบ
และความระมัดระวังที่จะนาความรูเ้ หล่านั้นมาพิจารณาให้
เชื่อมโยงกัน เพือ่ ประกอบการวางแผนและความระมัดระวัง
ในขัน้ การปฏิบตั ิ ความรูเ้ ป็ นองค์ประกอบสาคัญในการ
ตัดสินใจอย่างถูกต้องและเป็ นประโยชน์ ต้องแสวงหา KM
รูเ้ ท่าทันการเปลี่ยนแปลง
๒. เงือ่ นไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง
ประกอบด้วย
ด้านจิตใจ มีความตระหนักในคุณธรรม รูผ้ ดิ
ชอบชัว่ ดี ซื่อสัตย์สจุ ริต ใช้สติปญั ญาอย่างถูกต้อง/
เหมาะสมในการดาเนิ นชีวติ
ด้านการกระทา มีความขยันหมัน่ เพียร อดทน
ไม่โลภ ไม่ตระหนี่ รูจ้ กั แบ่งปัน และรับผิดชอบในการ
อยู่รว่ มกับผูอ้ น่ื ในสังคม
วัตถุประสงค์
เพือ่ ให้สถานศึกษานาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน การจัด
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน และการบริหารจัดการสถานศึกษา
เพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบตั ใิ นทุกระดับได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และมีประสิทธิผล เกิดการปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน์ ในการ
ดาเนิ นชีวติ บนพื้นฐานของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อย่างต่อเนื่ อง
ด้านการบริหารสถานศึกษา
๑. กาหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ
๒. ปรับหลักสูตรที่สอดแทรกหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ทุกกลุ่มสาระเรียนรู ้ ทุกระดับชัน้ เรียน
๓. ประยุกต์หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการจัด
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน
๔. จัดทาโครงการ/กิจกรรมสนับสนุ น
วิธีจดั การให้เกิดเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา
• 1. วางระบบบริหารจัดการของโรงเรียนให้
เป็ นไปตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
• 2. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นเศรษฐกิจพอเพียง
บูรณาการเพือ่ สร้างค่านิ ยม
• 3. จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามแนวทางเศรษฐกิจ
พอเพียง
ตัวอย่างกิจกรรม ด้านเศรษฐกิจ ในสถานศึกษา
หลักปฏิบตั ิ
รูจ้ กั การใช้จา่ ยของตนเอง
ใช้จา่ ยอย่างมีเหตุมีผล
ใช้จา่ ยอย่างพอประมาณ
ใช้จา่ ยอย่างประหยัด
ใช้จา่ ยเท่าที่จาเป็ น
ตัวอย่างกิจกรรม
บันทึกบัญชีรายรับและรายจ่าย
วิเคราะห์บญั ชีรายรับและรายจ่าย
แลกเปลี่ยนประสบการณ์
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค
เพื่อลดรายจ่ายที่ฟมเฟื
ุ่ อย
หลักปฏิบตั ิ
รูจ้ กั ออมเงิน มีกลไกลดความเสีย่ ง
ระบบสวัสดิการ
ระบบออมเงิน
ระบบสหกรณ์
การประกันต่างๆ
ตัวอย่างกิจกรรม
ออมวันละหนึ่ งบาท
สัปดาห์การออม
จัดตัง้ กลุม่ /สหกรณ์ออมทรัพย์
จัดตัง้ กองทุนสวัสดิการชุมชน
หลักปฏิบตั ิ
รูจ้ กั ประหยัด
ใช้และกินอย่างมีเหตุผล
ไม่ฟมเฟื
ุ่ อย
ใช้พลังงานเท่าที่จาเป็ น
ใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่า
ตัวอย่างกิจกรรม
ปลูกผักสวนครัวรัว้ กินได้
เลี้ยงปลา เลี้ยงไก่ ไว้กนิ ไว้ขาย
ใช้สนิ ค้าที่ประหยัดพลังงาน
รีไซเคิลขยะเพือ่ นามาใช้ใหม่
นาของเหลือใช้ มาทาให้เกิดประโยชน์
หลักปฏิบตั ิ
พึ่งตนเองได้ทางเศรษฐกิจโดยผลิต
หรือสร้างรายได้ ที่
สอดคล้องกับความต้องการ
สอดคล้องกับภูมิสงั คม
สอดคล้องกับภูมิปญั ญาท้องถิ่น
สอดคล้องกับทรัพยากรท้องถิ่น
ตัวอย่างกิจกรรม
เน้นการผลิตเพื่อพึ่งตนเอง ให้พอเพียง
กับการบริโภค และการผลิต
ที่หลากหลาย เช่น
ปลูกพืชผักผสมผสาน
ปลูกพืชสมุนไพรไทย
ผลิตสินค้าจากภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น
จัดอบรมพัฒนาอาชีพในชุมชน
แนวทางการจัดกิจกรรม ด้านสังคม ในสถานศึกษา
หลักปฏิบตั ิ
รูจ้ กั ช่วยเหลือสังคมหรือชุมชน
ปลูกจิตสานึ กสาธารณะ
ปลูกฝังความสามัคคี
ปลูกฝังความเสียสละ
เผยแพร่องค์ความรูเ้ ศรษฐกิจ
พอเพียง
ตัวอย่างกิจกรรม
พัฒนาความรูค้ ู่คณ
ุ ธรรม ผ่านกิจกรรม
รวมกลุม่ ต่างๆ
จัดกิจกรรมลด ละ เลิก อบายมุข
จัดกิจกรรมช่วยเหลือผูด้ อ้ ยโอกาส
จัดค่ายพัฒนาเยาวชน
จัดตัง้ ศูนย์เรียนรูภ้ ายในชุมชน
แนวทางการจัดกิจกรรมด้านสิง่ แวดล้อม ในสถานศึกษา
หลักปฏิบตั ิ
สร้างสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติ
ปลูกจิตสานึ กรักษ์สง่ิ แวดล้อม
ฟื้ นฟูแหล่งเสือ่ มโทรมในท้องถิ่น
ฟื้ นฟูและอนุ รกั ษ์ทรัพยากรในท้องถิ่น
ฟื้ นฟูดูแลสถานที่ท่องเที่ยวในท้องถิ่น
ตัวอย่างกิจกรรม
พัฒนาความรูเ้ กี่ยวกับดิน น้ า ป่ า
เพื่อฟื้ นฟู รักษา
โครงการชีววิถี
จัดอบรมการอนุ รกั ษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ
จัดทาฝายแม้ว
แนวทางการจัดกิจกรรมด้านวัฒนธรรม ในสถานศึกษา
หลักปฏิบตั ิ
สืบสานวัฒนธรรมไทย
สร้างจิตสานึ กรักษ์ไทย รักบ้านเกิด
ฟื้ นฟูและอนุ รกั ษ์อาหารประจาท้องถิ่น
ฟื้ นฟูและอนุ รกั ษ์ดนตรีไทยและเพลง
ไทย
ฟื้ นฟูและอนุ รกั ษ์วตั ถุโบราณและ
โบราณสถาน
ตัวอย่างกิจกรรม
ปลูกฝังมารยาทไทย
ส่งเสริมอาหารประจาท้องถิ่น
ส่งเสริมการใช้ภาษาประจา
ท้องถิ่น
ทานุ บารุงโบราณวัตถุและ
โบราณสถาน
แนวทางการจัดกิจกรรมด้านศาสนา ในสถานศึกษา
หลักปฏิบตั ิ
ส่งเสริมศาสนา
ปลูกจิตสานึ กความรักชาติ
ตระหนักถึงคุณค่าของศาสนา
จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย ์
ตัวอย่างกิจกรรม
ให้ความสาคัญกับการปฏิบตั ิตาม
หลักธรรมหรือปฏิบตั ิเป็ นประจา
ส่งเสริมการฝึ กอบรมการปฏิบตั ติ าม
หลักธรรม
ร่วมกันทะนุ บารุงศาสนา
พัฒนาภูมิปญั ญาท้องถิ่น
รณรงค์การใช้สนิ ค้าไทย
ตัวอย่างโครงการ/งาน/กิจกรรม
โครงการส้วมสุขสันต์
โครงการประชาธิปไตยในโรงเรียน
โครงการกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน....
โครงการลดโรคอ้วน
โครงการเกือบทุกโครงการ....
ตัวอย่างโครงการ
โครงการบูรณาการการเรียนรูส้ ูว่ ถิ ชี ีวติ เศรษฐกิจพอเพียง
โครงการธนาคารโรงเรียน...
โครงการกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน....
โครงการเกษตรครบวงจรเพื่อสนับสนุ นอาหารกลางวัน
โครงการผลิตสือ่ การเรียนรูก้ ารสืบสานวิถชี ีวติ สูแ่ บบเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการพัฒนางานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการสิง่ แวดล้อมศึกษาเพือ่ พัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงแบบยัง่ ยืน
โครงการจัดทาหลักสูตรการเรียนรูแ้ บบบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการอนุ รกั ษ์ประเพณี วัฒนธรรมและวิถชี ีวติ ไทย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
Standard Based Curriculum
๑. Standard
๒. Indicator
ทำอะไรได้
What student should know and be able to do.
รู้ อะไร
(Marzano, 1998)
ด้านการจัดการเรียนรู ้
บทบาทของครู
๑. วิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู ้ ตัวชี้วดั สมรรถนะ
สาคัญของผูเ้ รียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิเคราะห์คณ
ุ ลักษณะตามหลักปรัชญา ที่สอดคล้อง
มาตรฐานเรียนรูก้ ลุม่ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สาระที่ ๓ : เศรษฐศาสตร์ ในชัน้ ต่างๆ
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค
การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุม้ ค่า รวมทัง้ เข้าใจหลักการของ
เศรษฐกิจพอเพียง เพือ่ การดารงชีวติ อย่างมีดลุ ยภาพ
มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกิจและความจาเป็ นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค
การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุม้ ค่า รวมทัง้ เข้าใจหลักการของ
เศรษฐกิจพอเพียง เพือ่ การดารงชีวติ อย่างมีดลุ ยภาพ
ตัวชี้วดั
๑.จาแนกความต้องการและ
ความจาเป็ นในการใช้สนิ ค้า
และบริการในการดารงชีวิต
๒.วิเคราะห์การใช้จา่ ยของ
ตนเอง
ผูเ้ รียนรูอ้ ะไร
สินค้าและบริการมีทง้ั ความ
ต้องการและความจาเป็ นใน
การดารงชีวติ ของมนุ ษย์
การวิเคราะห์บญั ชีการใช้จา่ ย
ประจาวันเป็ นการควบคุมการ
ใช้จา่ ยอย่างเหมาะสม
๓.อธิบายได้ว่าทรัพยากรที่มี ทรัพยากรที่ใช้ในการผลิตมี
อยู่จากัดมีผลต่อ การผลิต จากัดแต่ความต้องการของ
และบริโภคสินค้าและบริการ มนุ ษย์มีไม่จากัด จึง
จาเป็ นต้องเลือกใช้เฉพาะสิง่
ที่มีความจาเป็ น
ผูเ้ รียนทาอะไรได้
จาแนกความต้องการและ
ความจาเป็ นในการใช้สนิ ค้า
และบริการในการดารงชีวิต
วิเคราะห์บญั ชีรายรับ-จ่ายเงิน
ประจาวันในรอบเดือนของ
ตนเอง
อธิบายทรัพยากรที่มีอยู่จากัด
มีผลต่อ การผลิตและบริโภค
สินค้าและบริการ
ตัวชี้วดั
๑.อธิบายบทบาทของผูผ้ ลิตที่มี
ความรับผิดชอบ
ผูเ้ รียนรูอ้ ะไร
บทบาทของผูผ้ ลิตที่มีความ
รับผิดชอบต่อสังคมต้องคานึ ง ถึง
จรรยาบรรณและสิง่ แวดล้อม
ส่งผลให้การบริหารจัดการ
ทรัพยากรเป็ นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพและคุม้ ค่า
๒.อธิบายบทบาทของผูบ้ ริโภคที่ ผูบ้ ริโภคต้องรูเ้ ท่าทันในการ
รูเ้ ท่าทัน
บริโภคที่สง่ ผลให้การบริหาร
จัดการทรัพยากรเป็ นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพและคุม้ ค่า
๓. บอกวิธีและประโยชน์ของการ การใช้ทรัพยากรอย่างถูกวิธี
ก่อให้เกิดผลต่อการดาเนิ นชีวิต
ใช้ทรัพยากรอย่างยัง่ ยืน
อย่างดุลยภาพ
ผูเ้ รียนทาอะไรได้
อธิบายบทบาทของผูผ้ ลิตที่มีความ
รับผิดชอบต่อสังคม
อธิบายบทบาทของผูบ้ ริโภคที่รูเ้ ท่า
ทัน
บอกวิธีและประโยชน์ของการใช้
ทรัพยากรอย่างยัง่ ยืน
ตัวชี้วดั
๑.อธิบายกลไกราคาใน
ระบบเศรษฐกิจ
นักเรียนรูอ้ ะไร
นักเรียนทาอะไรได้
กลไกราคาเป็ นเครื่องมือที่สาคัญ อธิบายกลไกราคาในระบบ
ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม เศรษฐกิจแบบเสรีนิยม
๒.มีสว่ นร่วมในการแก้ไข
ปัญหาและพัฒนาท้องถิ่น
ตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
๓.วิเคราะห์ความสัมพันธ์
ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจ
พอเพียงกับระบบ
สหกรณ์
การแก้ไขปัญหาและพัฒนา
ท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงส่งผลให้เกิดการ
ดารงชีวติ อย่างมีดุลยภาพ
การวิเคราะห์ความ สัมพันธ์
ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจ
พอเพียงกับระบบสหกรณ์นาไปสู่
การดารงชีวติ อย่างมีดุลยภาพ
มีสว่ นร่วมในการแก้ไขปัญหา
และพัฒนาท้องถิ่นตาม
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
วิเคราะห์ความสัมพันธ์
ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจ
พอเพียงกับระบบสหกรณ์
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกิจและความจาเป็ นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ผูเ้ รียนทาอะไรได้
ตัวชี้วดั
ผูเ้ รียนรูอ้ ะไร
๑.บอกสินค้าและบริการที่รฐั จัดหา สินค้าและบริการที่จาเป็ น
บอกสินค้าและบริการที่รฐั จัดหา
ขัน้ พื้นฐานภาครัฐต้องจัดหาและ และให้บริการแก่ประชาชน
และให้บริการแก่ประชาชน
ให้บริการแก่ประชาชนเพื่อ
คุณภาพชีวิตที่ดี
๒.บอกความสาคัญของภาษี และ
บทบาทของประชาชนในการเสีย
ภาษี
๓.อธิบายเหตุผลการแข่งขันทาง
การค้าที่มีผลทาให้ราคาสินค้า
ลดลง
ประชาชนมีหน้าที่เสียภาษี ให้รฐั
เพื่อนามาพัฒนา และให้บริการ
แก่ประชาชน
การแข่งขันทางการค้ามีผลกระทบ
ทาให้ราคาสินค้าลดลง
นาเสนอ เรื่อง บทบาทและหน้าที่
ของประชาชนเกี่ยวกับการเสีย
ภาษี
อธิบายเหตุผลการแข่งขันทาง
การค้าที่มีผลทาให้ราคาสินค้า
ตัวชี้วดั
๑.อธิบายความสัมพันธ์
ระหว่างผูผ้ ลิต ผูบ้ ริโภค
ธนาคาร และรัฐบาล
ผูเ้ รียนทาอะไรได้
ผูเ้ รียนรูอ้ ะไร
ผูผ้ ลิต ผูบ้ ริโภค ธนาคาร อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง
และรัฐบาล มีความสัมพันธ์ ผูผ้ ลิต ผูบ้ ริโภค ธนาคาร
กัน และมีความสาคัญต่อ และรัฐบาล
ระบบเศรษฐกิจ
๒.ยกตัวอย่างการรวมกลุม่
การรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจ ยกตัวอย่างการรวม กลุม่ ทาง
ทางเศรษฐกิจภายในท้องถิ่น เป็ นการบริหารจัดการเพือ่
เศรษฐกิจภายในท้องถิ่น
ประสานประโยชน์ในท้องถิ่น
ตัวชี้วดั
นักเรียนรูอ้ ะไร
๑. อธิบายบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลใน รัฐบาลมีหน้าที่ในการพัฒนาเศรษฐกิจ
ไทยเพือ่ ความมัน่ คงและทัดเทียมใน
ระบบเศรษฐกิจ
สังคมโลก
๒. แสดงความคิดเห็นต่อนโยบาย นโยบาย และกิจกรรมทางเศรษฐกิจของ
และกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล รัฐบาลที่มีต่อการดาเนิ นชีวติ ทัง้ ระดับ
ที่มีต่อบุคคล กลุม่ คน และ
บุคคล กลุม่ คน และประเทศชาติ
ประเทศชาติ
๓. อภิปรายบทบาทความสาคัญของ การรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจระหว่าง
มีความสัมพันธ์และจาเป็ นต่อการร่วมมือ
ประเทศ
กันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
๔. อภิปรายผลกระทบที่เกิดจากภาวะ ภาวะเงินเฟ้ อ เงินฝื ดก่อให้เกิด
เงินเฟ้ อ เงินฝื ด
ผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจในสังคมโลก
๕. วิเคราะห์ผลเสียจากการว่างงาน ปัญหาการว่างงานมีผลกระทบต่อระบบ
และแนวทางแก้ปญั หา
ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
๖. วิเคราะห์สาเหตุและวิธีการกีดกัน สาเหตุและวิธีการกีดกันทางการค้าและ
ทางการค้าในการค้าระหว่างประเทศ การลงทุนระหว่างประเทศส่งผลต่อ
เศรษฐกิจในสังคมโลก
นักเรียนทาอะไรได้
อธิบายบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในระบบ
เศรษฐกิจ
เสวนาแสดงความคิดเห็นต่อนโยบาย
และกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาลที่
มีต่อบุคคล กลุม่ คน และประเทศชาติ
อภิปรายบทบาท ความสาคัญของการ
รวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ
อภิปรายผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงิน
เฟ้ อ เงินฝื ด
วิเคราะห์ผลเสียจากการว่างงาน
และแนวทางแก้ปญั หา
วิเคราะห์สาเหตุและวิธีการกีดกันทาง
การค้าในการค้าระหว่างประเทศ
กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี ๒
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และ
วรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวติ จริง
ตัวชี้วดั
๑. ระบุขอ้ คิดที่ได้จากการ
อ่านหรือการฟัง
วรรณกรรมสาหรับเด็ก
เพือ่ นาไปใช้ใน
ชีวติ ประจาวัน
๒. ร้องบทร้องเล่นสาหรับ
เด็กในท้องถิ่น
๓. ท่องจาบทอาขยานตาม
ที่กาหนด และบทร้อย
กรองที่มีคุณค่าตามความ
สนใจ
ผูเ้ รียนทาอะไรได้
ระบุขอ้ คิดที่ได้จากการ
อ่านหรือการฟัง
วรรณกรรมสาหรับเด็ก
เพือ่ นาไปใช้ใน
ชีวติ ประจาวัน
บทร้องเล่นสาหรับเด็กในท้องถิ่น ร้องบทร้องเล่นสาหรับ
สร้างความความเพลิดเพลิน
เด็กในท้องถิ่น
บทอาขยานและ บทร้อยกรองที่มี ท่องจาบทอาขยานตามที่
คุณค่าตามความสนใจเป็ นการ กาหนดและบทร้อย
พัฒนาทักษะทางภาษาทัง้ ด้านการ กรองที่มีคุณค่าตาม
ฟัง การอ่าน การพูด การเขียน ความสนใจ
และการส่งเสริมสุนทรียทางภาษา
ผูเ้ รียนรูอ้ ะไร
ข้อคิดจากวรรณกรรมสามารถ
แก้ปญั หาในชีวติ จริงได้
กลุม่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี ๓
มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการ
ทางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปญั หา ทักษะการทางานร่วมกัน
และทักษะการแสวงหาความรู ้ มีคณ
ุ ธรรมและลักษณะนิ สยั ในการทางาน มี
จิตสานึ กในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิง่ แวดล้อมเพื่อการดารงชีวติ และ
ครอบครัว
ตัวชี้วดั
ผูเ้ รียนรูอ้ ะไร
๑. อธิบายวิธีการและ
บุคคลมีหน้าที่ตอ้ งปฏิบตั งิ านเพือ่ ช่วยเหลือตนเองและ
ประโยชน์การทางานเพือ่ ครอบครัวงานแต่ละอย่างมีวธิ ีปฏิบตั ทิ ่แี ตกต่างกันและให้
ช่วยเหลือตนเอง
ประโยชน์ท่ตี ่างกันแต่จะเกิดประโยชน์โดยรวมต่อความ
ครอบครัว และส่วนรวม ผาสุกของตนเองและครอบครัวก่อนจะทางานแต่ละอย่างจึง
ควรศึกษาวิธีการทางานและมีสว่ นร่วมการทางานนั้นๆ
๒. ใช้วสั ดุอปุ กรณ์และ
งานที่แตกต่างกันหรืองานอย่างเดียวกันแต่อาจมี
เครื่องมือตรงกับลักษณะ ลักษณะของงานแตกต่างกัน ผูป้ ฏิบตั ิ งานต้องรูจ้ กั เลือก
เครื่องมือ เครื่องใช้ วัสดุอปุ กรณ์ให้สอดคล้องกับลักษณะ
งาน
ของงาน จึงจะทาให้การทางานเกิดผลดีมีคณ
ุ ภาพ และได้
งานที่สมบูรณ์ตามเป้ าหมาย
๓.ทางานอย่างเป็ น
งานแต่ละอย่างมีขน้ั ตอนการปฏิบตั เิ ฉพาะที่เหมาะสม
ขัน้ ตอนตามกระบวนการ สอดคล้องกับลักษณะงานนั้น การปฏิบตั งิ านจึงต้องคานึ งถึง
ทางานด้วยความสะอาด ขัน้ ตอนตามกระบวนการทางานของงานนั้นๆ การเลือกใช้
ความรอบคอบและ
วัสดุ อุปกรณ์ ที่ไม่เป็ นพิษ หรือมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ทางานด้วยความระมัดระวัง จะช่วยให้การทางานปลอดภัย มี
อนุ รกั ษ์ สิง่ แวดล้อม
คุณภาพและเป็ นประโยชน์ต่อสิง่ แวดล้อม
ผูเ้ รียนทาอะไรได้
อธิบายวิธีการและ
ประโยชน์ของการทางาน
เพือ่ ช่วยเหลือตนเอง
ครอบครัวและส่วนรวม
เลือกใช้วสั ดุ อุปกรณ์
และเครื่องมือ
ตรงกับลักษณะงาน
ทางานอย่างเป็ น
ขัน้ ตอนตามกระบวนการ
ทางานด้วยความสะอาด
ความรอบคอบและ
อนุ รกั ษ์สง่ิ แวดล้อม
กลุม่ สาระการเรียนรูส้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา ชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี ๔
สาระที่ ๒
ชีวติ และครอบครัว
มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และ
มีทกั ษะในการดาเนิ นชีวติ
ตัวชี้วดั
ผูเ้ รียนรูอ้ ะไร
๑. อธิบายคุณลักษณะของ คุณลักษณะของความเป็ น
ความเป็ นเพือ่ นและสมาชิก เพือ่ นและสมาชิกที่ดีของ
ครอบครัว ทาให้เกิดความรัก
ที่ดีของครอบครัว
และความสามัคคี
๒. แสดงพฤติกรรมที่
พฤติกรรมที่เหมาะสมกับ
เหมาะสมกับเพศของตนตาม เพศของตนตามวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
ทาให้เป็ นที่ยอมรับของสังคม
๓. ยกตัวอย่างวิธีการปฏิเสธ วิธีการปฏิเสธการกระทาที่เป็ น
การกระทาที่เป็ นอันตราย อันตรายและไม่เหมาะสมใน
และไม่เหมาะสมในเรื่องเพศ เรื่องเพศทาให้เกิดความ
ปลอดภัยในตนเอง
ผูเ้ รียนทาอะไรได้
อธิบายคุณลักษณะของ
ความเป็ นเพือ่ นและสมาชิก
ที่ดีของครอบครัว
แสดงออกถึงพฤติกรรมที่
เหมาะสมกับเพศของตนตาม
วัฒนธรรมไทย
อธิบายและยกตัวอย่าง
วิธีการปฏิเสธ
กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ ชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี ๕
สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต ๒.๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และ
นาไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
ตัวชี้วดั
๑. ใช้ถอ้ ยคา น้ าเสียง และ
กิรยิ าท่าทางอย่างสุภาพ
ตามมารยาทสังคมและ
วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
๒. ตอบคาถาม/บอก
ความสาคัญของ
เทศกาล/วันสาคัญ/งานฉลอง
และชีวติ ความเป็ นอยู่งา่ ยๆ
ของเจ้าของภาษา
๓. เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษา
และวัฒนธรรมตามความ
สนใจ
ผูเ้ รียนรูอ้ ะไร
ผูเ้ รียนทาอะไรได้
การใช้ถอ้ ยคาทัง้ เสียงและ พูดถ้อยคาด้วยน้ าเสียง และ
กิรยิ าท่าทางอย่างสุภาพตาม กิรยิ าท่าทางอย่างสุภาพตาม
มารยาทสังคมและวัฒนธรรม มารยาทสังคมและวัฒนธรรม
ของเจ้าของ
เทศกาล/วันสาคัญ/งาน
ตอบคาถาม/บอกความสาคัญ
ฉลองและชีวติ ความเป็ นอยู่ ของ เทศกาล/วันสาคัญ/งาน
ฉลองและชีวติ ความเป็ นอยู่
ง่าย ๆ ของเจ้าของภาษา
ของเจ้าของภาษา
กิจกรรมทางภาษาและ
เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและ
วัฒนธรรม เช่น เทศกาล วัน วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
สาคัญ เกม นิ ทาน ร้องเพลง
กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี ๖
สาระที่ ๒ ชีวติ กับสิง่ แวดล้อม
มาตรฐาน ว ๒. ๑ เข้าใจสิง่ แวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่าง
สิง่ แวดล้อมกับสิง่ มีชีวติ ความสัมพันธ์ระหว่างสิง่ มีชีวติ ต่าง ๆ ในระบบนิ เวศ มี
กระบวนการสืบเสาะหาความรูแ้ ละจิตวิทยาศาสตร์สอ่ื สารสิง่ ที่เรียนรูแ้ ละนา
ความรูไ้ ปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วดั
๑. สารวจและอภิปราย
ความสัมพันธ์ของกลุม่
สิง่ มีชีวติ ในแหล่งที่อยู่
ต่าง ๆ
ผูเ้ รียนรูอ้ ะไร
ตัง้ คาถาม สังเกต สารวจตรวจสอบข้อมูล
ของความสัมพันธ์ของกลุม่ สิง่ มีชีวติ ใน
แหล่งที่อยู่ต่าง ๆ อภิปรายและสรุป
ความสัมพันธ์ของกลุม่ สิง่ มีชีวิตในแหล่งที่
อยู่ต่าง ๆ นาเสนอผลงาน
ตัง้ คาถาม สังเกต การรวบรวมข้อมูล
จาแนกหาความสัมพันธ์ของสิง่ มีชีวติ กับ
สิง่ มีชีวติ ในรูปของโซ่อาหารและสายใย
อาหาร ทาแผนภาพและอธิบาย
ความสัมพันธ์ของห่วงโซ่อาหาร
สิง่ มีชีวติ ที่อาศัยอยู่ในแต่ละแหล่งที่ ตัง้ คาถาม สังเกต สืบค้นข้อมูล การ
อยู่จะมีโครงสร้างที่เหมาะสมต่อการ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ขอ้ มูล และอธิบาย
ดารงชีวติ ในแหล่งที่อยู่น้นั และสามารถ ความสัมพันธ์ ของการดารงชีวติ กับ
ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมเพือ่ หา สภาพแวดล้อม รายงานการสืบค้นข้อมูล
อาหารและมีชีวติ อยู่รอด
ด้วยสมุดสะสมภาพ
กลุม่ สิง่ มีชีวติ ในแหล่งที่อยู่ต่าง ๆ
มีความสัมพันธ์กนั และความสัมพันธ์
กันในลักษณะของแหล่งที่อยู่อาศัย
แหล่งอาหาร แหล่งสืบพันธุแ์ ละแหล่ง
เลี้ยงดูลูกอ่อน
ความสัมพันธ์ของสิง่ มีชีวิตกับ
๒. อธิบายความสัมพันธ์ของ
สิง่ มีชีวติ กับสิง่ มีชีวติ ในรูป สิง่ มีชีวติ ในรูปของโซ่อาหารและสายใย
ของโซ่อาหารและสายใย อาหาร ทาให้เกิดการถ่ายทอดพลังงาน
อาหาร
จากผูผ้ ลิตไปยังผูบ้ ริโภค
๓.สืบค้นข้อมูลและอธิบาย
ความสัมพันธ์ระหว่างการ
ดารงชีวติ ของสิง่ มีชีวติ กับ
สภาพแวดล้อมในท้องถิน่
ผูเ้ รียนทาอะไรได้
กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ ชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี ๑
สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์
และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ ท่เี ป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญั ญา
ท้องถิ่น ภูมิปญั ญาไทย และสากล
ตัวชี้วดั
ผูเ้ รียนรูอ้ ะไร
ผูเ้ รียนทาอะไรได้
ระบุ และบรรยายเกี่ยวกับ
๑. ระบุ และบรรยายเกี่ยวกับ ลักษณะ รูปแบบงาน
ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ของชาติและของ ลักษณะ รูปแบบงาน
ของชาติและของท้องถิ่นตนเอง ท้องถิ่น
ทัศนศิลป์ ของชาติ
และของท้องถิ่นตนเองจาก
จากอดีตจนถึงปัจจุบนั
อดีตจนถึงปัจจุบนั
๒. ระบุ และเปรียบเทียบงาน งานทัศนศิลป์ ของภาค ต่าง ๆ ระบุ และเปรียบเทียบงาน
ทัศนศิลป์ ของภาคต่าง ๆ ใน ในประเทศไทย
ทัศนศิลป์ ของภาคต่าง ๆ
ประเทศไทย
ในประเทศไทย
เปรียบเทียบความ
๓. เปรียบเทียบความแตกต่าง ความแตกต่างของงาน
ของจุดประสงค์ในการ
แตกต่างของจุดประสงค์ใน
ทัศนศิลป์
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ของ ในวัฒนธรรมไทยและสากล การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์
วัฒนธรรมไทยและสากล
ในวัฒนธรรมไทยและสากล
๓. จัดทาหน่ วยการเรียนรู ้
๔. เขียนแผนการจัดการเรียนรู ้
๕. กาหนดจุดประสงค์การเรียนรูท้ ่ีบูรณาการหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวอย่างเช่น
ความพอประมาณ ๕ ด้าน
ด้านจิตใจ เข้มแข็ง สานึ กดี เอื้ออาทร ประนี ประนอม
ด้านสังคม ช่วยเหลือเกื้อกูล รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งในครอบครัว/
ชุมชน
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รูจ้ กั ใช้และจัดการอย่างฉลาด
รอบคอบและเกิดความยัง่ ยืนสูงสุด
ด้านเทคโนโลยี รูจ้ กั ใช้เทคโนโลยีท่เี หมาะสมและสอดคล้องต่อความ
ต้องการ เป็ นประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อมและเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม และพัฒนา
จากภูมิปญั ญา
ด้านเศรษฐกิจ เพิม่ รายได้ ลดรายจ่าย ดาเนิ นชีวติ อย่างพอควร พออยู่พอ
กิน สมควรตามอัตภาพและฐานะของตน ใช้ในโอกาสที่จาเป็ น เหมาะสม สมฐานะ
ความพอประมาณ
๑. กาหนดเวลาที่เหมาะสมในการอ่าน
๒. ทากิจกรรมพอดีกบั ความสนใจและเวลา
๓. เชื่อมโยงการเรียนรูอ้ ย่างเหมาะสม
ความมีเหตุผล
๑. วิเคราะห์เรื่อง เนื้ อหา และสามารถสังเคราะห์เรื่องที่อา่ นได้อย่างมีเหตุผล
๒. สามารถใช้เทคโนโลยี ทากิจกรรมนาไปสูก่ ารสือ่ สารได้
ความมีภมู ิคมุ ้ กัน
๑. นากระบวนการคิด วิเคราะห์ไปประยุกต์ใช้กบั เรื่องอืน่ และในชีวติ จริงได้อย่าง
เหมาะสม
๒. มีความรูส้ กึ ที่ดีต่อ..มีความตระหนักและเห็นคุณค่าในสิง่ ที่ดีอนั เป็ นผลดีต่อ
การอ่าน การเรียนและการพัฒนาทักษะการคิด
เงือ่ นไขความรู ้
๑. รูจ้ กั อ่าน คิดวิเคราะห์และนาความรูเ้ กี่ยวกับเรื่องที่อา่ นและเนื้ อหาของเรื่องไป
ประยุกต์ใช้ในชีวติ จริง
๒. นาความรูท้ ่เี รียนมาไปเป็ นเครื่องมือในการแสวงหาความรูเ้ พือ่ พัฒนาตนเอง
และปรับประยุกต์ใช้ในชีวติ จริงอย่างสร้างสรรค์
เงือ่ นไขคุณธรรม
๑. แสดงมารยาทในการอ่าน
๒. แสดงความสามัคคีในกลุม่
๓. มีระเบียบวินยั
๔. มีความซื่อสัตย์
๕. ใฝ่ เรียนรูใ้ นการใช้เทคโนโลยี
๖. จัดทา/จัดทาสือ่ การเรียนรูท้ ่บี ูรณาการ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับสาระการ เรียนรู ้
ของกลุ่มสาระต่าง ๆ
๗. จัดกิจกรรมการเรียนรู ้
-ฝึ กทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห์ เผชิญสถานการณ์
-เน้นกระบวนการทดลอง การปฏิบตั ทิ ง้ั ในและนอกห้องเรียน
-วัดและประเมินเมินตามสภาพจริง ครอบคลุมพัฒนาการที่มี
ทัง้ ดีและเก่ง
ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน
แนะแนว ให้บริการแนะแนว
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กิจกรรมนักเรียน ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด
ผูบ้ าเพ็ญประโยชน์ โครงงาน ชมรม ชุมนุ ม
ฯลฯ
กิจกรรมเพือ่ สังคม / จิตสาธารณะ
เน้นการมีสว่ นร่วม การเห็นคุณค่าของการอยู่รว่ มกัน
ด้านการติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา
ติดตามและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รียน
โดยพิจารณาจาก
๑. ผลการทดสอบความรู ้ ความเข้าใจพื้นฐานด้านเศรษฐกิจ
พอเพียง
๒. ผลงานและการปฏิบตั กิ จิ กรรมของผูเ้ รียน
๓. การปฏิบตั ติ นในชีวติ ประจาวันของผูเ้ รียน
๔. ผลการประเมินโดยผูป้ ระเมินภายนอก หรือผูม้ ีสว่ นได้สว่ น
เสียจากทุกภาคส่วน
การติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา
ติดตาม และประเมินความเหมาะสมของการดาเนิ นการใน
กระบวนการ / ขัน้ ตอนและกิจกรรม การดาเนิ นการบูรณาการ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในด้านการพัฒนาหลักสูตร
การจัดการเรียนการสอน การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อม
การจัดระบบบริหารจัดการ การให้ผูป้ กครองและชุมชนเข้ามามีสว่ น
ร่วมในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และการประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ของผูเ้ รียน
การติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา
จัดให้ระบบการรายงานผลการดาเนิ นการเป็ น
ระยะ ๆ ทัง้ การรายงานภายในสถานศึกษา การ
รายงานต่อสาธารณชน และการรายงานหน่ วยงาน
ต้นสังกัดตามลาดับ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รียน
ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- มีความรู ้ ความเข้าใจ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ
ความเชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจทัว่ ไป
- มีความรู ้ ความเข้าใจในการดาเนิ นชีวติ อย่างพอเพียง
- เห็นประโยชน์ และตระหนักถึงความสาคัญ ความจาเป็ นใน
การดาเนิ นชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ
การใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพือ่ การพัฒนาตนเอง
พัฒนาองค์กร และพัฒนาสังคม
- มีความรูแ้ ละทักษะพื้นฐานในการดาเนิ นชีวติ และพัฒนาอาชีพ
- ใช้และพัฒนาทรัพยากรและสิง่ แวดล้อมให้คมุ ้ ค่า ได้ประโยชน์
สูงสุดและมีความยัง่ ยืน
- มีทกั ษะ และเห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันกับผูอ้ น่ื ในสังคม
อย่างไม่เบียดเบียนกัน มีความสุข และรักสามัคคี
- สืบสานและพัฒนาศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญั ญาท้องถิ่นที่ดี รักและ
ภาคภูมิใจในความเป็ นไทย
- รูจ้ กั ประมาณตน รูจ้ กั ศักยภาพของตนที่มีอยู่ตามความเป็ นจริง
- ปฏิบตั ติ นอย่างมีเหตุผลโดยใช้สติปญั ญา ความรอบรู ้ รอบคอบ
- มีภมู ิคมุ ้ กันที่ดีในตัว พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้าน
ต่าง ๆ ทาอะไรไม่เสีย่ ง ไม่ประมาท
- มีความรอบรูใ้ นเรื่องที่เกี่ยวข้อง สามารถคิดวิเคราะห์ได้อย่างเป็ น
ระบบและปฏิบตั ดิ ว้ ยความรอบคอบ ระมัดระวัง
- ปฏิบตั ติ นและดารงชีวติ ด้วยความซื่อสัตย์สจุ ริต ขยัน อดทน
เพียรพยายาม แบ่งปัน มีสติปญั ญา มีวนิ ยั พึง่ ตนเอง แบ่งปัน
เอื้อเฟื้ อ เผื่อแผ่ รับผิดชอบ และอยู่ร่วมกับผูอ้ น่ื ได้อย่างมีความสุข
ภาพความสาเร็จ
• สถานศึกษา นำปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในกำรบริหำร
สถำนศึกษำ จัดกำรศึกษำและดำเนินกิจกรรมทีเ่ ป็ นประโยชน์ต่อชุมชน /
สังคม
• ผูบ้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทีเ่ กี่ยวข้อง มีควำมรู ้ ควำม
เข้ำใจ และปฏิบตั ติ นเป็ นแบบอย่ำงตำมปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง
• นักเรียน มีควำมรู ้ ทักษะ ปฏิบตั ติ น และดำเนินชีวติ
ตำมปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่อย่างพอเพียง”
• ผูป้ กครอง ชุมชน ดำรงชีวติ และมีกำรพัฒนำตำม
ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง