*************6
Download
Report
Transcript *************6
การนายุทธศาสตร์ไปสู่ ผลสาเร็จด้วย
การบริ หารโครงการ
การแปลงยุทธศาสตร์สู่ การปฏิบตั ิ
การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบตั ิ
พิจารณาปัจจัยต่างๆ ที่ตอ้ งคานึงถึงในการแปลงยุทธศาสตร์สู่การ
ปฏิบตั ิ อาทิ บุคลากร ระบบ ข้อมูล วัฒนธรรม โครงการ
ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์
และโครงการ
การทาให้ยทุ ธศาสตร์สมั ฤทธิผลผ่านทางโครงการต่างๆ
การจัดทาข้อเสนอโครงการ
เพื่อให้การคิดโครงการต่างๆ เป็ นไปอย่างละเอียด ถี่ถว้ น รอบคอบ
การคัดเลือกโครงการ (Proj.
Screening)
เพื่อคัดเลือกโครงการที่ส่งผลกระทบต่อยุทธศาสตร์โดยตรง
การติดตามโครงการ (Proj.
Monitoring)
เพื่อติดตามความคืบหน้าในการดาเนินตามโครงการ เพื่อให้สามารถ
ปรับตัวและแก้ไขปัญหาได้ทนั ต่อเหตุการณ์
การประเมินผลโครงการ (Proj.
Evaluation)
เพื่อประเมินว่าโครงการนาไปสู่ Output / Outcome ที่ตอ้ งการ
และบรรลุผลตามยุทธศาสตร์หรื อไม่
การบริหารโครงการคืออะไร ?
• ความหมายของ การบริ หารโครงการ
= การดาเนินการโดยใช้ องค์ความรู้ ทักษะ ตลอดจน
เครื่ องมือต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุความต้องการและความ
คาดหวังของผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ การบริ หารโครงการจะ
ดาเนินการสาเร็ จลุล่วงได้โดย การคิดริ เริ่ ม การวางแผน การ
นาแผนไปสู่ การปฏิบตั ิ การประเมินผลการดาเนินการ และ
การสรุ ปโครงการ
ปัญหาที่มักพบเกีย่ วกับการบริหารโครงการ
• โครงการไม่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์
– โครงการและยุทธศาสตร์ยงั เป็ นชิ้นเป็ นส่ วน (ขนมชั้น) ขาดการบูรณาการ
ซึ่งกันและกัน และระหว่างโครงการด้วยกัน
•
•
•
•
ไม่ได้คิดโครงการอย่างรอบคอบ ถี่ถว้ น ในทุกมุมมอง (คิดให้ทะลุ)
ขาดระบบในการติดตามการดาเนินโครงการที่ดี
ขาดความเอาใจใส่ จากผูบ้ ริ หารระดับสู ง อย่างต่อเนื่อง
การดาเนินโครงการไม่ได้เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพและ
ประสิ ทธิผล
บทบาทของบุคลากรประเภทต่ างๆ ในโครงการ
บุคคลประเภทต่ างๆ
Project Manager
Project Sponsor
Project Team
ขอบเขต หน้ าที่
• กาหนดขอบเขต ผลผลิต ผลลัพธ์ของโครงการ
•วางแผนเกี่ยวกับโครงการ
•สร้างและบริ หารทีม
•ติดตามการดาเนินงานในทุกระยะ / พบปัญหาโดยเร็ว / แก้ปัญหาเมื่อ
จาเป็ น
•เป็ นผูบ้ ริ หารระดับสู ง ที่คอยดูแลว่าผูบ้ ริ หารโครงการมีทรัพยากรอย่าง
เพียงพอที่จะทาให้โครงการสาเร็จ
•ติดตามความคืบหน้าของโครงการเป็ นระยะๆ
•เข้าไปช่วยแก้ไขปัญหาเมื่อจาเป็ น
•ทางานตามแผนการดาเนินงานของโครงการ
•สมาชิกแต่ละคนมีความสามารถและประสบการณ์ที่แตกต่างกันออกไป
กฎ 1:10:100
• ทุกๆ สิ่ งที่เราทา สามารถแบ่งได้เป็ นสามระยะใหญ่ๆ
– คิดและวางแผน (Conception and Planning)
– สร้างและทดลอง (Building and Testing) เพื่อให้ได้ผลลัพธ์คือชิ้นงาน
– ส่ งมอบและใช้งาน (Delivery and Use) ส่ งมอบสิ่ งที่สาเร็ จ รวมทั้งการดูแล
ภายหลังการส่ งมอบงานแล้ว
• ต้นทุน (ในทุกๆ ด้าน) จะประหยัดกว่า ถ้าคิดและวางแผนได้ดี สามารถ
แก้ไขปัญหาทุกๆ อย่างได้ในระยะแรก
• ต้นทุนจะเพิ่มขึ้น 10 เท่า ถ้าจะต้องแก้ไขปัญหาในระยะที่สอง
• ต้นทุนจะเพิม่ ขึ้นเป็ น 100 เท่า ถ้าจะต้องแก้ไขปัญหาในระยะที่สาม
เขียนลงไปให้ ชัดเจน
(อย่ าเอาแต่ คดิ และเก็บไว้ ในหัว)
• การวางแผนอาจจะเกิดขึ้นภายในหัวของเรา หรื อจากการระดมสมอง แต่
ผลลัพธ์ที่ได้ จะต้อง ถูกนาไปเขียนไว้ให้ชดั เจน (คาพูดและรู ปภาพ)
• ทาให้คนเข้าใจได้ชดั เจนและร่ วมกันมากขึ้น
• แนวทางและเทคนิค
– ใช้ Template
– เขียนก่อนแล้วค่อยแก้ทีหลัง (อย่าหวังที่จะเขียนให้เลิศในครั้งแรก) เขียนลงไปก่อน
โดยไม่จาเป็ นต้องสมบูรณ์ (สิ่ งที่สาคัญคือความคิด ไม่ใช่ไวยากรณ์)
• จากนั้นค่อยทบทวนและทาให้ดีข้ ึน
– พูดคุยกับผูอ้ ื่นก่อนที่จะเขียนแผนโครงการ
จุดเริ่มต้ น.........................
• การคิด วางแผน เกี่ยวกับโครงการที่ดีและเหมาะสม
• มีการวิเคราะห์ และคานึงถึงปั จจัยต่างๆ ที่จะเกี่ยวข้อง
กับโครงการ
• มองความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และ
ปั จจัยต่างๆ ให้กระจ่าง
ความเสี่ ยงทีส่ าคัญ
ผู้มสี ่ วนเกีย่ วข้ องทีส่ าคัญ
งบประมาณ
โครงการ................
ผลผลิต
/
ผลลัพธ์
บุคลากร
วัสดุ / อุปกรณ์
โครงการที่
เชื่อมโยง
โครงการที่
เชื่อมโยง
โครงการที่
เชื่อมโยง
ยุทธศาสตร์ ใน
ระดับต่ างๆ
ประเทศ
กระทรวง กรม
กลุ่มจังหวัด
จังหวัด
เครื่องมือในการวิเคราะห์ โครงการ
1. การวิเคราะห์ขอบเขต กระบวนการในการดาเนินโครงการ (Project Flow)
2. การวิเคราะห์ผลผลิต ผลลัพธ์ และตัวชี้วดั ของโครงการ
3. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์และเชื่อมโยงระหว่างโครงการกับยุทธศาสตร์
ในระดับต่างๆ
4. การวิเคราะห์ผทู ้ ี่เกี่ยวข้องกับโครงการ (Stakeholder Analysis)
5. การวิเคราะห์ประโยชน์ที่จะได้รับ (Cost / Benefit Analysis)
6. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์กบั โครงการอื่น
7. การวิเคราะห์ความเสี่ ยงที่สาคัญ (Risk Analysis)
1. การวิเคราะห์ ขอบเขต กระบวนการในการดาเนินโครงการ
(Project Flow)
• ระบุถึง
– ขอบเขตโครงการ ในด้าน
• ผูร้ ับบริ การ
• ภูมิศาสตร์
– ขั้นตอนและกระบวนการในการดาเนินโครงการ
• ทาให้ทราบ
– สิ่ งที่จะทาอย่างครบถ้วนเพื่อให้โครงการสาเร็ จ
– สิ่ งที่จะไม่ทา
– กระบวนการในการดาเนินโครงการ
ตัวอย่าง โครงการผลิตอาหารหยาบสาหรับสั ตว์ กระเพาะรวม
• แนวคิดเบื้องต้น
– นาเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาผลิตเป็ นอาหาร
สาหรับสัตว์กระเพาะรวม
ขอบเขตและกระบวนการทีส่ าคัญ
ขอบเขตโครงการ
กลุ่มผูร้ ับบริ การเป้ าหมาย
พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ เป้ าหมาย
เกษตรกรที่เป็ นกลุ่มเลี้ยงสัตว์ประจาตาบล
ต้องเป็ นกลุ่มเกษตรกรที่เป็ นนิติบุคคล
ทุกอาเภอในจังหวัด ....................................
ขั้นตอนและกระบวนการในการดาเนินโครงการ
การพัฒนา
โครงการ
การประสานกับ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การช่วยเหลือกลุ่ม
เกษตรกรในการหาตลาด
การขออนุมตั ิโครงการต่อ
คณะกรรมการจังหวัด
การถ่ายทอดความรู้ให้กบั กลุ่ม
เกษตรกรที่เข้าร่ วมโครงการ
การให้การสนับสนุนกลุ่ม
เกษตรกรในการผลิต
การประชาสัมพันธ์และรับสมัคร
กลุ่มเกษตรกรเป้ าหมาย
การติดต่อและจัดหาแหล่ง
วัตถุดิบและอุปกรณ์
การประเมินผล
โครงการ
2. การวิเคราะห์ ผลผลิต ผลลัพธ์ และตัวชี้วดั ของโครงการ
• ระบุถึง
– ผลผลิต
• อะไรคือ สิ่ งที่จะได้รับเมื่อเสร็ จสิ้ นโครงการ?
• อะไรคือ ผลงานที่เกิดจากการดาเนิ นกิจกรรมของโครงการโดยตรง?
– ผลลัพธ์
• ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นจากการนาผลผลิตจากโครงการไปใช้ให้เกิดประโยชน์?
– ตัวชี้วดั ความสาเร็ จของโครงการ
• ทาให้ทราบ
– ความสาเร็ จที่จะได้รับ
– เครื่ องมือในการระบุวา่ ได้รับความสาเร็ จนั้นหรื อยัง
ผลผลิต และผลลัพธ์ ของโครงการ
ผลผลิต
ผลลัพธ์
อาหารหยาบสาหรับสัตว์กระเพาะ -กลุ่มเกษตรกรมีรายได้เพิม่ ขึ้น
รวม
-สิ่ งแวดล้อมของจังหวัดดีข้ ึน
ตัวชี้วดั ความสาเร็จของโครงการ
ผลผลิต / ผลลัพธ์
อาหารหยาบ
ตัวชี้วดั
ปริ มาณอาหารหยาบที่ผลิตได้
รายได้ของกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่ วม
โครงการที่เพิ่มขึ้น
สิ่ งแวดล้อมของจังหวัด วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรที่นามา
ดีข้ ึน
แปรรู ป
เกษตรกรมีรายได้เพิ่ม
ค่าเป้ าหมาย
ระยะเวลา
......... ตัน
มิ.ย. 2548
............. บาท
ก.ย. 2548
..............ตัน
มิ.ย. 2548
3. การวิเคราะห์ ความสั มพันธ์ และเชื่อมโยงระหว่ างโครงการ
กับยุทธศาสตร์ ในระดับต่ างๆ
• ระบุถึง
– ความเชื่อมโยงระหว่างโครงการกับยุทธศาสตร์ ต่างๆ
– ให้ความสาคัญกับระดับความเชื่อมโยง และระบุความเชื่อมโยงที่ชดั เจนว่า
เชื่อมโยงกับตัวชี้วดั เป้ าประสงค์ และประเด็นยุทธศาสตร์ ใดบ้าง
• ทาให้ทราบ
– โครงการที่คิดขึ้นมามีความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ ในระดับต่างๆ หรื อไม่ และ
อย่างไร?
ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด
ยุทศาสตร์ กรม
ประเด็นยุทธศาสตร์ .. เพิ่มผลิตภาพการผลิตโดย
การวิจยั พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีดา้ นปศุสตั ว์...
เป้ าประสงค์ . พัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการ
เลี้ยงปศุสตั ว์..............................
ตัวชี้วดั .... จานวนพืชอาหารสัตว์พนั ธุ์ดี........
ยุทศาสตร์ จังหวัด
ประเด็นยุทธศาสตร์ .. มีวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาด
ย่อมและผูผ้ ลิตชุมชนที่เข้มแข็และมีความสามารถในการแข่งขัน.
เป้ าประสงค์ .. เพิ่มศักยภาพผูป้ ระกอบการและผูผ้ ลิตชุมชน
ตัวชี้วดั .. ร้อยละของผูผ้ ลิตชุมชนที่สามารถนาความรู้ที่ได้รับ
การถ่ายทอดไปปฏิบตั ิ...........
... โครงการผลิตอาหารหยาบสาหรับสั ตว์ กระเพาะรวม...............
เป้ าประสงค์
อยากผอม
ตัวชี้วดั
นน.
Baseline เป้ าหมาย
X
X-10
กลยุทธ์ โครงการ งบประมาณ
ลด
น้ าหนัก
อด
?
อาหาร
อย่าง
ต่อเนื่อง
4. การวิเคราะห์ ผ้ ูทเี่ กีย่ วข้ องกับโครงการ (Stakeholder Analysis)
• ระบุถึง
– ผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ
– บทบาท ความสาคัญของกลุ่มบุคคล บุคคลดังกล่าว
– ประเด็นปั ญหาที่อาจจะเกิดขึ้น
• ทาให้ทราบ
– หน่วยงาน กลุ่มบุคคล บุคคล ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ และผลกระทบของบุคคล
เหล่านั้นต่อความสาเร็ จของโครงการ
ผู้ทเี่ กีย่ วข้ องกับโครงการ
บทบาท
รายละเอียด
-ประเมิน อนุมตั ิ
ประเมิน และอนุมตั ิโครงการ ทั้งใน
ระยะต้น และเมื่อโครงการสิ้ นสุ ด
-ผูใ้ ห้
พี่เลี้ยงที่ให้คาแนะนาต่อกลุ่ม
สอนการจัดทาบัญชี
-คณะกรรมการจังหวัด
-ผูต้ รวจประเมินจากส่ วนกลาง
-สานักงานปศุสตั ว์อาเภอ
-สานักงานเกษตรจังหวัด
-สนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์จงั หวัด
จดทะเบียนกลุ่ม
-สนง.สหกรณ์จงั หวัด
แหล่งวัตถุดิบ
-เกษตรกรผูป้ ลูกข้าวโพด
-ตลาดสิ นค้าเกษตร
-สถาบันการศึกษา
-กลุ่มเกษตรกร
ผูใ้ ห้ความรู้และทาการวิจยั
-ผูท้ ี่ได้รับผล
หน่วยงาน กลุ่มบุคคล บุคคล
ผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ
แหล่งจาหน่ายผลิตผลจากโครงการ
-ตลาด
ประเด็นปัญหาจาก Stakeholders
ผู้ทเี่ กีย่ วข้ อง
ส่ งผลกระทบต่ อ
ความสาเร็จของ
โครงการ
สนง.ตรวจบัญชี
สหกรณ์จงั หวัด
ให้ความรู้แก่กลุ่ม
เกษตรกรในการ
จัดทาบัญชี
ได้ รับผลกระทบ
จากโครงการ
ประเด็นปัญหาที่ แนวทางในการแก้ ไข
อาจจะมี
จนท.จากสนง.ไม่ นัดหมายกับสนง.
มีเวลา
ตรวจบัญชีสหกรณ์
ล่วงหน้า
5. การวิเคราะห์ ประโยชน์ ทจี่ ะได้ รับ (Cost / Benefit Analysis)
• ระบุถึง
– ผลประโยชน์ทางการเงินจากโครงการ (Net Present Value, NPV)
– ผลประโยชน์ทางสังคม
• ทาให้ทราบ
– โครงการนี้มีความคุม้ ค่าในการลงทุนหรื อไม่?
– ใช้ในการเปรี ยบเทียบระหว่างโครงการหลายโครงการ
ประโยชน์ทางการเงิน
• การคิดรายรับในอนาคต จึงต้องแปลงให้เป็ นค่าในปั จจุบนั (เนื่องจากมูลค่าของเงินที่
ลดลงทุกขณะ ทาให้เงิน 10,000 บาทที่จะได้รับในอนาคต มีค่าไม่เท่ากับเงิน 10,000 ใน
ปัจจุบนั )
• โครงการ ก. มีตน้ ทุนทั้งสิ้ น 100,000 บาท คาดว่าเมื่อดาเนินโครงการเสร็ จสิ้ นแล้ว จะ
ก่อให้เกิดรายได้ 150,000 บาท ในปี 2551
• ประโยชน์หรื อกาไรจากโครงการนี้จะไม่ใช่ 50,000 บาท (150,000 – 100,000 = 50,000)
• เนื่องจากมูลค่าเงิน 150,000 บาทในอีกสามปี ข้างหน้า จะไม่เท่ากับ 150,000 บาทในปี
ปัจจุบนั
• วิธีการคาณวนมูลค่าปั จจุบนั ของเงินในอนาคต (Present Value = เงินที่จะได้รับใน
อนาคต x [ 1 / (1 + อัตราดอกเบี้ย)n] โดย n = จานวนปี )
• สมมติวา่ อัตราดอกเบี้ยต่อปี เท่ากับ 5% ค่าของเงิน 150,000 บาทในอีก 3 ปี ข้างหน้า เมื่อ
คิดกลับมาเป็ นค่าเงินปั จจุบนั เท่ากับ 150,000 x 0.8638 = 129,570 บาท
สิ่ งที่ควรจะทราบเกี่ยวกับ NPV
• ในทางปฏิบตั ิมีแนวทางคิดที่ยงุ่ ยากและหลากหลาย
• ถ้ามีค่าเป็ นบวก แสดงว่าดี และยิง่ มากยิง่ ดี
• เหมาะจะใช้ถา้ นามาใช้ในการเปรี ยบเทียบระหว่าง
หลายๆ โครงการ
ประโยชน์ ทจี่ ะได้ รับ (ทางสั งคม)
ผู้ทเี่ กีย่ วข้ อง
กลุ่มเกษตรกร
บวกสู ง บวกกลาง
(+3)
(+2)
บวกต่า
(+1)
ลบต่า
(-1)
ลบกลาง
(-2)
ลบสู ง
(-3)
รวม
+3
มีรายได้เพิ่ม
ผูเ้ ลี้ยงสัตว์กระเพาะ
หยาบ
มีวตั ถุดิบ
ราคาไม่แพง
+2
ชุมชน
สิ่ งแวดล้อมดี
ขึ้น
+2
รวม
+7
6. การวิเคราะห์ ความสั มพันธ์ กบั โครงการอืน่
• ระบุถึง
– ความสัมพันธ์กบั โครงการอื่น ทั้งในลักษณะโครงการต้นน้ า โครงการร่ วม และ
โครงการปลายน้ า
• ทาให้ทราบ
– ความสัมพันธ์และเชื่อมโยงระหว่างโครงการ
– ความทับซ้ าระหว่างโครงการ
โครงการอืน่ ที่เกีย่ วข้ อง
ชื่อโครงการอืน่ ที่ โครงการอืน่
โครงการอืน่ โครงการอืน่ เป็ น
เป็ นโครงการ เป็ นโครงการที่ โครงการปลาย
สั มพันธ์
ต้ นนา้
ต้ องทาร่ วมกัน
นา้
รายละเอียด ลักษณะ
ความสั มพันธ์
โครงการพัฒนา
อาชีพการเลี้ยง
แพะ
X
นาผลผลิตที่ได้จากโครงการ
เพื่อเป็ นวัตถุดิบสาหรับการ
เลี้ยงแกะ
โครงการพัฒนา
บรรจุภณั ฑ์สินค้า
ปศุสตั ว์แปรรู ป
X
นาผลผลิตที่ได้จากโครงการ
เพื่อแปรรู ปเป็ นสิ นค้าปศุสตั ว์
โครงการปลูก
ข้าวโพดฝักอ่อน
(สนง.เกษตรจว.)
X
นาซังข้าวโพดฝักอ่อนมาเป็ น
วัตถุดิบสาหรับโครงการผลิต
อาหารหยาบ
7. การวิเคราะห์ ความเสี่ ยงทีส่ าคัญ (Risk Analysis)
• ระบุถึง
– แนวทางในการระบุความเสี่ ยงที่สาคัญ
– แนวทางในการบริ หารความเสี่ ยง
• ทาให้ทราบ
– สิ่ งที่จะต้องระวัง เตรี ยมพร้อม ต่อปั ญหาหรื ออุปสรรคที่จะเกิดขึ้น อันจะส่ งผล
ต่อความสาเร็ จของโครงการ
Organizations that
never take risks
are doomed to
fail…
...But
eventually,
organizations that
do not actively manage
their risks will also fail.
การบริหารความเสี่ ยง (Risk Management)
• ความเสี่ ยง
– “ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์และเป้ าหมายขององค์กร”
• การบริหารความเสี่ ยง หมายถึง
– กระบวนการที่ใช้ในการระบุความเสี่ ยง การวิเคราะห์ความเสี่ ยง และการ
กาหนดแนวทางการควบคุม เพื่อป้ องกันหรื อลดความเสี่ ยง
• การประเมินความเสี่ ยงในหน่วยงาน จะเป็ นการประเมินการปฏิบตั ิงานใน
ภาพรวมของหน่วยงาน เพื่อให้ทราบเหตุการณ์ของความเสี่ ยงและหาทาง
แก้ไขและควบคุมให้ความเสี่ ยงอยูใ่ นระดับที่เกิดความเสี ยหายน้อยที่สุด
ทาไมต้ องมีการบริหารความเสี่ ยงในโครงการ
• มีความไม่แน่นอนในทุกๆ โครงการ
• ความไม่แน่นอนดังกล่าว นาไปสู่ท้ งั โอกาสและข้อจากัดในการ
ดาเนินโครงการ
• การบริ หารความเสี่ ยงจะช่วยเพิม่ ประสิ ทธิผลและประสิ ทธิ ภาพของ
โครงการโดย
– ใช้ประโยชน์จากโอกาส
– หาแนวทางในการจัดการกับข้อจากัด
• ควรจะเป็ นกระบวนการหนึ่งที่สาคัญของการบริ หารโครงการทุก
โครงการ
ขั้นตอนในการบริหารความเสี่ ยง
• Identify risk
• Risk assessment
• Risk response
• Control Activities
• Information & Communication
• Implement and review decision
Risk Identification การระบุความเสี่ ยง
• เริ่ มจากการระบุวา่ มีความเสี่ ยงอะไรบ้าง?
• Proactive Pessimism การมองโลกในแง่ร้ายเชิงรุ ก
– What can go wrong and what are we going to do about it?
• แนวทางในการระบุความเสี่ ยง
1. จากกรอบที่มีการกาหนดไว้ล่วงหน้า
2. พิจารณางาน กิจกรรมต่างๆ โดยละเอียด และพิจารณาว่าใน
การที่จะทาให้กิจกรรมดังกล่าวสาเร็ จ มีความเสี่ ยงอะไรบ้าง
แนวทางสาหรับการระบุความเสี่ ยง
• ให้ความสนใจต่อสิ่ งที่อยูน่ อกเหนือการควบคุม
– External dependencies = automatic risk
• ยิง่ งานมีความใหม่เท่าใด งานนั้นยิง่ มีความเสี่ ยงมากขึ้น
– The newer or more innovative a task is = the greater the risk
• Conflict is a sign of risk
การระบุปัจจัยความเสี่ ยง
• ผลกระทบจากปัจจัยทางด้านเศษฐกิจ สังคม การเมือง
อุตสาหกรรม และสิ่ งแวดล้อมต่อการดาเนินงานของหน่วยงาน
• ปัจจัยความเสี่ ยงที่ได้ระบุไว้ในการวางแผน และการประมาณ
การของหน่วยงาน
• ข้อตรวจพบที่ได้รับจากการตรวจสอบ การสอบทาน การ
ติดตาม และประเมินผล
• ปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์ของ
หน่วยงาน
การบริหารความเสี่ ยง ประกอบด้ วย
• Credit Risk
• Market Risk
• Operational Risk
• Financial Risk
• Project Risk
• Event Risk
• Strategic Risk
การประเมินระดับความเสี่ ยง
• เลือกใช้เทคนิคการวิเคราะห์ความเสี่ ยงที่เหมาะสม โดยบางครั้งอาจไม่
จาเป็ นต้องวิเคราะห์ในรู ปตัวเลข แต่อาจวิเคราะห์ออกมาเป็ นระดับต่างๆ
สาคัญมาก ปานกลาง หรื อน้อย เป็ นต้น
ระดับของความเสี่ ยง
• โอกาสที่จะเกิด (Likelihood)
– คือการพิจารณาว่าปั จจัยเสี่ ยงที่ได้เรี ยงลาดับความสาคัญไว้แล้ว มีโอกาสที่จะ
เกิดปั จจัยเสี่ ยงนั้น ในระดับน้อยมาก น้อย ปานกลาง สู งผลกระทบของ
• ผลกระทบ (Impact)
– คือ การนาปั จจัยเสี่ ยงแต่ละปั จจัยมาพิจารณาถึงความสาคัญว่า หากเกิดขึ้นแล้ว
มีผลกระทบต่อหน่วยงานมากน้อยแค่ไหนโดยอาจวัดเป็ นระดับน้อย ปานกลาง
สูง
การประเมินระดับความน่ าจะเป็ นและความรุนแรงของความเสี่ ยง
• ขึ้นอยูก่ บั ความคิดเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญ
• มักจะใช้เป็ นค่าคะแนน
• ผลกระทบหรื อความรุ นแรงนั้นสามารถที่จะพิจารณาในด้าน
– ต้นทุน หรื อ งบประมาณ
– เวลา
– ขอบเขต ขั้นตอน
– คุณภาพ
– ความสาเร็ จ
การวิเคราะห์ความเสี่ ยง
ผลกระทบ
โอกาสที่จะเกิด
3-โอกาสสูง(75%) 2-อาจจะ(50%) 1-ไม่น่าเกิด(25%)
4-หายนะ
สูงมาก
สูง
ปานกลาง
3-รุนแรง
สูง
ปานกลาง
ปานกลางต่า
2-เล็กน้อย
ปานกลาง
ปานกลางต่า
ต่า
1-ไม่ต้องสนใจ ปานกลางต่า
ต่า
ต่ามาก
การจัดการกับความเสี่ ยง
• เป็ นการตัดสิ นใจว่าจะทาอย่างไรกับความเสี่ ยงแต่ละประเภท
• Risk Avoidance – หลีกเลี่ยงจากความเสี่ ยง
• Risk Reduction – ลดโอกาสที่จะเกิดความเสี่ ยง โดยการกระทา
บางอย่างก่อน เพื่อให้โอกาสที่จะเกิดความเสี่ ยงลดน้อยลง
• Risk Mitigation – การหาแนวทางในการลดระดับความรุ นแรงของ
ความเสี่ ยง เมื่อความเสี่ ยงนั้นเกิดขึ้น
• Risk Transfer – โอนความเสี่ ยง เช่น การซื้อประกัน
• Risk Acceptance – ยอมรับความเสี่ ยงนั้น ถึงแม้ความเสี่ ยงจะเกิดขึ้น
และไม่ทาอะไรก่อนที่ความเสี่ ยงจะเกิด
ความเสี่ ยงทีส่ าคัญ
ความเสี่ ยงทีอ่ าจจะเกิด
ประเด็นทีต่ ้ องพิจารณา
คาอธิบาย
ด้านชุมชนและ
-เกิดภัยธรรมชาติที่จะส่ งผลต่อการปลูก
-ภัยธรรมชาติ
วัตถุดิบ ที่จะทาให้ไม่มีวตั ถุดิบตามที่คาดไว้
สิ่ งแวดล้อม
-โรคระบาดในสัตว์ทาให้ผลิตผลขายไม่ออก -โรคระบาดในสัตว์
ด้านการดาเนินงาน
ด้านนโยบาย กฎหมาย
ของรัฐ
ด้านผูร้ ับบริ การ
ด้านเศรษฐกิจ
-โครงการไม่ได้รับความสนใจอย่างต่อเนื่อง -เจ้าหน้าที่เปลี่ยนแปลง ขาด
ความต่อเนื่อง
-เปลี่ยนไปไม่สนับสนุน ส่ งเสริ มการเลี้ยง -นโยบายเกี่ยวกับการเลี้ยง
สัตว์กระเพาะรวม
สัตว์กระเพาะรวม
-ไม่สามารถดาเนินโครงการต่อด้วยตนเอง -กลุ่มเกษตรกรไม่เข้มแข็ง
ได้
-ทาให้ราคาผลิตผลสูงขึ้น ขายออกยาก
-ราคาสิ นค้าสู งขึ้น
ความเสี่ ยงทีส่ าคัญ (2)
ความเสี่ ยงทีอ่ าจจะเกิด
ประเด็นทีต่ ้ องพิจารณา
คาอธิบาย
การประชาสัมพันธ์และ -เกษตรกรไม่เข้าร่ วมโครงการตาม เกษตรกรไม่เข้าร่ วมโครงการ
รับสมัครกลุ่มเกษตรกร เป้ าหมายที่ต้งั ไว้ เนื่องจากมี
เป้ าหมาย
ช่องทางอื่นๆ
การประสานกับ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การติดต่อและจัดหา
แหล่งวัตถุดิบและ
อุปกรณ์
ขาดการร่ วมมือจากหน่วยงานอื่น
หน่วยงานอื่นๆ ไม่ให้ความร่ วมมืออย่าง
เต็มที่
ไม่มีวตั ถุดิบสาหรับการผลิตอาหาร วัตถุดิบขาดแคลน
หยาบ
อาหารหยาบ
อาหารหยาบที่ได้ไม่มีคุณภาพเพียงพอ
เกษตรกรมีรายได้เพิม่
ต้นทุนในการดาเนินงานที่สูงกว่าที่คาดไว้
และทาให้ขาดทุน
ความเสี่ ยงทีส่ าคัญ (3)
Grade: Combined effect of Likelihood/Seriousness
Seriousness
Likelihood
low
medium
high
EXTREME
low
E
D
C
A
medium
D
C
B
A
high
C
B
A
A
ความเสี่ ยง
เกรดที่
ได้ รับ
แนวทางในการบริหารความ ผู้ทรี่ ับผิดชอบ ต้ นทุนทีจ่ ะ
ต่ อการนา เกิดขึน้ จากการ
เสี่ ยง
แนวทางไปใช้ นาแนวทางมาใช้
หน่วยงานอื่นๆ ไม่ให้
ความร่ วมมืออย่างเต็มที่
A
วางแผนและขอความร่ วมมือ
หัวหน้าสนง.
ล่วงหน้า พร้อมทั้งมีการแลกเปลี่ยน
ไม่มี
ภัยธรรมชาติ
C
กาหนดเวลาปลูกไม่ให้ตรงกับช่วง
ภัยพิบตั ิ
นักวิชาการ....
ไม่มี
เกษตรกรไม่เข้าร่ วม
โครงการ
B
ชักจูงด้วยความช่วยเหลือเบี้องต้น
นักวิชาการ.......
50,000 บาท
เมื่อวิเคราะห์ เสร็จสิ้น..................
• นาผลที่ได้มาจัดทาเป็ นข้อเสนอโครงการ
• ความแตกต่างระหว่างข้อเสนอโครงการที่ใช้กนั อยู่
ในปัจจุบนั กับแนวทางที่เสนอใหม่
• ให้บูรณาการทั้งสองแนวทางเข้าด้วยกัน (แต่ละวิธี
มีขอ้ ดีขอ้ เสี ยที่แตกต่างกัน)
โครงการตูย้ าประจาบ้าน คาราวานแก้จน
ตัวอย่ างนี้เป็ นเพียงตัวอย่ างทีจ่ ัดทาขึน้ มาเพือ่ ให้ เกิดความเข้ าใจในกระบวนการคิด
ข้ อมูลต่ างๆ ทีอ่ ยู่ในตัวอย่ างนี้มีส่วนหนึ่งทีเ่ ป็ นข้ อมูลสมมติ ทีจ่ ัดทาขึน้ มา เพือ่ ให้
เห็นภาพของกระบวนการทัง้ หมด
1. ชื่อโครงการ
- โครงการตูย้ าประจาบ้าน คาราวานแก้จน
2. ความสาคัญ หลักการ และเหตุผล
- ใช้การนาตูย้ าเป็ นตัวแทนความห่วงใย และเป็ นเครื่ องมือหนึ่งใน
การเข้าไปทาการสารวจข้อมูลด้านการลงทะเบียนปัญหาสังคมและ
ความยากจนของจังหวัด เพื่อให้ทราบปัญหาของพื้นที่อย่างแท้จริ ง
- โดยจัดทีมเข้าไปตั้งตูย้ าแต่ละที่ทีมละ 3 คน ประกอบไปด้วย อสม.
อช. ผูน้ าท้องถิ่น
3. วัตถุประสงค์ ของโครงการ
- การสารวจข้อมูลด้านการลงทะเบียนปัญหาสังคมและความยากจนของจังหวัด
4. ขอบเขตและกระบวนการทีส่ าคัญ
ขอบเขตโครงการ
กลุ่มผูร้ ับบริ การเป้ าหมาย
ผูท้ ี่จดทะเบียนคนจน ประมาณ 72,395
ครัวเรื อน
พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ เป้ าหมาย
ทุกอาเภอในจังหวัด....
ขั้นตอนและกระบวนการในการดาเนินโครงการ
การพัฒนา
โครงการ
การขออนุมตั ิโครงการต่อ
ผูว้ า่ ราชการจังหวัด
แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน
โครงการ
กาหนดเกณฑ์ในการ
จัดซื้อตูย้ าและราคายา
ให้ทอ้ งถิ่นดาเนินการจัดซื้ อตูย้ า
ตามเกณฑ์ของคณะกรรมการ
แต่งตั้งคณะทางานติดตั้งตูย้ า
ในระดับจังหวัด/อาเภอ/พื้นที่
ให้ความรู้และกาหนด
กรอบในการทางานแก่
คณะทางานฯ
ดาเนินการติดตั้งตูย้ าและ
ออกสารวจข้อมูลในพื้นที่
จัดตั้งศูนย์ขอ้ มูล และ
จัดทาระบบฐานข้อมูล
อบรมบุคลากร
รวบรวมข้อมูลและ
ประมวลผล
กาหนดแนวทางการ
แก้ไขปัญหาในพื้นที่
ผลผลิต และผลลัพธ์ ของโครงการ
ผลผลิต
ผลลัพธ์
•ตูย้ าประจาบ้าน
•ฐานข้อมูลในพื้นที่ที่น่าเชื่อถือ
-ความเป็ นอยู/่ สุ ขอนามัยของประชาชนที่ดียงี่ ขึ้น
-จังหวัดสามารถแก้ไขปัญหาได้ตรงกับสภาพปัญหาใน
พื้นที่อย่างแท้จริ ง
-ข้อมูลที่ได้สามารถนามาพัฒนาจังหวัดในอนาคต
ตัวชี้วดั ความสาเร็จของโครงการ
ผลผลิต / ผลลัพธ์
ตัวชี้วดั
ค่าเป้ าหมาย
ระยะเวลา
ตูย้ าประจาบ้าน
ปริ มาณตูย้ าที่ติดตั้ง
72,395 ตู้
ก.ย. 2548
ฐานข้อมูลในพื้นที่ที่
น่าเชื่อถือ
ร้อยละของข้อมูลที่ถูกต้องและ
ครบถ้วน
ร้อยละ 80
ธ.ค. 2548
ผลผลิต และผลลัพธ์ ของโครงการ (2)
ผลผลิต
ผลลัพธ์
•ตูย้ าประจาบ้าน
•ฐานข้อมูลในพื้นที่ที่น่าเชื่อถือ
•แนวทางการแก้ไขปัญหาในพื้นที่
-ความเป็ นอยู/่ สุ ขอนามัยของประชาชนที่ดียงี่ ขึ้น
-จังหวัดสามารถแก้ไขปัญหาได้ตรงกับสภาพปัญหาใน
พื้นที่อย่างแท้จริ ง
-ข้อมูลที่ได้สามารถนามาพัฒนาจังหวัดในอนาคต
ตัวชี้วดั ความสาเร็จของโครงการ
ผลผลิต / ผลลัพธ์
ตัวชี้วดั
ค่าเป้ าหมาย
ระยะเวลา
ความเป็ นอยู/่ สุขอนามัยของ (ตัวชี้วดั ของสาธารณสุข)
ประชาชนที่ดียงี่ ขึ้น
จังหวัดสามารถแก้ไขปัญหา ร้อยละของปัญหา/ข้อร้องเรี ยนในพื้นที่ที่
ได้ตรงกับสภาพปัญหาใน
ลดลง
พื้นที่อย่างแท้จริ ง
ข้อมูลที่ได้สามารถนามา
พัฒนาจังหวัดในอนาคต
ร้อยละของข้อเสนอแนะที่ได้นาไปใช้ ร้อยละ 80
ประโยชน์
ธ.ค. 2548
ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์
สั มพันธ์ หรือเชื่อมโยงต่ อ
X
โครงการสนับสนุน ที่ส่งผลต่อการ
บรรลุค่าเป้ าหมาย ภายใต้ตวั ชี้วดั
X
เหตุผลและรายละเอียด
ตัวชี้วดั ....................................................
ค่าเป้ าหมาย ............................................
เป้ าประสงค์ ..........................................
ยุทธศาสตร์ (ชาติ): แก้ไขปั ญหาความยากจน
ผู้ทเี่ กีย่ วข้ องกับโครงการ
บทบาท
รายละเอียด
หน่วยงาน กลุ่มบุคคล บุคคล
-ประเมิน อนุมตั ิ
ประเมิน และอนุมตั ิโครงการ ทั้งใน
ระยะต้น และเมื่อโครงการสิ้ นสุ ด
-ผูว้ า่ ราชการจังหวัด
-ผูใ้ ห้
ให้ขอ้ มูล
-ผูล้ งทะเบียนฯ
ให้ตยู้ า
-องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
งบประมาณ
-ศตจ., งบประมาณยุทธศาสตร์
จังหวัด (CEO)
-คณะทางานฯ
ผูใ้ ห้ความรู ้แก่ผทู้ ี่ติดตั้งตูย้ า
-ผูท้ ี่ได้รับผล
ผูใ้ ห้ความรู้การใช้โปรแกรมประมวลผล - ผูเ้ ชี่ยวชาญระบบคอมพ์ (ยังไม่
กาหนด)
ได้รับตูย้ า
-ผูล้ งทะเบียนฯ
ได้รับข้อมูล/คาแนะนาจากโครงการ
-ผูบ้ ริ หารของส่ วนราชการ
ประเด็นปัญหาจาก Stakeholders
ผู้ทเี่ กีย่ วข้ อง
ส่ งผลกระทบต่ อ
ความสาเร็จของ
โครงการ
คณะทางานติดตั้ง เป็ นผูต้ ิดตั้งตูย้ า
ตูย้ าในระดับ
และดาเนินการ
จังหวัด/อาเภอ/ เก็บข้อมูล
พื้นที่
ผูล้ งทะเบียน
ได้ รับผลจาก
โครงการ
ประเด็นปัญหาที่
อาจจะมี
แนวทางในการแก้ ไข
ไม่มีความเข้าใจ
ในการจัดเก็บ
ข้อมูล จัดเก็บ
ข้อมูลไม่
ครบถ้วน
จัดให้มีคณะทางานใน
การตรวจติดตามการ
เก็บข้อมูลจากทุกภาค
ส่ วน
ได้รับตูย้ าและ
ไม่นาตูย้ าไปใช้
ได้รับการดูแล
ประโยชน์
จากคณะทางานฯ ไม่มีความรู้ใน
การใช้ตยู้ า
จัดทาให้มีคณะทางาน
ติดตามผล
อบรมให้ความรู ้แก่ผู ้
ลงทะเบียนและมีการ
ตรวจติดตามอย่าง
ต่อเนื่อง
ประโยชน์ ทจี่ ะได้ รับ (ทางสั งคม)
ผู้ทเี่ กีย่ วข้ อง
บวกสู ง บวกกลาง
(+3)
(+2)
บวกต่า
(+1)
ลบต่า (1)
ลบกลาง
(-2)
ลบสู ง (3)
รวม
ผูล้ งทะเบียน
มีสุขภาพ
อนามัยที่ดี
+3
ผูบ้ ริ หารจังหวัด
ได้รับข้อมูล
และ
คาแนะนา
+3
คณะทางานติดตั้งฯ
รวม
6
ผลตอบแทน
+1
1
+7
โครงการอืน่ ที่เกีย่ วข้ อง
ชื่อโครงการอืน่ ที่ โครงการอืน่
โครงการอืน่ โครงการอืน่ เป็ น
เป็ นโครงการ เป็ นโครงการที่ โครงการปลาย
สั มพันธ์
ต้ นนา้
ต้ องทาร่ วมกัน
นา้
โครงการจัดทา
ฐานข้อมูลและ
คลังข้อมูลกลางการ
แก้ปัญหาความสังคม
และความยากจนเชิง
บูรณาการ
โครงการพัฒนา
ระบบข้อมูลเพื่อการ
เสริ มสร้างระบบเฝ้ า
ระวังปัญหายาเสพติด
อย่างยัง่ ยืน
รายละเอียด ลักษณะ
ความสั มพันธ์
นางบประมาณมาสนับสนุนการเก็บ
ข้อมูลในพื้นที่
X
X
นาข้อมูลจากโครงการนี้ไปใช้ใน
การเฝ้ าระวังปัญหายาเสพติด
ความเสี่ ยงทีส่ าคัญ
ประเด็นทีต่ ้ องพิจารณา
ด้านชุมชนและสิ่ งแวดล้อม
ด้านการดาเนินงาน
ด้านนโยบาย กฎหมายของ
รัฐ
ด้านผูร้ ับบริ การ
คาอธิบาย
ความเสี่ ยงทีอ่ าจจะเกิด
เจ้าหน้าที่ขาดความเข้าใจ ในกระบวน
ติดตั้งและการเก็บข้อมูล
เจ้าหน้าที่ขาดการติดตามต่อเนื่อง
ไม่นาตูย้ าไปใช้ประโยชน์
ไม่มีความรู้ในการใช้ตยู ้ า
ด้านเศรษฐกิจ
ราคายาอาจมีการเปลี่ยนแปลง
ความเสี่ ยงทีส่ าคัญ (3)
Grade: Combined effect of Likelihood/Seriousness
Seriousness
Likelihood
low
medium
high
EXTREME
low
E
D
C
A
medium
D
C
B
A
high
C
B
A
A
แนวทางในการบริหารความเสี่ ยง
ผู้ทรี่ ับผิดชอบต่ อการ
นาแนวทางไปใช้
ต้ นทุนทีจ่ ะเกิดขึน้ จาก
การนาแนวทางมาใช้
ความเสี่ ยง
เกรดทีไ่ ด้ รับ
เจ้าหน้าที่ขาดความเข้าใจ
ในกระบวนติดตั้งและการ
เก็บข้อมูล
A
การอบรม ทาความเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่ คณะทางานติดตั้ง ค่าจัดอบรม..... บาท
ฯ
เจ้าหน้าที่ขาดการติดตาม
ต่อเนื่อง
B
การติดตามจากป้ ายติดตูย้ า, สมุด
ลงทะเบียน, การรายงาน ฯลฯ
คณะทางาน
ติดตามฯ
ไม่มีความรู ้ในการใช้ตยู ้ า
A
อบรมให้ความรู้แก่ผลู้ งทะเบียนและ
มีการตรวจติดตามอย่างต่อเนื่อง
คณะทางานติดตั้ง ฯ
ราคายาอาจมีการ
เปลี่ยนแปลง
B
ให้มีการทาสัญญาซื้อขายไว้ล่วงหน้า ท้องถิ่น
(เทศบาล/อบต.)
ค่าใช้สอยในการ
ติดตาม... บาท
-
ประเด็นชวนคิด !
• ทาให้เกิดความชัดเจน รอบคอบ ครบถ้วนในการบริ หาร
โครงการ แต่ ในทางปฏิบตั ิมกั จะไม่ค่อยให้เวลาในการคิด
• จะต้องมีการคิด และหาข้อมูลที่ชดั เจนก่อนเริ่ มเขียนข้อเสนอ
โครงการ ผูท้ ี่คิดเองจะต้องมองภาพในองค์รวมให้ออก (Holistic
View)
• เนื้อหาในวันนี้เป็ นเพียงแค่จุดเริ่ มต้น (การคิดและจัดทาข้อเสนอ
โครงการ) แต่ยงั มีปัจจัยสาคัญอื่นๆ ที่จะส่ งผลต่อการบริ หาร
โครงการให้ประสบผลสาเร็ จ