บทที่ 3 ระดับการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง โดย อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว วิทยาเขตหนองคาย มหาวิทยาลัยขอนแก่น http://web.nkc.kku.ac.th/manit หัวข้ อ • 1. เศรษฐกิจพอเพียงระดับครอบครัว • 2.

Download Report

Transcript บทที่ 3 ระดับการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง โดย อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว วิทยาเขตหนองคาย มหาวิทยาลัยขอนแก่น http://web.nkc.kku.ac.th/manit หัวข้ อ • 1. เศรษฐกิจพอเพียงระดับครอบครัว • 2.

บทที่ 3
ระดับการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
โดย อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
วิทยาเขตหนองคาย มหาวิทยาลัยขอนแก่น
http://web.nkc.kku.ac.th/manit
1
หัวข้ อ
• 1. เศรษฐกิจพอเพียงระดับครอบครัว
• 2. เศรษฐกิจพอเพียงระดับชุมชนเมือง/ชุมชนชนบท
• 3. เศรษฐกิจพอเพียงระดับประเทศ
2
1. เศรษฐกิจพอเพียงระดับครอบครัว
3
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนาไปใช้ ได้ กบั คนทุก
วัยและทุกศาสนาได้ อย่ างไร
• ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นหลักปรัชญาที่เป็ นจริ ง และเป็ นกรอบในการ
ดารงชีพที่สามารถประยุกต์ใช้ได้กบั คนทุกเพศทุกวัย
• สามารถนาไปปรับใช้ได้กบั บุคคลในทุกระดับ จากชนบทจนถึงในเมือง จากผู ้
มีรายได้นอ้ ย จนถึงผูม้ ีรายได้สูง จากภาคเอกชนจนถึงภาครัฐ
• การประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวันนั้น ผูป้ ระยุกต์ตอ้ งเริ่ มจากการ
พัฒนาทางด้านจิตใจก่อน มีการดารงชีวิตบนพื้นฐานของการรู ้จกั ตนเอง การ
คิดพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันอย่างเอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ การใช้ชีวิตอย่างพอเพียง ซึ่ง
สอดคล้องกับหลักคาสอนของทุกศาสนาที่ให้ดาเนินชีวิตตามกรอบคุณธรรม
ไม่ทาการใดๆที่เบียดเบียนตนเองหรื อผูอ้ ื่น ไม่ฟุ้งเฟ้ อหรื อทาอะไรที่เกินตน
รู ้จกั แบ่งปันและช่วยเหลือผูอ้ ื่นตามความเหมาะสม การดาเนินตามทางสาย
กลาง คานึงถึงความพอดีไม่มากเกินไปหรื อน้อยเกินไป
4
5
แทรก
• รู ปบ้านคาปลาหลาย และมาร์ติน
6
7
คุณธรรมทีท่ ุกคนควรจะศึกษาและน้ อมนามาปฏิบัติ
• การรักษาความสัตย์ ความจริ งใจต่อตนเองที่จะปฏิบตั ิแต่สิ่งที่เป็ น
ประโยชน์และเป็ นธรรม
• การรู ้จกั ข่มใจตนเอง ฝึ กใจตนเองให้ประพฤติ ปฏิบตั ิอยูใ่ นความสัตย์
ความดีน้ นั
• การอดทน อดกลั้น และอดออม ที่จะไม่ประพฤติล่วงความสัตย์ สุจริ ต
ไม่วา่ ด้วยเหตุประการใด
• การรู ้จกั ระวางความชัว่ ความทุจริ ต และรู ้จกั เสี ยสละประโยชน์ส่วนน้อย
ของตน เพื่อประโยชน์ส่วนใหญ่ของบ้านเมือง
8
การลดความเสี่ ยงของเกษตรกร
โดยใช้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มานิตย์ ผิวขาว
9
ความเสี่ ยงทางการเกษตร
• ด้ านการผลิต
– การปลูกพืชเชิงเดี่ยว
– ปัญหาทางธรรมชาติ(ปริมาณนา้ ฝน/โรคแมลง)
– การเสื่ อมโทรมของทรัพยากร(ดิน/นา้ /ป่ าไม้ )
– การใช้ ปัจจัยการผลิตไม่ เหมาะสม
– ต้ นทุนการผลิตสู ง
– ผลผลิตเฉลีย่ ต่า คุณภาพไม่ แน่ นอน และปริมาณผลผลิตไม่ แน่ นอน
• ด้ านราคาและตลาด
– ราคาผันผวนและตกต่า
– ขาดตลาดรองรับ สิ นค้ าล้นตลาด และตลาดไม่ แน่ นอน
10
ข้ อเสนอแนะวิธีการปฏิบัตใิ นการทาการเกษตรเพื่อลด
ความเสี่ ยงทีส่ อดคล้ องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• ความพอประมาณ
– การลดปริมาณพืน้ ที่ปลูก/ปลูกขนาดพืน้ ที่เหมาะสมกับแรงงาน
และเงินทุน
– การลงทุนอย่ างเป็ นขั้นตอนเพือ่ มิให้ เสี่ ยงมากเกินไป
– ไม่ ฟุ่มเฟื อย
– การหาทางลดรายจ่ าย(เช่ น การผลิตอาหารไว้ เพือ่ บริโภค)
– การผลิตที่ไม่ ทาลายธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
11
• ความมีเหตุผล
– ความรอบคอบ ความระมัดระวัง
– การเลือกผลิตพืชและสั ตว์ ที่เหมาะสมกับพืน้ ที่/ความชานาญ/มีตลาด
แน่ นอน
– การเพิม่ ความเข้ มข้ นในการผลิตโดยทาการเกษตรให้ หลากหลายมีการ
ปลูกพืชเชิงหลากหลายหรือผสมผสาน(การเกษตรที่มกี ารเกือ้ กูลกัน)
– การฟื้ นฟูและบารุงดินด้ วยปุ๋ ยอินทรีย์/ชีวภาพ/จุลนิ ทรีย์
– การป้องกันกาจัดโรค/แมลง/ศัตรู พชื ด้ วยสารชีวภาพ การควบคุม
คุณภาพและปริมาณผลผลิต
12
• การมีภูมิคุ้มกันทีด่ ี
– การวางแผนการผลิตและการตลาด
– การบริหารจัดการฟาร์ มที่ดี
– การรวมกลุ่มหรือเครือข่ ายด้ านการผลิต/แปรรูป/ตลาด
– การออมเงิน/กลุ่มออมทรัพย์
– การรวมกลุ่มทางสั งคม(เช่ น กลุ่มสวัสดิการชุ มชน กลุ่มฌาปนกิจ)
– การมีแหล่งนา้ เพือ่ การเกษตรเพียงพอ
– การเฝ้ าระวังโรค/แมลงอย่ างสม่าเสมอ
– กินอาหารปลอดภัยทีผ่ ลิตเอง
13
• เงือ่ นไขความรู้
– มีความรอบรู้
– การสร้ างองค์ ความรู้
– การจัดการความรู้
– การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ร่วมกัน
– การรู้ จักประยุกต์ ใช้ ภูมปิ ัญญาท้ องถิ่นอย่ างเหมาะสม
14
• เงือ่ นไขคุณธรรม
– ความซื่อสั ตย์
– ความไม่ โลภ
– ความรู้ จักพอ
– ความขยันหมัน่ เพียร
– ความอดทน
– การไม่ เบียดเบียนกัน
– การแบ่ งปันเอือ้ เฟื้ อเผือ่ แผ่ ซึ่งกันและกัน
15
2. เศรษฐกิจพอเพียงระดับชุมชนเมือง/
ชุมชนชนบท
16
การใช้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับชุมชน และ
ตามบทบาทหน้ าที่
• จะเกิดขึ้นเมื่อสมาชิกในชุมชนมีความพอเพียงในระดับครอบครัวเป็ น
พื้นฐานแล้ว
• สมาชิกในชุมชนได้รวมกลุ่มทาประโยชน์เพื่อส่ วนรวม
• การปฏิบตั ิอาศัยภูมิปัญญาและความสามารถที่มีอยูเ่ ป็ นพื้นฐานประกอบการ
ดาเนินชีวิต มีการช่วยเหลือแบ่งปันกันจนเป็ นพื้นฐานให้เกิดการรวมกลุ่มใน
สังคม สร้างเป็ นเครื อข่ายเชื่อมโยงระหว่างกันต่อไป นาไปสู่ความเป็ นอยูท่ ี่
พอเพียงของชุมชนโดยรวม ในการดาเนินชีวิตที่สมดุลอย่างแท้จริ ง
• จุดประสงค์หลักเพื่อให้ผปู ้ ฏิบตั ิสามารถมีสิ่งต่างๆ เพียงพอที่จะสนองความ
จาเป็ นในเบื้องต้นได้
17
18
19
20
21
11 พฤษภาคม 2526
22
1
2
3
4
5
6
7
23
1 ขั้นก่ อร่ างสร้ างตัว
2 ขั้นลงมือปฏิบตั ิกร
3 ขั้นขยายผล
ภายในชุ มชน
4 ขั้นสร้ างพลัง
และความเข้ มแข็ง
24
3. เศรษฐกิจพอเพียงระดับประเทศ
25
การนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ในระดับ
หน่ วยงานรัฐหรือระดับประเทศ
• เป็ นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า ซึ่งเกิดขึ้นจากการรวมกลุม่ ของ
ชุมชนหลายๆ แห่งที่มีความพอเพียง มาแลกเปลี่ยนความรู ้ ตลอดจน
ร่ วมมือกันพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
• ก่อให้เกิดการสร้างเครื อข่ายเชื่อมโยงระหว่างชุมชน ด้วยหลักแบ่งปัน
และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จนเกิดเป็ นสังคมแห่งความพอเพียงในที่สุด
• การปรับเปลี่ยนแนวทางการบริ หาร ที่เน้นการมีส่วนร่ วมของภาคต่างๆ
อันเป็ นการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ โดยการประกอบ
กับการกาหนดนโยบายและการวางยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านต่างๆ ผ่าน
การเชื่อมโยงผลประโยชน์ระดับท้องถิ่น และระดับชาติเข้าด้วยกัน
26
การประยุกต์ ใช้ เศรษฐกิจพอเพียงในภาคธุรกิจ/เอกชน
27
การนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ในระดับ
ภาคเอกชน
• สะท้อนให้เห็นถึงความสาคัญของภาคธุรกิจ และไม่ขดั ต่อหลักการธุรกิจที่
เน้นการหากาไร กล่าวคือ การยอมรับการมีกาไรในระดับพอประมาณ และ
มีเหตุมีผล
• ดาเนินไปบนพื้นฐานของการไม่เอารัดเอาเปรี ยบที่มุ่งแต่ผลกาไรสูงสุ ดเป็ น
สาคัญ จนก่อให้เกิดผลกระทบหรื อวิกฤตตามมา และต้องไม่แสวงหากาไร
โดยการเอาเปรี ยบผูบ้ ริ โภคหรื อทาผิดกฎหมาย
• นักธุรกิจต้องมีคุณธรรม เช่น ความซื่อสัตย์สุจริ ต และการแบ่งปันกันใน
การประกอบธุรกิจด้วย
• ต้องคานึงถึงผูม้ ีส่วนได้เสี ยอื่นๆในการดาเนินธุรกิจ ได้แก่ พนักงานบริ ษทั
ฯ ผูบ้ ริ โภคและสังคมโดยรวม การรักษาความสมดุลในการแบ่งปัน
28
ผลประโยชน์ของธุรกิจในระหว่างผูม้ ีส่วนได้เสี ยต่างๆดังกล่าว
29
30
31
วงจรการวางแผนงานขององค์ กร
32
วงจรของการวางแผนงาน P-D-C-A
• เป็ นกิจกรรมพืน้ ฐานในการพัฒนาประสิ ทธิภาพและคุณภาพของ
การดาเนินงาน
• ประกอบด้ วย การวางแผน – ปฏิบัติ – ตรวจสอบ – ปรับปรุ งการ
ดาเนินงาน
• การดาเนินกิจกรรม P-D-C-A อย่ างเป็ นระบบให้ ครบวงจรอย่ าง
ต่ อเนื่องหมุนเวียนเรื่อยๆ ส่ งผลให้ การดาเนินงานมีประสิ ทธิภาพ
และมีคุณภาพเพิม่ ขึน้
33
Plan
• หมายถึง การวางแผนการดาเนินงาน· การกาหนดหัวข้ อทีต่ ้ องการ
ปรับปรุ งเปลีย่ นแปลง /กาหนดเป้าหมาย / วัตถุประสงค์
• · การกาหนดมารตราฐาน เกณฑ์ มาตรฐาน เพือ่ ใช้ เป็ นเกณฑ์ ในการ
ตรวจสอบว่ า การปฏิบัตงิ านเป็ นไปตามมาตรฐานทีก่ าหนดไว้ ใน
แผนหรือไม่
• · การเขียนแผนดังกล่ าวอาจปรับเปลีย่ นได้ ตามความเหมาะสมของ
ลักษณะการดาเนินงาน การวางแผนยังช่ วยให้ เราสามารถ
คาดการณ์ สิ่งทีเ่ กิดขึน้ ในอนาคต และช่ วยลด ความสู ญเสี ยต่ างๆที่
อาจเกิดขึน้ ได้
34
Do
• หมายถึง การปฏิบัตติ ามแผน
• · การปฏิบัตงิ านให้ เป็ นไปตามมาตรฐานทีก่ าหนด
• · ก่ อนทีจ่ ะปฏิบัตจิ ริง ต้ องศึกษาข้ อมูล และเงือ่ นไขต่ างๆ ทราบ
วิธีการและขั้นตอน
• · การปฏิบัตจิ ะต้ องดาเนินการไปตามแผน วิธีการและขั้นตอนที่ได้
กาหนดไว้ และ จะต้ องเก็บรวบรวมและบันทึก ข้ อมูลทีเ่ กีย่ วข้ อง
เพือ่ ใช้ เป็ นข้ อมูลในขั้นตอนต่ อไป
35
Check
• หมายถึง การประเมินแผน/ตรวจสอบ
• · การประเมินขั้นตอนการดาเนินงาน และการประเมินผลของ
การดาเนินงาน เป็ นไปตามแผนทีไ่ ด้ ต้งั ไว้ หรือไม่
• · การติดตาม ตรวจสอบ และการประเมินปัญหาเพือ่ ประโยชน์ ใน
การพัฒนาปรับปรุ ง คุณภาพของงาน
• · ในการประเมินสามารถทาได้ เอง เป็ นลักษณะของการประเมิน
ตนเอง
36
Act
• หมายถึง การปรับปรุง
• · การแก้ ไขปัญหาที่เกิดขึน้ จากการได้ ทาการตรวจสอบแล้ วแก้ ไข
แบบเร่ งด่ วน เฉพาะหน้ า หรือการค้ นหาสาเหตุทแี่ ท้ จริงเพือ่
ป้องกันไม่ ให้ เกิดซ้า
• · การปรังปรุงแก้ ไข ข้ อบกพร่ องทีเ่ กิดขึน้ ไม่ ว่าจะเป็ นขั้นตอนใด
ก็ตาม เมื่อมีการปรับปรุ ง แก้ ไขคุณภาพก็จะเกิดขึน้ ดังนั้น
วงจร PDCA จึงเรียกว่ า วงจรบริหารงานคุณภาพ
37
PDCA มาจากภาษาอังกฤษ 4 คา ได้แก่
Plan
DO
Check
Act
การวางแผน
ปฏิบตั ิ
ตรวจสอบ
ดาเนินการให้เหมาะสม
38
วงจร PDCA เพือ่ การปรับปรุงงานอย่ างต่ อเนื่อง
39
โครงสร้ างของวงจร PDCA
ขั้นตอนทั้ง 4 ขั้นตอนของวงจร PDCA ประกอบด้ วย
1. การวางแผน อย่ างรอบคอบ เพือ่
2. การปฏิบัติ อย่ างค่ อยเป็ นค่ อยไป แล้ วจึง
3. ตรวจสอบ ผลทีเ่ กิดขึน้ วิธีการปฏิบัตใิ ดมีประสิ ทธิผลทีส่ ุ ด ก็
จะจัดให้ เป็ นมาตรฐาน หากไม่ สามารถบรรลุเป้าหมายได้ ก็ต้อง
หา
4. ขั้นตอนดาเนินงานที่เหมาะสม โดยการมองหาวิธีการปฏิบัติ
ใหม่ หรือใช้ ความพยายามให้ มากขึน้ กว่ าเดิม
40
ขั้นตอนการวางแผน(Plan)
- ครอบคลุมถึงการกาหนดกรอบหัวข้ อทีต่ ้ องการปรับปรุ ง
เปลีย่ นแปลง
- พิจารณาว่ ามีความจาเป็ นต้ องใช้ ข้อมูลใดบ้ าง โดยมีการระบุ
วิธีการเก็บข้ อมูลให้ ชัดเจน
- วิเคราะห์ ข้อมูลทีร่ วบรวมได้
- กาหนดทางเลือกในการปรับปรุงเปลีย่ นแปลง
41
ข้ อดีของการวางแผน
- ช่ วยให้ คาดการณ์ สิ่งที่เกิดขึน้ ในอนาคตได้
- ลดความสู ญเสี ยต่ าง ๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้
- ช่ วยให้ รู้ สภาพในปัจจุบัน เพือ่ นาไปกาหนดสภาพที่ต้องการให้
เกิดขึน้ ในอนาคต
42
ประเภทของการวางแผน
การวางแผนมีอยู่ด้วยการ 2 ประเภทหลัก ๆ ดังนี้
ประเภทที1่ การวางแผนเพือ่ อนาคต
ประเภทที่ 2 การวางแผนเพือ่ การปรับปรุงเปลีย่ นแปลง
43
ขั้นตอนการปฏิบัต(ิ DO)
ขั้นตอนการปฏิบัติ คือการลงมือปรับปรุงเปลีย่ นแปลงตาม
ทางเลือกทีไ่ ด้ กาหนดไว้ ในขั้นตอนการวางแผน
ในระหว่ างการปฏิบัตติ ้ องตรวจสอบด้ วยว่ าได้ ดาเนินไป
ในทิศทางทีต่ ้งั ใจหรือไม่ พร้ อมกับการประสานงานหรื อ สื่ อสาร
ให้ ผู้ทเี่ กีย่ วข้ องรับทราบ
44
ขั้นตอนการตรวจสอบ(Check)
ขั้นตอนการตรวจสอบ คือ การประเมินผลทีไ่ ด้ รับจากการ
ปรับปรุงเปลีย่ นแปลงในแต่ ละขั้นตอน สิ่ งสาคัญต้ องรู้ ว่าจะ
ตรวจสอบอะไรบ้ าง บ่ อยครั้งแค่ ไหน ข้ อมูลทีไ่ ด้ จากการ
ตรวจสอบจะเป็ นประโยชน์ สาหรับขั้นตอนต่ อไป
45
แนวทางในการดาเนินการตรวจสอบ
1. ตรวจสอบขั้นตอนการดาเนินงาน ได้ แก่
1.1 ขั้นการศึกษาข้ อมูล
1.2 ขั้นการเตรียมงาน การเตรียมงานตามแผนพร้ อมหรือไม่
1.3 ขั้นการดาเนินงาน มีบุคลากรและทรัพยากรหรือไม่
1.4 ขั้นตอนการประเมิน มีเครื่องมือและขั้นตอนที่เหมาะสม
2. ตรวจผลงานตามเกณฑ์ ที่กาหนด
3. ตรวจสอบโดยใช้ มาตรฐานทีก่ าหนด
4. ตรวจสอบความพึงพอใจ
46
5. การตรวจสอบคุณภาพทัว่ ทั้งองค์ กร โดยดาเนินการดังนี้
- ตรวจสอบด้ านบุคลากร
- ตรวจสอบขีดความสามารถที่เหมาะสมและสร้ าง
ผลผลิตทีม่ ีคุณภาพของวัสดุ
- ตรวจสอบวัตถุดบิ มีความเพียงพอหรือมีมากเกินความ
จาเป็ นหรือยังใช้ ไม่ ค้ ุมค่ า
- ตรวจสอบระบบการทางาน
- ตรวจสอบระบบการบริหาร
47
การจัดทารายงานผลการตรวจสอบ
มีส่วนประกอบดังนี้
1. เป้าหมายการตรวจสอบ
2. ข้ อบ่ งชี้ที่ใช้ ในการตรวจสอบ
3. หลักเกณฑ์ การประเมิน หรือวัดผล
4. ระยะเวลาทีไ่ ด้ ดาเนินการตรวจสอบ
5. สถิติเปรียบเทียบผลการตรวจสอบ
6. ข้ อจากัดในขณะทีท่ าการตรวจสอบ
7. สรุปการตรวจสอบ
8. ข้ อเสนอแนะแนวทางการตรวจสอบครั้งต่ อไป
48
ขั้นตอนการดาเนินงานให้ เหมาะสม(Act)
ขั้นตอนการดาเนินงานให้ เหมาะสมจะพิจารณาผลที่ได้ จากการ
ตรวจสอบ ซึ่งมีอยู่ 2 กรณี คือ
กรณีที่ 1 ผลที่เกิดขึน้ เป็ นไปตามแผนที่วางไว้
กรณีที่ 2 ผลที่เกิดขึน้ ไม่ เป็ นไปตามแผนที่วางไว้
- มองหาทางเลือกใหม่ ที่น่าจะเป็ นไปได้
- ใช้ ความพยายามให้ มากขึน้ กว่ าเดิม
- ขอความช่ วยเหลือจากผู้รู้
- เปลีย่ นเป้าหมายใหม่
49
ประโยชน์ ของ PDCA
1. การวางแผนงานก่ อนการปฏิบัตงิ าน จะทาให้ เกิดความพร้ อม
เมื่อได้ ปฏิบัตงิ านจริง
2. ทาให้ ทราบขั้นตอน วิธีการ และสามารถเตรียมงานล่ วงหน้ าหรือ
ทราบอุปสรรค์ ล่วงหน้ า ทาให้ งานเกิดความราบรื่น เรียบร้ อยนาไป
สู่ เป้าหมายทีก่ าหนดไว้
3. การตรวจสอบให้ ได้ ผลที่เที่ยงตรงเชื่อถือได้ ประกอบด้ วย
3.1 ตรวจสอบจากเป้าหมายทีก่ าหนด
3.2 มีเครื่องมือทีเ่ ชื่อถือได้
3.3 มีเกณฑ์ การตรวจสอบทีช่ ัดเจน
50
ประโยชน์ ของ PDCA
3.4 มีกาหนดเวลาการตรวจสอบทีแ่ น่ นอน
3.5 บุคลากรทีท่ าการตรวจสอบต้ องได้ รับการยอมรับจาก
ทุกหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ อง
4 การปรับปรุงแก้ ไขข้ อบกพร่ องทีเ่ กิดขึน้ ไม่ ว่าจะเป็ นขั้นตอนใด
เมื่อมีการปรับปรุงแก้ ไขคุณภาพก็จะเกิดขึน้
ดังนั้น วงจร PDCA จึงเรียกว่ า วงจรบริหารงานคุณภาพ
51
การประยุกต์ ใช้ วงจร PDCA
สามารถประยุกต์ ใช้ ได้ กบั ทุกเรื่อง นับตั้งแต่ กจิ กรรมส่ วนตัว เช่ น
การปรุงอาหาร การเดินทางไปทางานในแต่ ละวัน
การตั้งเป้าหมายชีวติ การดาเนินงานในระดับบริษัท จนกระทั่งระดับ
สถาบันการศึกษา หรือนามาใช้ ในระบบประกันคุณภาพการศึกษา
52
คาถาม/กิจกรรม
• ในการวางแผนในองค์ กรทางธุรกิจตามขั้นตอนใน
วงจรการวางแผนพัฒนา(PDCA) มีความสอดคล้ อง
กับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหรือไม่ ? อย่ างไร?
อธิบาย
53
ตัวอย่างการทาการเกษตร
ตามแนวพระราชดารัสเศรษฐกิจพอเพียง
54
ตัวอย่ าง 1
ศูนย์ ฝึกอบรมคุณธรรมกสิ กรรมไร้ สารพิษสวนส่ างฝัน
จ.อานาจเจริญ
กิจกรรม
แทรกรู ป
• การอบรมคุณธรรม
• กสิ กรรมไร้สารพิษ
55
การอบรมคุณธรรม
• เน้ นการอบรมคุณธรรม ขยัน(นอนดึก-ตื่นเช้ า) ประหยัด
พึง่ ตนเอง ซื่อสั ตย์ /เสี ยสละ/กตัญญู
• โดยการถือศีล 5 และการกินมังสวิรัติ
• การปฏิบัตธิ รรม เป็ นการเอาวิถีธรรมมาใช้ ในวิถีชีวติ
• เน้ นการเชื่อมโยงการปฏิบัตสิ ่ ู ธรรมชาติ
• ในช่ วงชีวติ เมือ่ 40-50 ปี มาแล้ ว ประเทศไทยเป็ นสั งคมทีม่ ี
ความสุ ข หลังจากนั้นมากลับมีความทุกข์
56
แทรกรู ป
57
กสิ กรรมไร้ สารพิษ
•
•
•
•
•
ขยะวิทยา การเอาขยะมาแยกแยะ และนามาใช้ ประโยชน์
ปุ๋ ยสะอาด ผลไม้ รสเปรี้ยว เอามาหมัก จะเกิดจุลนิ ทรีย์
กินสิ่ งทีป่ ลูก ปลูกสิ่ งทีก่ นิ การปลูกทีไ่ ม่ ใช้ สารเคมี
สิ่ งทีเ่ ราปลูกเป็ นเสมือนซุปเปอร์ มาเก็ตหรือตลาดของเรา
ฟางคือทองคา โดยการเน้ นการใช้ ฟางคลุมพืน้ ดินในพืน้ ที่
ทั้งหมด
• พยายามให้ มีการใช้ พนื้ ทีท่ ุกตารางนิว้ ให้ เกิดประโยชน์ สูงสุ ด
58
แทรกรู ป
59
ตัวอย่ าง 2
เกษตรประณีต 1 ไร่ จ.บุรีรัมย์
• เกษตรประณี ต 1 ไร่ แก้จนได้จริ งหรื อ?
• ความโลภเป็ นสิ่ งดีเพราะกระตุน้ การแข่งขันทาง
เศรษฐกิจ
แทรกรู ป
60
หลักการและแนวคิด
• การลดการใช้ พนื้ ทีใ่ นการทาการเกษตร(เข้ มข้ น)ลงมาเหลือแค่ 1 ไร่
• การใช้ พนื้ ทีท่ ุกตารางนิว้ ให้ เกิดประโยชน์ สูงสุ ด มีการปลูกพืช เลีย้ งสั ตว์
และเลีย้ งปลา
• การทาเกษตรนาแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ เน้ นความ
พอเพียงในด้ านต่ าง ๆ
• การปลูกพืชหลากหลายชนิดอยู่ในพืน้ ทีเ่ ดียวกัน โดยเป็ นพืชทีม่ ีระบบ
รากแตกต่ างกัน (หาอาหารต่ างระดับความลึกของดินแตกต่ างกันด้ วย)
• เน้ นการพึง่ ตนเอง และการช่ วยเหลือซึ่งกันและกัน(ของเครือข่ าย)
• มีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ระหว่ างกัน
61
ผลการดาเนินการ
•
•
•
•
•
•
มีชีวติ อย่ างพอเพียง ทั้งทางเศรษฐกิจและสั งคม
รายได้ เพิม่ รายจ่ ายลด หนีส้ ิ นลด
สุ ขภาพดี
เกิดการเรียนรู้
เกิดเครือข่ าย
สร้ างปราชญ์ ชาวบ้ าน
62
เปรียบเทียบเศรษฐกิจไม่ พอเพียงกับเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจไม่พอเพียง
• สภาพดินไม่ ดี
• นา้ แล้ง
• ป่ าหมด
• ใช้ สารเคมีจนเกิดมลพิษ
• ชีวติ ไม่ พอเพียง พึง่ ตนเองไม่ ได้
• หนีส้ ิ นเพิม่ ขึน้
• ครอบครัวต้ องอพยพวิ่งไล่หาเงิน
กันคนละทิศคนละทาง
เศรษฐกิจพอเพียง
• ออมความอุดมสมบูรณ์ ของดิน
ออมนา้ ออมสั ตว์ ออมไม้ ยืนต้ น
• ออมเงิน
• สั่ งสมกัลยาณมิตร
• สั่ งสมภูมิปัญญาในการแก้ไข
ปัญหา
• อุดรูรั่วรายจ่ ายให้ เหลือน้ อยทีส่ ุ ด
• กินและใช้ ทุกอย่ างทีป่ ลูก ปลูกทุก
63
อย่ างทีใ่ ช้ และกิน
เศรษฐกิจไม่พอเพียง
• ผู้นาชุ มชนไม่ มีเวลาเรียนรู้
ร่ วมกัน
• สภาพครอบครัวและสั งคมไม่
พอเพียง
• เกิดปัญหาสุ ขภาพ
• ไม่ พอเพียงทางกาย ทางใจ ทาง
สั งคม และทางปัญญา
เศรษฐกิจพอเพียง
• ผลผลิตมีเหลือกิน เหลือแจก
เหลือขาย
• ครอบครัวมีความสุ ข ชุ มชน
เข้ มแข็ง
• รายได้ เพิม่ ขึน้
• หนีส้ ิ นลดลง
• ลดละเลิกสารเคมี
• มีความสุ ขทั้งทางกาย ทางใจ
ทางสั งคม และทางปัญญา
64
ตัวอย่างแนวคิดจากบทความ
65
4 ทิศทางสู่ สังคมคุณธรรม สอดรับ 5 หลักการปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง
โดย...ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม นสพ.มติชน ฉบับวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2549 ปี ที่
29 ฉบับที่ 10456 หน้า 6
• 1.สั งคมทีไ่ ม่ ทอดทิง้ กัน เราควรทาให้สังคมไทยเป็ นสังคมที่มองเห็นความ
ทุกข์และความสุ ขของคนอื่นร่ วมกัน มีความเอื้ออาทรไม่นิ่งดูดายเมื่อเห็น
ผูอ้ ื่นเป็ นทุกข์ ร่ วมทุกข์ร่วมสุ ขกัน ซึ่งจะเห็นการเกิดขึ้นของ กองทุน
สวัสดิการ, แนวทางอาสาสมัคร จัดว่าอยูใ่ นกลุ่มนี้
• 2.สั งคมทีเ่ ข้ มแข็ง เป็ นสังคมที่มีชุมชนท้องถิ่นที่เข้มแข็ง ภาคประชาสังคมที่
เข้มแข็ง ตามลักษณะภูมินิเวศ กลุ่มคนและประเด็น ซึ่งจะพบงานที่เกี่ยวข้อง
คือการทางานเรื่ องเด็กและชุมชน
66
• 3.สั งคมคุณธรรม เป็ นสังคมที่เป็ นปึ กแผ่น ร่ มเย็นเป็ นสุ ข โดยการใช้ศาสน
ธรรม มาร่ วมกันคิดมาร่ วมกันทาในชุมชน แม้จะมีความแตกต่างกันของ
การนับถือศาสนา แต่กเ็ คารพคุณค่าระหว่างกัน มีความเข้าใจกันระหว่าง
ศาสนา และหลีกหนีออกจากวัตถุนิยม
• 4.สั งคมประชาธิปไตย เป็ นสังคมที่ประชาชนมีส่วนในการกาหนดกลไก
ต่างๆ ทางสังคม มีเคารพในคุณค่าของความเป็ นมนุษย์ เป็ นสังคม
ประชาธิปไตยที่ดี ไม่ใช่เพียงแค่ตามรู ปแบบหรื อกฎหมาย แต่ประชาชน
เป็ นผูม้ ีบทบาทในเนื้อหาสาระอย่างแท้จริ งไม่ใช่บอกว่ามีการเลือกตั้งแล้ว
บอกว่านี่แหละประชาธิปไตย ทั้งที่การเลือกตั้งเป็ นเพียงแค่ส่วนหนึ่งของ
ประชาธิปไตย ไม่ใช่สาระสาคัญ แต่การให้ทุกภาคส่ วนเข้ามามีส่วนร่ วม
คือสิ่ งสาคัญที่สุด
67
ตัวอย่างจากงานวิจยั /วิทยานิพนธ์
68
ตัวอย่างเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง
69
อดินนั ท์ พรหมพันธ์ใจ. การนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ในชุ มชน
เพือ่ การจัดการทุนประเทศเพือ่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน. วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง . 2550.
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
ตัวอย่างเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชน/ความเข้มแข็งของ
ชุมชน/ อาชีพและเศรษฐกิจชุมชน
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
ตัวอย่างเกี่ยวกับ
บทบาทของภาครัฐ/อปท./ผูน้ าชุมชน/วัด/สตรี
เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนา
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
กิจกรรม/คาถาม
• ดูวดี ีโอ 3 เรื่อง แล้งบอกว่ า การดาเนินการของแต่ ละคนหรือชุ มชนใน
วีดีโอมีความสอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่ างไรบ้ าง?
• หากการพัฒนาประเทศมีจุดมุ่งหมายเพือ่ ให้ เกิดความยัง่ ยืนในด้ านอาหาร
ด้ านเศรษฐกิจ ด้ านสั งคม และด้ านสิ่ งแวดล้อม ในระดับต่ าง ๆ ทั้ง
ระดับครอบครัว ระดับชุ มชน และระดับประเทศ อยากทราบว่ า
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจะสามารถช่ วยให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์ ได้
อย่ างไร?
130