FTA บนถนนการเมืองใหม่

Download Report

Transcript FTA บนถนนการเมืองใหม่

สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง
“FTA บนถนนการเมืองใหม่: ไหลลืน
่ ลืน
่ ล้ม
หรือล้มลุกคลุกคลาน”
ภายใต้ “โครงการเสริมสร้างความรูค
้ วามเข้าใจ
รองร ับกระแสโลกาภิว ัตน์และการเปิ ดเสรีการค้า”
ั อ ัครเศรณี
โดย ดร. ณรงค์ชย
ั ส
ทีป
่ รึกษากิตติมศกดิ
์ ถาบ ันวิจ ัยนโยบายเศรษฐกิจการคล ัง
ว ันจ ันทร์ท ี่ 12 พฤศจิกายน 2550
ณ โรงแรมพูลแมนคิงเพาเวอร์กรุงเทพฯ ถนนศรีอยุธยา กทม.
การนาเสนอ
ภาพรวมการจัดทาความตกลงการค้ าเสรีทวิภาคีของไทย
 กรอบความตกลงที่เกิดขึน้ แล้ ว
แนวโน้ ม FTA ในวันข้ างหน้ า
บนถนนการเมืองใหม่ : กติกาภายใต้
รั ฐธรรมนูญใหม่
สรุปภาพรวมการจ ัดทา FTA
กรอบเวลาการลดภาษีภายใต้ AFTA
ิ ค้าอุตสาหกรรมและ
สน
เกษตรแปรรูป
ประเทศ
ิ ค้าเกษตรไม่แปรรูป
สน
ิ ค้าลดภาษี
สน
ิ ค้ายกเว้น
สน
ลดภาษี
ชว่ ั คราว
ิ ค้าลด
สน
ภาษี
ิ ค้ายกเว้น
สน
ลดภาษี
ชว่ ั คราว
ิ ค้าอ่อนไหว
สน
ิ เดิม
สมาชก
2536-2546*
2539-2546
2539-2546
2540-2546
2544-2553
เวียดนาม
2539-2549
2542-2549
2542-2549
2543-2549
2547-2556
ลาวและพม่า
2541-2551
2544-2551
2544-2551
2545-2551
2549-2558
ก ัมพูชา
2543-2553
2546-2553
2546-2553
2547-2553
2551-2560
ทีม่ า: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
* ปี ทีเ่ ริ่ มลด – ปี ที่อัตราภาษีเหลือ 0 -5%
สรุปภาพรวมการจ ัดทา FTA
กาหนดลดภาษีเหลือเป็นศูนย์ภายใต้กรอบ FTA ต่างๆ
ิ ค้า
สน
FTA
TAFTA
TNZCEP
ACFTA
JTEPA
TIFTA
(สิ นค้ า 82
รายการ)
ลดภาษีท ันที
ปกติ
อ่อนไหว
อ่อนไหวสูง
2548 (ม.ค.)
2553
2558
2563
2548 (ก.ค.)
2558
2563
2563
2548 (ก.ค.)
2553
2561 (0 -5%)
2558 (ลด 50%)
2550 (พ.ย.)
2555
2560
2565
2553*(กย.
2547)
2558*
2568*
-
*กาล ังอยูร่ ะหว่างเจรจา
กรอบความตกลง FTA
ไทย-ออสเตรเลีย: TAFTA มีผลบังคับใช้ 1 มกราคม 2548
ประเด็นสินค้ า: ทยอยยกเลิกภาษีใน 4 กลุ่มสินค้ า ได้ แก่
1.
สินค้ าปกติท่ ยี กเลิกภาษีศุลกากร 50% ของสินค้ าที่ไทยนาเข้ าจาก AUS เช่ น สินแร่
เชือ้ เพลิง เคมีภัณฑ์ หนังดิบและหนังฟอก เป็ นต้ น และ 83% ของฝ่ าย AUS เช่ น
เนือ้ สัตว์ ผลิตภัณฑ์ จากนม ธัญพืช ผัก ผลไม้ สินแร่ รถยนต์ และเฟอร์ นิเจอร์ เป็ นต้ น
2.
สิ น ค้ า ปกติท่ ี จ ะทยอยลดภาษี ใ ห้ เ ป็ น 0 ภายใน 5 ปี ของฝ่ ายไทย เช่ น ผั ก ผลไม้
พลาสติก กระดาษ และเครื่ องจักร เป็ นต้ น และฝ่ าย AUS เช่ น ทูน่ากระป๋อง รองเท้ า
และชิน้ ส่ วนยานยนต์ เป็ นต้ น
3.
4.
สินค้ าอ่ อนไหวที่มีกาหนดการลดอัตราภาษีภายใน 10 ปี ของฝ่ ายไทย เช่ น นมและ
ครีม นมข้ น เครื่องในสัตว์ มันฝรั่ง และนา้ ตาล เป็ นต้ น ฝ่ าย AUS เช่ น เสือ้ ผ้ าสาเร็จรู ป
และพลาสติก เป็ นต้ น
สินค้ าอ่ อนไหวสูง ได้ แก่ สินค้ าเกษตร 8 รายการจาก 22 รายการที่ผูกพันใน WTO เช่ น
นม มันฝรั่งสด กาแฟ ชา ข้ าวโพด และนา้ ตาล เป็ นต้ น ซึ่งกาหนดเพิ่มโควต้ านาเข้ าใน
แต่ ละปี 5% หรือ 10% และยกเลิกโควต้ าภายใน 15 หรือ 20 ปี
กรอบความตกลง FTA
ไทย-ออสเตรเลีย: TAFTA มีผลบังคับใช้ 1 มกราคม 2548 (ต่ อ)
ประเด็นภาคบริการและการลงทุน
ฝ่ ายไทย
เปิ ดตลาดแตกต่ างตามอุตสาหกรรม
 เน้ นการลงทุนขนาดใหญ่
 อนุญาตให้ นักธุรกิจ AUS เข้ ามาทางานในไทยได้ เฉพาะตาแหน่ งบริหาร ผู้จัดการ
และผู้เชี่ยวชาญ ภายใต้ สัญญาจ้ างไม่ เกิน 1 ปี แต่ ต่ออายุได้ ถงึ 5 ปี
ฝ่ ายออสเตรเลีย
=> อนุญาตให้ ไทยเข้ าไปลงทุนในธุรกิจผลิตสินค้ าและบริการได้ 100% ยกเว้ นกิจการหนังสือพิมพ์
การกระจายเสียง การบินระหว่างประเทศ
=>หากมีการลงทุนเกิน 10 ล้ านดอลลาร์ ต้ องขออนุญาต
=>ให้ บคุ ลากรไทยเข้ าไปประกอบอาชีพบริการภายใต้ สญ
ั ญาจ้ างไม่เกิน 3 ปี
และต่ออายุได้ ถึง 10 ปี
=>มีโครงการ Working Holiday Scheme สาหรับนักศึกษาไทย
ความร่ วมมือในด้ านอื่นๆ ได้ แก่ SPS TBT MRA e-Commerce IPR Government Procurement Competition
Policy เป็ นต้ น
กรอบความตกลง FTA
ี ลนด์: TNZCEP มีผลบ ังค ับใช ้ 1 กรกฎาคม 2548
ไทย-นิวซแ
 ประเด็นสินค้ า: ทยอยยกเลิกภาษีใน 4 กลุ่มสินค้ า ได้ แก่
1.
ิ ค้าปกติทป
ิ ค้าทีไ่ ทยนาเข้าจาก NZ เช่น
สน
ี่ ลอดภาษีท ันที 54% ของสน
ั (เว้นปศุสตว์
ั ) โกโก้ เซรามิค เป็นต้น
ผลิตภ ัณฑ์จากสตว์
่ ทูนา
และ 79% ของฝ่าย NZ เชน
่ กระป๋อง รถปิ กอ ัพ เม็ ดพลาสติก เป็นต้น
2.
ิ ค้าปกติทภ
สน
ี่ าษีลดหลน
่ ั หลือ 0 ภายใน 5 ปี คิดเป็น 10% สาหร ับ 2 ฝ่าย
เ ช่ น ส ัต ว์ น ้ า ธ ัญ พื ช /ข อ ง ป รุ ง แ ต่ ง ผ ัก /ผ ล ไ ม้ เ ม ล็ ด พื ช ย า สู บ
เครือ
่ งใชไ้ ฟฟ้า ยานยนต์ เป็นต้น
3.
ั
ิ ค้าอ่อนไหวทีม
สน
่ ก
ี าหนดยกเลิกภาษีภายใน 10 ปี เช่น ผลิตภ ัณฑ์ปศุสตว์
นม* ม ันฝรง่ ั สด* ห ัวหอมและเมล็ด* สุรา สงิ่ พิมพ์ เป็นต้น
4.
ิ ค้าอ่อนไหวสูง ได้แก่ สน
ิ ค้าเกษตร 4 รายการจาก 22 รายการทีผ
สน
่ ก
ู พ ัน
ึ่ กาหนดยกเลิก
ใน WTO ได้แก่ นม ม ันฝรง่ ั ห ัวหอม และเมล็ ดห ัวหอม ซง
โควต้าภายใน 15 หรือ 20 ปี
* มีโควต้าของฝ่ายไทย
กรอบความตกลง FTA
ี ลนด์: TNZCEP มีผลบ ังค ับใช ้ 1 กรกฎาคม 2548 (ต่อ)
ไทย-นิวซแ
ประเด็นภาคบริการและการลงทุน
ฝ่ ายไทย
เปิ ดเสรี ก ารลงทุ น 100%
ในธุ ร กิ จ ผลิ ต บางประเภทที่ รั ฐ บาลส่ ง เสริ ม เช่ น ซอฟต์ แ วร์
อิเล็กทรอนิกส์ ชิน้ ส่ วนยานยนต์ เป็ นต้ น แต่ ต้องมีมูลค่ าลงทุนไม่ น้อยกว่ า 3 ล้ านบาท
เปิ ดรั บเฉพาะผู้บริหาร ผู้จัดการ และผู้เชี่ยวชาญ ภายใต้ สัญญาจ้ างไม่ เกิน 1 ปี แต่ ต่ออายุได้ ถึง
5 ปี โดยมีเงื่อนไขคล้ ายคลึงกับกรอบ TAFA
ฝ่ ายนิวซีแลนด์
อนุญาตให้ ไทยลงทุนในธุรกิจทุกประเภทได้ 100% ยกเว้ นประมง
เพิ่มเพดานขนาดการลงทุนที่ต้องขออนุญาตจาก 50 ล้ าน เป็ น 100 ล้ าน $NZ
สนับสนุนให้ แรงงานไทยเข้ าไปประกอบธุรกิจร้ านอาหารและสปามากขึน้
ประเด็นความร่ วมมืออื่นๆ ได้ แก่
SPS MRA E-commerce IPR Competition Policy และการพัฒนา S&T ในสาขาต่ างๆ
กรอบความตกลง FTA
อาเซียน-จีน: ACFTA มีผลบังคับใช้ 1 กรกฎาคม 2548
ประเด็นสินค้ า: แบ่ งเป็ น 2 กลุ่ม
1.
กลุ่มสินค้ าเร่ งลดภาษี (Early Harvest Program)
ครอบคลุมสินค้ าเกษตรทุกรายการ (เริ่มลดภาษีใน 1 มค. 2547)
ลดภาษีสินค้ าผักและผลไม้ (ไทย-จีน เหลือ 0 ภายใน 1 ตค. 2546)
2.
กลุ่มสินค้ าทั่วไป ได้ แก่
สินค้ าปกติ (Normal Track) ลดอัตราภาษีเป็ น 0 ภายใน 1 มค. 2553
สินค้ าอ่ อนไหว (Sensitive Track) คาดว่ าจะลดภาษีเหลือ 0 ได้ เร็วที่สุดภายในปี
2561 เช่ น เหล็ก เหล็กกล้ า เครื่องใช้ ไฟฟ้าและเครื่องจักร ยางรถยนต์ รองเท้ า
กระจก นา้ ผลไม้ เป็ นต้ น
กรอบความตกลง FTA
ี น-จีน: ACFTA มีผลบ ังค ับใช ้ 1 กรกฎาคม 2548 (ต่อ)
อาเซย
ประเด็นภาคบริการและการลงทุน
ี น
ฝ่ายอาเซย
ิ อาเซย
ี นรวมทงไทยเสนอผู
ประเทศสมาชก
ั้
กพ ันเปิ ดตลาดในระด ับสูงกว่า
ี น โดย
ทีเ่ ปิ ดตลาดภายใต้ WTO แต่ตา
่ กว่าทีเ่ ปิ ดตลาดให้ก ันเองในอาเซย
ี การศก
ึ ษา บริการ
ครอบคลุมกิจกรรมบริการบางประเภทในสาขาวิชาชพ
่ ทางเรือ
ด้านสุขภาพ การท่องเทีย
่ ว และการขนสง
ฝ่ายจีน
จีนเสนอเปิ ดตลาดเพิม
่ เติมจากข้อผูกพ ันภายใต้ WTO โดยครอบคลุม
กิจ กรรมในสาขาบริก ารด้า นคอมพิว เตอร์ บริก ารด้า นอส งั หาริม ทร พ
ั ย์
่ สน
ิ ค้าทางถนน และบริการธุรกิจอืน
บริการขนสง
่ ๆ
ประเด็นความร่วมมืออืน
่ ๆ ได้แก่
จีน และอาเซ ีย น รวมท งั้ ไทยได้ต กลงจ ด
ั ต งั้ ศู น ย์อ านวยความสะดวก และส่ง เสริม
การค้า และการลงทุน ประสานความร่ว มมือโดยเฉพาะในด้า นพิธก
ี ารศุลกากร IPR
่ เกษตรกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ การพ ัฒนาทร ัพยากร
MRA และรายสาขา เชน
มนุษย์ และการพ ัฒนาลุม
่ แม่นา้ โขง
กรอบความตกลง FTA
ไทย-อินเดีย: TIFTA

ประเด็นสินค้ า: แบ่ งเป็ น 3 กลุ่ม
1.
กลุ่มสินค้ า 82 รายการในกรอบ Early Harvest Scheme: EHS (กันยายน 2547-2549)
เช่ น เงาะ ลาใย มัง คุ ด ทุ เรี ยน องุ่ น ข้ าวสาลี อาหารทะเลกระป๋อง อัญมณี แ ละ
เครื่องประดับ เม็ดพลาสติก เครื่องปรับอากาศและส่ วนประกอบ เป็ นต้ น
2.
กลุ่มสินค้ าปกติ คาดว่ าจะสามารถยกเลิกกาแพงการค้ าได้ อย่ างน้ อย 80% ภายในปี
2553 (ยังอยู่ระหว่ างการเจรจา)
3.
สินค้ าอ่ อนไหว ไทยเสนอให้ ลดภาษีเหลือ 5% ภายในปี 2553 แต่ ฝ่ายอินเดียเสนอ
ให้ ลดเหลือ 5% ภายในปี 2558 และเป็ น 0 ภายในปี 2563 (ยังอยู่ระหว่ างการเจรจา)
กรอบความตกลง FTA
ไทย-อินเดีย: TIFTA (ต่อ)
ประเด็นภาคบริการและการลงทุน

ไทยและอินเดียตกลงใช้ แนวทาง Positive List ทยอยเปิ ดเสรี ภาคบริ การทัง้ 4
Mode ตามพืน้ ฐานของความตกลงด้ านการค้ าบริการภายใต้ GATS เป้าหมาย
หลัก คือ อุตสาหกรรมที่ทงั ้ คู่มีความพร้ อมสูง เช่ น ภาคการท่ องเที่ยว ภาคขนส่ ง
และคมนาคม ภาคการก่ อสร้ าง ภาคการเงิน และภาคบริการวิชาชีพ เป็ นต้ น

ประเด็นการลงทุน ทัง้ 2 ฝ่ ายตกลงแลกเปลี่ยนข้ อมูลเกี่ยวกับนโยบายและกฏ
ระเบียบด้ านการลงทุน
ประเด็นความร่ วมมืออื่นๆ ได้ แก่
ตกลงความร่ วมมือใน 11 สาขา เช่ น เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศ การประมง การ
ก่ อสร้ าง เป็ นต้ น การอานวยความสะดวกด้ านพิธีการศุลกากร การจัดทา MRA SPS เป็ นต้ น
กรอบความตกลง FTA
ไทย-ญี่ปุ่น: JTEPA มีผลบังคับใช้ 1 พฤศจิกายน 2550
ประเด็นสินค้ า: ทยอยยกเลิกภาษีใน 4 กลุ่มสินค้ า ได้ แก่
1.
2.
2.
3.
สินค้ าปกติท่ ยี กเลิกภาษีทันที 90% สาหรั บญี่ปุ่น ไม่ ถึงครึ่งหนึ่งของไทย เช่ น ยาสูบ
เชื่อเพลิงจากแร่ ฝ้าย/เส้ นใยประดิษฐ์ สิ่งทอ/เสือ้ ผ้ า เป็ นต้ น
สินค้ าปกติท่ ที ยอยลดภาษีเหลือ 0 ภายใน 5 ปี เช่ น เวชภัณฑ์ สบู่ กระดาษ เซรามิก
สินแร่ และผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์ อเิ ล็กทรอนิกส์ เป็ นต้ น
สินค้ าอ่ อนไหวที่มีกาหนดการลดอัตราภาษีภายใน 10 ปี เช่ น ปู ผลิตภัณฑ์ ปศุสัตว์
ธัญพืช เมล็ดพืช ยางและผลิตภัณฑ์ เป็ นต้ น
สินค้ าอ่ อนไหวสูง ได้ แก่ สินค้ าเกษตรที่ใช้ กาแพงภาษีและโควต้ า ภายใน 15 หรือ 20
ปี เช่ น สับปะรด เนือ้ ไก่ แกลลัสโดเมสติกัส เป็ นต้ น
กรอบความตกลง FTA
ไทย-ญี่ปุ่น: JTEPA มีผลบังคับใช้ 1 พฤศจิกายน 2550 (ต่ อ)
ประเด็นการเปิ ดเสรี ภาคบริการและการลงทุน
ฝ่ ายไทย
 เปิ ดเสรี การลงทุนภาคบริ การในสาขาที่มีความพร้ อมเป็ นลาดับแรก (Positive List) โดยในทุก
อุตสาหกรรมเปิ ดให้ ชาวญี่ปุ่นเข้ ามาถือหุ้นได้ เกินร้ อยละ 50 ได้ แก่ สาขาโฆษณา ขนส่ ง ซ่ อมบารุ ง
สินค้ า โรงแรม ค้ าปลีก/ส่ ง และที่ปรึกษา
ฝ่ ายญี่ปุ่น
อนุญาตให้ ไทยเข้ าไปลงทุนได้ เต็มที่ยกเว้ น Negative List ได้ แก่ การเกษตรและประมง ป่ าไม้
และเหมืองแร่ เป็ นต้ น
ประเด็นความร่ วมมืออื่นๆ
 7 โครงการ ได้ แก่ ครั ว ไทยสู่ โ ลก โครงการอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน โครงการเศรษฐกิจ สร้ างมู ล ค่ า
โครงการหุ้ น ส่ วนภาครั ฐ และเอกชน โครงการอุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและเครื่ องนุ่ งหุ่ ม โครงการ
อุตสาหกรรมเหล็ก และโครงการสถาบันพัฒนาทรั พยากรมนุษย์ ในอุตสาหกรรมยานยนต์
 อานวยความสะดวกในเรื่ อง IPR Government Procurement Competition Policy Custom
Procedure e-Commerce MRA การลดอุปสรรค TBT และ SPS เป็ นต้ น
FTA บนถนนการเมืองใหม่
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย ปี 2550: มาตรา 190

หนังสือสัญญาใดมีผลกระทบต่อความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ หรื อสังคมของประเทศ
อย่างกว้ างขวาง หรื อมีผลผูกพันด้ านการค้ า การลงทุน หรื องบประมาณของ
ประเทศอย่างมีนยั สาคัญ ต้ องได้ รับความเห็นชอบของรั ฐสภา

ก่อนดาเนินการเพื่อทาหนังสือสัญญากับนานาประเทศ หรื อ องค์การระหว่าง
ประเทศ ครม. ต้ องให้ ข้อมูล และจัดให้ มีการรั บฟั งความคิดเห็นของ
ประชาชน และต้ องชีแ้ จงต่ อรั ฐสภา และให้ ครม. เสนอกรอบการเจรจาต่ อ
รั ฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบ
FTA บนถนนการเมืองใหม่
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย ปี 2550: มาตรา 190

เมื่อลงนามก่อนแสดงเจตนาให้ มีผลผูกพัน ครม. ต้ องให้ ประชาชนสามารถ
เข้ าถึงรายละเอียดของหนังสือสัญญา

ให้ มีกฏหมายว่ าด้ วยการกาหนดขัน้ ตอนและวิธีการจัดทาหนังสือสัญญาที่
มีผลกระทบต่ อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม หรื อมีผลผูกพันด้ าน
การค้ าหรื อการลงทุนอย่ างมีนัยสาคัญ รวมทัง้ การแก้ ไขเยียวยาผู้ได้ รับ
ผลกระทบจากการปฏิบัตติ ามหนังสือสัญญาดังกล่ าว
FTA ในวันข้ างหน้ า: ไหลลื่น ลื่นล้ ม หรือล้ มลุก คลุกคลาน??