การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ ASEAN Economic Community (AEC)2015

Download Report

Transcript การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ ASEAN Economic Community (AEC)2015

เมืองน่ าอย่ ู
ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร.วิจิตร ศรีสุพรรณ
12 กันยายน 2555
Healthy Cities
 creating and improving physical and social
environment
 expanding community resources to support each
other in performing all function of life and
developing their maximum potential
 process trying to achieve better physical and
social environment which support and promote
better health and QoL for residents
Regional guidelines for Developing a healthy project.
WHO Regional Office for WPRO March 2000.
 Promote the role of public health nurse in
improving QoL
แผนภูมปิ ัจจัยทีก่ ่ อให้ เกิดการตาย
ก่ อนวัยอันสมควร USA
ที่มา : Concepts of Physical Fitness with Laboratories
(1977) อ้ างใน Healthy Cities กรมอนามัย
1 ) บทบาทพยาบาลในการส่ งเสริมสุ ขภาพและ
การสาธารณสุ ขในระดับประเทศ และนานาชาติ
ให้ ประชานมีสุขภาพดี
One Vision, One Identity, One Community,
One Health
1. สนับสนุนการผลิตพยาบาลให้ มจี านวนพอเพียงสาหรับ
ประเทศไทย กระจายให้ ทวั่ ถึง
8,000
10,000 คน / ปี
มีมาตรการดึงดูดคนไว้ ในระบบ
2. การควบคุมคุณภาพการศึกษาพยาบาล
 หลักสู ตร – Global – local
- 4 dimensions – (1O 2O 3O levels)
- across life span, all settings
- all health status, healthy people, family, community
- general ed – professional ed.
 อาจารย์ คุณวุฒิ ประสบการณ์ อัตราส่ วนนักศึกษา
 Lab สิ่ งสนับสนุนการเรียน สื่ อ
- แหล่ งฝึ ก สมรรถนะ จริยธรรม
- ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
- การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
3. การศึกษาหลังปริญญา เฉพาะทาง ปริญญาโท ปริญญาเอก
วุฒิบัตรสาขาต่ างๆ
4. การบริการสุ ขภาพ ทัว่ ถึงเท่ าเทียม ไม่ เลือกปฎิบัติ
Medical Hub พัฒนาคุณภาพ
5. การวิจัย สร้ างองค์ ความรู้ และการพัฒนา
2) บทบาทและการเตรียมความพร้ อม
เข้ าสู่ ประชาคมอาเซียน 2558
ข้ อตกลงด้ านการบริการของ AC (ASEAN
Framework Agreement on Service (AFAS))
Mode 1 สามารถให้ บริการข้ ามพรมแดนของประเทศได้
- ต้ องไม่ มีข้อจากัดใดๆ ทั้งสิ้น
Mode 2 การใช้ บริการในต่ างประเทศ
- ต้ องไม่ มีข้อจากัดใดๆ ทั้งสิ้น
Mode 3 การลงทุนจัดตั้งธุรกิจในต่ างประเทศ
ถือหุ้นได้ อย่ างน้ อยร้ อยละ 70 ในสาขาเร่ งรัด
(โทรคมนาคม คอมพิวเตอร์ สุ ขภาพ และท่ องเทีย่ ว) และเข้ ามา
ถือหุ้นได้ อย่ างน้ อยร้ อยละ 51 ในสาขาบริการอืน่ ๆ ต้ องยกเลิก
กฎระเบียบ ทีเ่ ป็ นอุปสรรคต่ อการเข้ าสู่ ตลาดบริการให้ เหลือไม่ เกิน
1 มาตรการ
Mode 4 การเคลือ่ นย้ ายนักวิชาชีพ และแรงงานฝี มือหรือ
ผู้มีความสามารถพิเศษได้ อย่ างเสรี Mode นี้ ประเทศไทย
ยังไม่ ผูกพันจนกว่ า AC จะมีการกาหนดเป้าหมายการลด/ ยกเลิก
ข้ อจากัดเสร็จสิ้น ประสบการณ์ ที่มีมา AFAS ระบุให้ ประเทศสมาชิก
ต้ องให้ การยอมรับผลการศึกษาหรือคุณสมบัตทิ ตี่ ้ องมี และใบอนุญาต
ประกอบวิชาขีพ วุฒบิ ัตรเพือ่ ขอนุญาตสาหรับการทางาน
มีการจัดทาข้ อตกลงยอมรั บร่ วม (Mutual Recognition
Arrangement : MRA) ในคุณสมบัตินักวิชาชีพของ AC เพือ่
สนับสนุนการเคลื่อนย้ ายอย่ างเสรีของบุคลากรวิชาชีพของ AC
เพือ่ สนับสนุนการเคลือ่ นย้ ายอย่ างเสรีของบุคลากรวิชาชีพสาขา
ต่ างๆ ใน AC (Professionals/ Skilled labor/ Talents) ขณะนี้
มี MRA 7 สาขาวิชาชี พ ได้ แก่ วิศวกรรมศาสตร์ (2547)
พยาบาลศาสตร์ (2549) วิชาชีพแพทย์ และทันตแพทย์ (2552)
สถาปัตยกรรม นักสารวจและนักบัญชี
ข้ อตกลงยอมรับร่ วมในบริการพยาบาลและ
การผดุงครรภ์ – MRA
ลงนามเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2549
1. มีการเคลือ่ นย้ ายเฉพาะผู้มีคุณสมบัตติ ามมาตรฐานทีก่ าหนดไว้
ในข้ อตกลงยอมรับร่ วม MRA - Nursing Service (เริ่มในปี
ค.ศ. 2015)
2. กาหนดขึน้ เพือ่ สร้ างความเข้ มแข็ง/ศักยภาพของผู้ประกอบ
วิชาชีพ โดยส่ งเสริมการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ข้อมูล ความรู้
การแลกเปลีย่ นผู้เชี่ยวชาญและ/หรือความเชี่ยวชาญต่ างๆ
ประสบการณ์ และ Best practice ตามความต้ องการของ
ประเทศสมาชิก
3. อานวยความสะดวกในการเคลือ่ นย้ ายพยาบาลวิชาชีพ ภายในประชาคม
อาเซียน
4. แลกเปลีย่ นข้ อมูลทัว่ ไปและผู้เชี่ยวชาญ
5. ส่ งเสริมการนา Best practice ไปใช้
6. การพัฒนาการฝึ กอบรมพยาบาลวิชาชีพ
7. คาจากัดความ พยาบาลหมายถึงผู้ทสี่ าเร็จการศึกษาระดับวิชาชีพที่
สาเร็จการศึกษาจากสถาบันทีไ่ ด้ รับการรับรอง และขึน้ ทะเบียนและหรือ
ได้ รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพของประเทศนั้นๆ จากองคืกรทีม่ ี
อานาจรับรองเกีย่ วกับการศึกษาพยาบาล และการปฎิบัตกิ ารพยาบาล
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล (Nursing Regulation Authority –
NRA) ของประเทศ ทั้งนีไ้ ม่ รวมพยาบาลเทคนิค
8. การปฎิบัตกิ ารพยาบาล หมายถึง การให้ บริการการพยาบาล
โดยพยาบาลวิชาชีพซึ่งครอบคลุมด้ านการส่ งเสริมสุ ขภาพ
การป้องกันโรค การรักษาพยาบาลผู้เจ็บป่ วย และการฟื้ นฟู
สภาพ ซึ่งอาจรวมการศึกษาและการวิจยั
9. การทา ASEAN Licenses จะยังไม่ พจิ ารณาในขณะนี้
10. เป้าหมายหลักของ MRA ในระยยะแรก คือ การพัฒนาระบบ
การศึกษาและบริการให้ มีคุณภาพใกล้ เคียงกัน
บทบาทความรับผิดชอบของวิชาชีพการพยาบาล :
การเตรียมความพร้ อม การวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดทีต่ ้ องพัฒนา
ภาวะคุกคามและโอกาศขององค์ กรหลักด้ านการพยาบาล
ได้ แก่
1. สภาการพยาบาล สมาคมพยาบาล และสมาคมพยาบาลสาขาต่ างๆ
2. สถาบันการศึกษาพยาบาล
3. องค์ กรบริหารและบริการพยาบาลและการผดุงครรภ์
4. กระทรวงสาธารณสุ ข กระทรวงศึกษาธิการ และรัฐบาล
สภาการพยาบาล
1. เป็ นผู้แทนวิชาชีพในการประชุมระดับนานาชาติ ระดับชาติ จัดทา
ข้ อเสนอต่ อรัฐบาล
2. ทบทวน ปรับปรุงกฎระเบียบ เพือ่ สนับสนุนการเคลือ่ นย้ ายพยาบาล
ใน AC
3. กาหนดขั้นตอนในการประเมิน และการให้ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
การประเมินคุณสมบัตขิ องผู้สมัครเข้ ามาทางานในประเทศ
การพิจารณาให้ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพชั่วคราว
4. สนับสนุนการทาวิจัยเกีย่ วกับ AC และผลกระทบต่ อวิชาชีพการ
พยาบาลและการผดุงครรภ์
5. เผยแพร่ ข้อมูลข่ าวสาร รายงานวิจัยเกีย่ วกับ AC ที่เกีย่ วข้ องกับวิชาชีพ
สถาบันการศึกษา
1. สนับสนุนสถาบันการศึกษาทีส่ ภาการพยาบาลรับรอง รับนักศึกษา
จากประเทศสมาชิก AC และเพือ่ นบ้ านอืน่ ที่ยงั ขาดแคลนพยาบาล
ตามโครงการความร่ วมมือ หรือการร้ องขอระดับรัฐบาล หรือ
สถาบันการศึกษา ทั้งนีอ้ าจเป็ นหลักสู ตรปกติ หรือหลักสู ตร
นานาชาติ และให้ สถาบันการศึกษาทีม่ ีโครงการรับนักศึกษาต้ อง
รายงานข้ อมูล และจานวนรับให้ กบั สภาการพยาบาลทุกปี การศึกษา
2. ส่ งเสริมการผลิตพยาบาลเพิม่ เพือ่ ให้ เพียงพอกับความต้ องการของ
ประเทศโดยเฉพาะอย่ างยิง่ ต้ องมีอาจารย์ ผู้สอนทีม่ ีคุณวุฒิ
ประสบการณ์ และจานวนตามเกณฑ์
3. สนับสนุนให้ มกี ารจัดทาโครงการเพือ่ ผลิตอาจารย์ พยาบาล
ทดแทนอาจารย์ ทกี่ าลังจะเกษียณอายุราชการ หรือเกษียณอายุ
การทางานใน 10 ปี ข้ างหน้ า เพือ่ ให้ มีอาจารย์ ทมี่ ีคุณวุฒิ
ประสบการณ์ และจานวนเพียงพอสาหรับการผลิตพยาบาลใน
อนาคตให้ เพียงพอกับความต้ องการของประเทศขยายเวลา
การเกษียณอายุราชการ
4. สนับสนุนให้ มโี ครงการแลกเปลีย่ นนักศึกษาพยาบาลกับ
ประเทศสมาชิก AC สนับสนุนให้ มกี ารจัดตั้งสมาพันธ์ นักศึกษา
พยาบาลของ AC
บริการการพยาบาล
สนับสนุนการเป็ น Medical Hub ของประเทศซึ่งทาอยู่แล้ วให้ มจี านวน
พยาบาล และผู้เชี่ยวชาญการพยาบาลเฉพาะทางทีเ่ กีย่ วข้ องอย่ างเพียงพอตาม
มาตรฐานวิชาขีพและสากล
2. หน่ วยงาน / องค์ กร ได้ รับการพัฒนา การได้ รับการรับรองคุณภาพตาม
มาตรฐานจาก สรพ. สภาการพยาบาล JCI หรือองค์ กรอืน่ ๆ
3. พัฒนาพยาบาลและบุคลากรอืน่ ให้ มคี วามสามารถด้ านการสื่ อสาร
โดยภาษาอังกฤษจะเป็ นภาษากลาง และมีความสามารถในด้ านภาษาท้ องถิ่น
มีความไวต่ อวัฒนธรรม และความต้ องการด้ านจิตใจ สั งคม และจิตวิญญาณ
ของผู้รับบริการ
4. เป้ าหมายสาคัญของการบริการพยาบาล คือ ให้ ผ้ ูเจ็บป่ วยได้ รับบริการที่มี
คุณภาพมาตรฐานอย่ างมี Safety Comfort Support Coaching และ
Satisfaction
1.
รัฐบาล
1. ประเทศไทยมีศักยภาพในการจัดการศึกษาพยาบาลสู งสุ ดใน AC
ทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก รวมทั้งการ
ฝึ กอบรมเฉพาะทางด้ านการพยาบาล รัฐบาลให้ การสนับสนุนให้
ประเทศสมาชิก AC เข้ ามาศึกษาเล่ าเรียนในประเทศไทย
2. สนับสนุนให้ มกี ารเพิม่ จานวนอาจารย์ พยาบาลทีม่ ีคุณวุฒิ
ประสบการณ์ อย่ างเพียงพอตามเกณฑ์ มาตรฐานการศึกษา
ระดับอุดมศึกษา และธารงรักษาความเป็ นผู้นาในภูมิภาคนี้
3. สนับสนุนโครงการผลิตพยาบาลเพิม่ ให้ มคี วามเพียงพออย่ าง
ต่ อเนื่อง และผลิตผู้เชี่ยวชาญการพยาบาลเฉพาะสาขา
4. จัดสรรให้ มีข้าราชการสาหรับพยาบาลและมีการกระจาย
อย่ างทัว่ ถึงทัว่ ประเทศเพือ่ ดึงดูดให้ มีพยาบาลเพียงพอกับ
การให้ บริการในประเทศ
5. ให้ มีการติดตามประเมินผลการดาเนินงานตาม ข้ อ 1 -4
เพือ่ การปรับปรุ งและทบวนการสนับสนุนให้ เหมาะสม
สรุป
ด้ านบริการ
ความท้ าทายทีเ่ กิดขึน้ กับวิชาชีพเมื่อก้าวสู่ อาเซียน ซึ่งจะมีความต้ องการ
ด้ านการรักษาพยาบาลมากขึน้ จากการเดินทางมารับการรักษาอันเนื่องมาจาก
คุณภาพและค่ าใช้ จ่ายทีไ่ ม่ สูงเกินไป ประเทศไทยจึงเป็ นศูนย์ กลางของการแพทย์
(Medical Hub) ทีจ่ ะต้ องมีพยาบาลเพียงพอและเตรียมผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาล
เฉพาะทางสาขาต่ างๆ ทีส่ อดคล้ องกับการบริการ นอกจากนั้นยังมีผู้รับบริการที่
เพิม่ ขึน้ จากแรงงานต่ างชาติและครอบครัว อีกประมาณ 5 ล้ านคน จึงต้ องเร่ งการ
ผลิตพยาบาลให้ เพียงพอและสามารถตอบสนองความต้ องการของผู้รับบริการที่
เพิม่ ขึน้ ผู้ให้ บริการยังต้ องพัฒนาความสามารถในการสื่ อสารทั้งภาษาอังกฤษ และ
ภาษาท้ องถิ่น มีการกระจายพยาบาลให้ ทวั่ ถึงโดยเฉพาะอย่ างยิง่ ในสถานพยาบาลทั้ง
ภาครัฐ ภาคเอกชน และบริเวณชายแดน เพือ่ ให้ บริการอย่ างทัว่ ถึงและเท่ าเทียมมี
มาตรฐาน พัฒนาความรู้ ความสามารถ มีการพัฒนาทักษะเฉพาะทาง
อย่ างพอเพียง
ด้ านการศึกษา
ประเทศไทยมีศักยภาพที่จะเป็ น Nursing Education
Hub ที่มีศักยภาพที่จะรับนักศึกษาเพือ่ ผลิตพยาบาลวิชาชีพ
และอาจารย์ พยาบาลทีม่ ีคุณภาพ คุณวุฒิ และประสบการณ์ ที่
เพียงพอต่ อการเป็ นอาจารย์ และพยาบาลวิชาชีพสาหรับ
ประเทศสมาชิก AC
สภาการพยาบาล ในฐานะองค์ กรทีเ่ ป็ น Nursing Regulatory
Authority จะทาหน้ าที่ในการตรวจสอบ ประเมินการรับรองและการ
ให้ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพแก่ ผู้ประสงค์ จะเข้ ามาประกอบวิชาชีพ
การพยาบาลในประเทศไทย และเป็ นผู้แทนผู้ประกอบวิชาชีพใน
ประเทศไทยเข้ าร่ วมประชุมและจัดทาข้ อเสนอทั้งในระดับชาติและ
นานาชาติ รัฐบาลไม่ ควรมีนโยบายไปดึงพยาบาลจากประเทศที่ยัง
ขาดแคลนพยาบาลมาทางานในประเทศของตน ทั้งนีเ้ ป็ นไปตาม
Code of International Recruitment จริยธรรมในการรับพยาบาล
จากต่ างประเทศเข้ าทางานในประเทศ รัฐบาลจะต้ องมีนโยบายที่จะ
ดึงดูดพยาบาลให้ ทางานในประเทศเพือ่ ป้องกันการขาดแคลน
_______
________________________________________________________________
______________________