ภาพนิ่ง 1

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1

ประเภทของระบบสารสนเทศ
1
ประเภทของระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศจาแนก
ตามโครงสร้างขององค์กร
•ระบบสารสนเทศของหน่วยงาน
ระบบสารสนเทศจาแนก
ตามหน้าที่หลักขององค์กร
•ระบบสารสนเทศด้านบัญชี
Departmental IS
•ระบบสารสนเทศด้านการเงิน
•ระบบสารสนเทศขององค์กร
•ระบบสารสนเทศด้านการผลิต
Enterprise IS
•ระบบสารสนเทศระหว่างองค์กร •ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากร
มนุษย์
Interorganizational IS
ระบบสารสนเทศจาแนก
ตามการสนับสนุน
•TPS
•MRS
•DSS
EIS
GDSS
GIS
ปัญญาประดิษฐ์
•Expert System
•Neural Networks
•Genetic Algorithm
2
ระบบสารสนเทศจาแนกตามโครงสร้ างองค์ กร
• ระบบสารสนเทศของหน่วยงานย่อย(Departmental IS)
• ระบบสารสนเทศขององค์กร(Enterprise IS)
• ระบบสารสนเทศระหว่างองค์กร(Interorganizational IS)
3
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศของหน่วยงานย่อย
Departmental IS
• เป็ นระบบสารสนเทศที่ออกแบบมาสาหรับหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง
ขององค์กร โดยแต่ละหน่วยอาจมีโปรแกรมประยุกต์ใช้งานในงานใด
งานหนึ่งของตนโดยเฉพาะ เช่น ฝ่ ายบุคลากรอาจมีโปรแกรมสาหรับ
คัดเลือกบุคคลหรื อติดตามผลการโยกย้ายงานของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน
ซึ่งโปรแกรมทั้งหมดของระบบอาจเรี ยกว่า
Human resources information system
4
ระบบสารสนเทศขององค์กร
Enterprise IS
• ระบบสารสนเทศของหน่วยงานี่มีการเชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่น ทั้งหมด
ภายในองค์กร หรื ออีกนัยหนึ่งก็คือองค์กรนั้นมีระบบสารสนเทศที่
เชื่อมโยงทั้งองค์กร
5
ระบบสารสนเทศระหว่างองค์กร
Inter organizational IS
• เป็ นระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงกับองค์กรอื่นๆ ภายนอกตั้งแต่ 2 องค์กร
ขึ้นไป เพื่อช่วยให้การติดต่อสื่ อสารหรื อการประสานงานร่ วมมือมี
ประสิ ทธิภาพมากขึ้น ตลอดจนถึงใช้เพื่อการวางแผน ออกแบบ พัฒนา
การผลิต และการส่ งสิ นค้าและบริ การ
• ปัจจุบนั สารสนเทศระหว่างองค์กรนี้มีขอบข่ายเชื่อมโยงเป็ น GIS เช่น
ระบบการจองตัว๋ เครื่ องบิน
6
การจาแนกตามหน้ าทีข่ ององค์ กร
• ระบบสารสนเทศด้านบัญชี(Accounting Information System)
• ระบบสารสนเทศด้านการเงิน(Finance Information System)
• ระบบสารสนเทศด้านการผลิต(Manufacturing Information
System)
• ระบบสารสนเทศด้านการตลาด(Marketing Information System)
• ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรมนุษย์(Human Resource
Management Information System)
7
การจาแนกตามการให้ การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ
• ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ(Transaction
Processing System-TPS)
• ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ(Management
Reporting System-MRS)
• ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสิ นใจ(Decision Support
Systems-DSS)
8
ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ
Transaction Processing Systems-TPS
• ระบบสารสนเทศที่เน้นกระบวนการบันทึก ประมวลผลข้อมูลที่เกิดจาก
ธุรกรรมหรื อการปฏิบตั ิงานประจาหรื องานขั้นพื้นฐานขององค์กร เช่น
การซื้อขายสิ นค้า การบันทึกจานวนวัสดุคงคลัง
• จะต้องมีการบันทึกข้อมูลทันทีทุกครั้งที่มีการขายสิ นค้า ซึ่งจะเกี่ยวข้อง
กับข้อมูลลูกค้า จานวนของสิ นค้าที่ขายไป และการชาระเงิน
9
ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพือ่ การจัดการ
หน้ าที่
• ช่วยในการตัดสิ นใจในงานประจาของผูบ้ ริ หารระดับกลาง
• ช่วยในการทารายงาน
• ช่วยในการตัดสิ นใจที่เป็ นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นบ่อยๆ และมี
โครงสร้างแน่นอน เช่น การอนุมตั ิสินเชื่อให้กบั ลูกค้า
10
ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพือ่ การจัดการ
ลักษณะ
ช่วยในการจัดทารายงานซึ่งมีรูปแบบที่กาหนดไว้เป็ นมาตรฐานตายตัว
ใช้ขอ้ มูลภายในที่เก็บไว้ในฐานข้อมูล
ช่วยในการวางแผนงานประจา และควบคุมการทางาน
ช่วยในการตัดสิ นใจที่เกิดขึ้นประจาหรื อเกิดขึ้นบ่อยๆ
มีขอ้ มูลในอดีต ปัจจุบนั และวิเคราะห์แนวโน้มในอนาคต
ติดตามการดาเนินงานภายในหน่วยงานเปรี ยบเทียบผลการดาเนินงานกับ
เป้ าหมายและส่ งสัญญาณหากมีจุดใดที่ตอ้ งการปรับปรุ งแก้ไข
11
ระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการตัดสิ นใจ
Decision Support Systems-DSS
ลักษณะของ DSS
1. ใช้สาหรับประกอบการตัดสิ นใจที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่มี
ลักษณะเป็ นแบบไม่มีโครงสร้าง(unstructured situations) โดย
จะมีการนาวิจารณญาณของมนุษย์กบั ข้อมูลจากคอมพิวเตอร์
มาใช้ประกอบในการตัดสิ นใจ
2. ระบบ DSS ช่วยในการตอบสนองความต้องการที่ไม่ได้
คาดการณ์มาก่อน
3. ช่วยในการตัดสิ นในที่ตอ้ งความรวดเร็ วสูง
12
ปัญญาประดิษฐ์ และระบบผู้เชี่ยวชาญ
ปัญญาประดิษฐ์
- ประมวลสัญลักษณ์และ
ตัวเลข
- ไม่ดาเนินตามขั้นตอนทาง
คณิ ตศาสตร์
- ให้ความสาคัญกับการรับรู้
แบบแผน
ปัญญาประดิษฐ์
VS
ระบบสนเทศทั่วไป
ระบบสารสนเทศทั่วไป
- ประมวลทางคณิ ตสาสตร์
- วิเคราะห์และแก้ปัญหา
ตามขั้นตอนโดยใช้หลัก
คณิ ตศาสตร์
13
ประเภทของ AI
การประมวลภาษาธรรมชาติ(Natural Language Processing) เป็ นการ
พัฒนาใช้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าใจภาษาที่มนุษย์ใช้ประจาวัน
ระบบการมองเห็น(Vision Systems) ถูกพัฒนาเพื่อลอกเลียนการมองเห็น
ของบุคคล
ระบบเครื อข่ายเส้นประสาท(Neural Network) เป็ นระบบคอมพิวเตอร์ที่
ถูกพัฒนาให้จาลองการทางานของเส้นประสาทสามารถสังเกต เรี ยนรู ้
การจดจา การทาซ้ า
หุ่นยนต์(Robotics) ซึ่งสามารถนามาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมต้องการ
ความเที่ยงตรงในการผลิตสิ นค้าจานวนมากหรื อใช้ในงานที่เสี่ ยง
14
ประเภทของ AI
Genetic Algorithms ที่ช่วยในการสร้างทางเลือกจานวนมากในการ
แก้ปัญหา
ระบบการเรี ยนรู ้(Learning Systems)เป็ นระบบที่ทาให้คอมพิวเตอร์
สามารถเรี ยนรู ้จากประสบการณ์โดยสามารถโต้ตอบหรื อมีปฏิกิริยากับ
สถานการณ์แวดล้อมได้
15
ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ
ทาหน้าที่เป็ นที่ปรึ กษาแก่ผใู ้ ช้ ในการให้คาแนะนาที่ตอ้ งอาศัยความ
เชี่ยวชาญในบางสาขา
มีลกั ษณะเป็ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เก็บรวบรวมความรู ้ของ
ผูเ้ ชี่ยวชาญเอาไว้(Knowledge based)
โปรแกรมจะพยายามหาคาตอบจากสิ่ งที่ผใู ้ ช้ได้ป้อนเข้าไป หรื อให้
คาแนะนาที่ได้จากกฏที่กาหนดไว้
16
ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ
ประโยชน์ของ ES
ให้คาแนะนาเกี่ยวกับความรู ้หรื อความชานาญเฉพาะด้านแก่ผใู ้ ช้
โดยทัว่ ไป
ให้ความช่วยเหลือผูเ้ ชี่ยวชาญ
ทดแทนผูเ้ ชี่ยวชาญ
17
ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ
กระจายความรู ้ โดยเฉพาะสาขาที่ตอ้ งอาศัยบุคลากรที่มีความชานาญ
เช่น แพทย์ นักการเงิน นักธรณี วิทยา
ความแน่นอน เป็ นการสร้างความแน่นอนและความเที่ยงตรงให้
เกิดขึ้น เช่น การวิเคราะห์หลักทรัพย์ หรื อการวิเคราะห์แหล่งแร่ เป็ น
ต้น
เตรี ยมการสาหรับอนาคต ลดความเสี่ ยงและป้ องกันการขาดแคลน
ความรู ้และประสบการณ์ในการตัดสิ นใจเมื่อเกิดความต้องการขึ้น
18
ตัวอย่างของระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ
ด้านการแพทย์
ด้านการผลิต
ด้านธรณี วิทยา
ด้านกระบวนการผลิต
ด้านกระบวนการทางานของบริ ษทั บัตรเครดิต
ด้านกฎหมายระหว่างประเทศ
ด้านการค้าระหว่างประเทศ
19
องค์ประกอบของระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ
ฐานความรู ้(Knowledge base)
เครื่ องมือในการการอนุมาน(Inference Engine)
อุปกรณ์ช่วยในการอธิบาย(Explanation facility)
อุปกรณ์ในการหาความรู ้(Knowledge acquisition facility)
การติดต่อกับผูใ้ ช้(User Interface)
20
องค์ประกอบของระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ
อุปกรณ์ช่วย
ในการอธิบาย
Inference
Engine
ฐานความรู้
อุปกรณ์ในการเก็บ
รวบรวมความรู้
User
interface
ผูเ้ ชี่ยวชาญ
ผูใ้ ช้
ที่มา:ปรั บจาก Stair&Reynolds.(1999:494).
21
ข้อจากัดของระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ
การเก็บความรู ้จากผูเ้ ชี่ยวชาญทาได้ยาก
การสร้างกฎต่างๆ ทาได้ยาก
ใช้แก้ปัญหาได้เฉพาะจุดเท่านั้น
22
Neural Network
โครงข่ายประสาท หรื อโครงข่ายประสาทประดิษฐ์ หรื อ Artificial Neural
Network (ANN) เป็ นรู ปแบบการประมวลผลสารสนเทศที่
เลียนแบบมาจากการประมวลผลของระบบประสาทภายในสมองของ
มนุษย์
23
Neural Network
• การคิดค้นโครงข่ายประสาทในอดีตไม่เป็ นที่ยอมรับมากนัก แต่
อย่างไรก็ตามได้มีผพู ้ ยายามที่จะค้นหาความจริ ง จนกระทัง่ ในปี ค.ศ.
1943 Warren McColloch และ Walter Pits ได้คิดโครงสร้างของ
โครงข่ายประสาทเพื่อใช้งานจริ งๆ ออกมา แต่กไ็ ม่ได้รับการยอมรับอีก
เช่นกัน
• การเรี ยนรู ้ของโครงข่ายประสาทเรี ยกว่า การเทรน(trained) ซึ่งจะ
เปรี ยบเทียบได้กบั การคิดของผูเ้ ชี่ยวชาญ หรื อวิเคราะห์ขอ้ มูลที่มีอยู่
24
งาน
1. ระบบสารสนเทศด้ านบัญชี
2. ระบบสารสนเทศด้ านการเงิน
3. ระบบสารสนเทศด้ านการผลิต
4. ระบบสารสนเทศด้ าน
ทรัพยากรมนุษย์
5. Expert System
6. Neural Networks
7. Genetic Algorithm
8. TPS
9. MRS
10 DSS
11. EIS
12. GDSS
13. GIS
25