การประยุกต์ใช้แบบจำลอง sobek

Download Report

Transcript การประยุกต์ใช้แบบจำลอง sobek

การประยุกต์ ใช้ แบบจาลอง SOBEK
เพือ่ การบริหารจัดการอุทกภัย
ในลุ่มนา้ เจ้ าพระยาตอนล่ าง
โดย
กรมชลประทาน
ร่ วมกับ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยรังสิ ต
ประเทศเนเธอแลนด์
1
เหตุผลและความจาเป็ น







มหาอุทกภัยปี 54
ขาดแบบจาลองทีล่ ะเอียด
ภายหลังอุทกภัยมีโครงการความร่ วมมือจาก JICA
ได้ เส้ นชั้นความสู งและแบบจาลอง RRI
แบบจาลองดังกล่าวยังขาดการเปรียบเทียบและเชื่อมกับโทรมาตร
กรมชลประทานมีความร่ วมมือกับประเทศเนเธอแลนด์ เกีย่ วกับ
แบบจาลอง SOBEK
เห็นควรทางานวิจัยเพือ่ พัฒนาแบบจาลอง SOBEK เพือ่ เปรียบเทียบ
และเชื่อมกับระบบโทรมาตรของกรมชลประทาน
2
วัตถุประสงค์ (หน้ า 7)




เพือ่ ทบทวนเหตุการณ์ อุทกภัย / แบบจาลอง RRI วิเคราะห์ จุดอ่ อน จุด
แข็ง มาตรการแก้ไข บรรเทา
พัฒนาแบบจาลอง SOBEK เพือ่ ใช้ ในการพยากรณ์ และจัดการอุทกภัยใน
บริเวณลุ่มนา้ เจ้ าพระยาตอนล่างและเชื่อมโยงกับระบบโทรมาตรของกรม
ชลประทาน โดยพยากรณ์ ขนาดของอุทกภัย ตาแหน่ งทีเ่ กิดและระดับ
ความรุนแรงของภัยนา้ ท่ วมและขนาดพืน้ ทีท่ คี่ าดว่ าจะเกิดภัยในช่ วงเวลา
ต่ าง ๆ โดยแสดงผลในรูปแบบ GIS
เปรียบเทียบผลที่ได้ จากแบบจาลอง SOBEK กับแบบจาลอง RRI เพือ่
การพัฒนาแบบจาลองทั้ง 2 ให้ ดียงิ่ ขึน้ ไปในอนาคต
เสนอแนวทางปฏิบัติสาหรับการพยากรณ์ และเตือนภัยแบบเป็ นเอกภาพ
และบูรณาการ
3
ปัจจัยสนับสนุน
1.ข้อมูลเส้นชั้นความสูงของพื้นที่บริ เวณลุ่มน้ าเจ้าพระยาตอนล่าง ที่มีความ
ละเอียด ได้จากโครงการความร่ วมมือ ไทย ญี่ปุ่น
2.แบบจาลอง SOBEK ที่ได้รับการสนับสนุน ตามโครงการความร่ วมมือกับ
ประเทศเนเธอแลนด์
ระดับน้ าท่วม (Flood Mark) ตามสถานที่ต่างๆ จากเหตุการณ์ที่ผา่ นมาในปี
พ.ศ. 2554 สามารถใช้เป็ นข้อมูลสอบเทียบแบบจาลองได้เป็ นอย่างดี
3.ระบบโทรมาตรในลุ่มน้ าเจ้าพระยาของกรมชลประทาน ที่สามารถรายงาน
ข้อมูลต่างๆ ได้แบบ ณ เวลาจริ ง
4.ความพร้อมด้านบุคลากรที่จะทางานวิจยั ตามความร่ วมมือทางวิชาการ
ระหว่างกรมชลประทานกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (โครงการวิจยั ร่ วม
โครงการปริ ญญาโท และปริ ญญาเอก วิศวกรรมชลประทาน)
5.ประสบการณ์จริ งและบทเรี ยนจากอุทกภัยปี พ.ศ. 2554 ที่ผา่ นมา จะถูก
4
นามาใช้วิเคราะห์ความถูกต้องและความเป็ นไปได้ในการประยุกต์จริ งในพื้นที่
ตารางที่ 4.10.1 แผนงานการประยุกต์ใช้แบบจาลอง SOBEK ในพื้นที่ลุ่มน้ าเจ้าพระยาตอนล่าง
หน้า 12
ปี ที่ 2
หน่ วยงานรั บผิดชอบ
ลาดับ
การดาเนินงาน
2558
2559
2552
ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1 จัดทาข้อเสนอชุดโครงการวิจยั เสนอของบประมาณกรมชลประทาน
สวพ.
ปี ที่ 1
2 รวบรวมการศึกษาในอดีต ปัญหาอุปสรรค
สวพ.
3 สารวจข้อมูลระดับความสูงของพื้นที่ หน้าตัดลาน้ า
สรธ. สวพ.
4 สอบเทียบอาคาร หน้าตัดควบคุมต่างๆ
สอบ. สวพ.
5 ประยุกต์ใช้แบบจาลอง SOBEK และสอบเทียบแบบจาลอง
สวพ. ม.รั งสิ ต Deltares
6 การพัฒนาโครงข่ายการบริ หารจัดการอุทกภัยภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วม
ทุกคณะทางาน
7 ทดลองประยุกต์ใช้ ณ เวลาจริ ง
ทุกคณะทางาน
8 จัดประชุมรวมทุกคณะทางานความก้าวหน้าของผลงาน
ทุกคณะทางาน
9 จัดทาและส่ง Inception Report
สวพ.
10 จัดทาและส่งรายงานความก้าวหน้าฉบับกลาง
สวพ.
11 จัดทาและส่งรายงานโครงการฉบับสมบูรณ์
สวพ.
หมายเหตุ
แต่ละสถาบันจะรับผิดชอบการดาเนิ นงานแตกต่างกันไป ทั้งนี้ สานักวิจยั และพัฒนาจะเป็ นเจ้าภาพในการดาเนิ นงาน
คณะทางาน หน้ า 16
9