ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ว่าด้วยการศึกษาระดับ

Download Report

Transcript ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ว่าด้วยการศึกษาระดับ

วันพุธที่ 1 กุมภาพันธ์ 2555
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
1
การบังคับใช้
ให้ใช้ข้อบังคับนี้ สาหรับการศึกษาระดับ
ป.บัณฑิต
ปริญญาโท
ป.บัณฑิตชัน้ สูง
ป.เอก
ตัง้ แต่ปีการศึกษา 2554 เป็ นต้นไป
2
คุณสมบัติผเ้ ู ข้าศึกษา
ป.บัณฑิต, ป.โท สาเร็จ ป.ตรี หรือเทียบเท่า
ป.บัณฑิตชัน้ สูง สาเร็จ ป.ตรี 6 ปี หรือ ป.โท
ป.เอก
สาเร็จ ป.ตรี หรือเทียบเท่าที่มี
ผลการเรียนดีมาก 3.50 ขึน้
ไปหรือสาเร็จ ป.โท หรือเทียบเท่า
3
คุณสมบัติผเู้ ข้าศึกษา
ป.เอก สาเร็จ ป.ตรี ตัง้ แต่ 3.00 ขึน้ ไปได้รบั การพิจารณาให้
เข้าศึกษา หาก
- ยอมรับเงื่อนไขที่จะลงทะเบียนกระบวน
วิชาตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตร
กาหนด
- คณะกรรมการบริหารหลักสูตร เห็นสมควร
รับเข้า
4
การรับเข้าศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัยจะพิจารณารับสมัคร
เข้าเป็ นนักศึกษา โดยวิธีการคัดเลือกหรือสอบคัดเลือกหรือวิธีการ
อื่นๆ ตามที่ มหาวิทยาลัยกาหนด
ทัง้ นี้ ผูส้ มัครเข้าเป็ นนักศึกษาที่ผา่ นการคัดเลือก แต่อยู่ระหว่าง
รอผลการศึกษา มหาวิทยาลัยจะรับรายงานตัวเป็ นนักศึกษา เมื่อมี
คุณสมบัติครบถ้วนภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกาหนด
5
ประเภทของนักศึกษา
นั ก ศึ ก ษาที่ มี คุณ สมบัติ ค รบถ้ ว นซึ่ ง
มหาวิทยาลัยรับเข้าศึกษาเพื่อรับปริญญา ประกาศนี ยบัตร
บัณฑิต หรือ ประกาศนี ยบัตรบัณฑิตชัน้ สูง
 นั ก ศึ ก ษาเต็ม เวลา
 นักศึกษาสมทบ นักศึกษาที่ มหาวิทยาลัยรับให้ลงทะเบียน
เรี ย นกระบวนวิ ชา หรื อ ลงทะเบี ย นเพื่ อ ใช้ บ ริ การของ
มหาวิทยาลัย หรือทาการวิจยั โดยไม่มีสิทธ์ ิ รับปริญญา จาก
มหาวิทยาลัย
6
การรายงานตัวเป็ นนักศึกษา
ต้องรายงานตัวตามประกาศ มหาวิทยาลัย
เพื่อขึน้ ทะเบียนเป็ นนักศึกษาพร้อมด้วย
หลักฐานต่างๆ ตามวันและเวลาที่
มหาวิทยาลัยกาหนด มิฉะนัน้ จะถือว่าสละสิทธ์ ิ
7
ระบบการศึกษา
-ระบบทวิภาค หรือระบบหน่ วยการศึกษา
* ระบบทวิภาค คือ ระบบที่ 1 ปี การศึกษา
มี 2 ภาคปกติ และอาจมีภาคฤดูร้อน
* ระบบหน่ วยการศึกษา จัดการเรียนการ
สอนตามหัวข้อการศึกษา
-ระบบหน่ วยกิต
8
หลักสูตร
- มาตรฐานของหลักสูตร ให้เป็ นไป
ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 และประกาศ
ของมหาวิทยาลัย
9
โครงสร้างหลักสูตร
 ประกาศนี ยบัตรบัณฑิตชัน้ สูง (1-2 ปี ) > 24 หน่ วยกิต

หากต้องการศึกษาต่อในระดับ ป.เอก สาขาเดียวกัน หรือ
สาขาวิชาที่สมั พันธ์กนั เทียบโอนหน่ วยกิตได้ไม่เกิน 40%
ปริญญาโท (2 ปี ) > 36 หน่ วยกิต
แผน ก แบบ ก 1
เฉพาะวิทยานิพนธ์
แบบ ก 2
รายวิชา + วิทยานิพนธ์ ( > 12)
แผน ข รายวิชา + การค้นคว้าแบบอิสระ (3-6)
10
โครงสร้างหลักสูตร

ปริญญาเอก
แบบ 1 เฉพาะวิทยานิพนธ์
แบบ 1.1 (วุฒิ ป. โท)
แบบ 1.2 (วุฒิ ป. ตรี)
วิทยานิพนธ์ (48) 3-4 ปี
วิทยานิพนธ์ (72) 4-5 ปี
แบบ 2 รายวิชา + วิทยานิพนธ์
แบบ 2.1 (วุฒิ ป.โท) รายวิชา (12) + วิทยานิพนธ์ (36)
แบบ 2.2 (วุฒิ ป.ตรี) รายวิชา (24) + วิทยานิพนธ์ (48)
3-4 ปี
4-5 ปี
11
ประเภทของหลักสูตร
 หลักสูตรปกติ
หลักสูตรนานาชาติ
12
ประเภทของหลักสูตร
แบ่งตามความรับผิดชอบ
หลักสูตรสาขาวิชาเดี่ยว
หลักสูตรสาขาวิชาร่วม
13
ระยะเวลาการศึกษา
 หลักสูตร ป.บัณฑิตชัน
้ สูง
ไม่เกิน 2 เท่าของ
ระยะเวลาตามแผนการศึกษา
 หลักสูตร ป.โท
ไม่เกิน 2 เท่าของระยะเวลาตาม
แผนฯ
 หลักสูตร ป.เอก
◦(ผูส้ าเร็จ ป.โท) ไม่เกิน 5 ปี การศึกษา
◦(ผูส้ าเร็จ ป.ตรี) ไม่เกิน 7 ปี การศึกษา
14
ระยะเวลาการศึกษา
หาก ไม่สามารถสาเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กาหนดได้
อาจจะขยายเวลาการศึกษาออกไปได้อีก
ครัง้ ละ 1 ภาค การศึกษาปกติ แต่ไม่เกิน 2 ครัง้
โดยที่
วิทยานิพนธ์ต้องมีความก้าวหน้ า เด่นชัด
15
ระยะเวลาการศึกษา
16
นักศึกษา ป.เอก ที่ไม่สามารถสาเร็จ
การศึกษาภายในระยะเวลาที่กาหนด อาจ
แสดงความจานงขอสาเร็จการศึกษาระดับ
ปริญญาโทในหลักสูตรที่ศึกษาอยู่ได้ ทัง้ นี้ ให้
เป็ นไปตามเงื่อนไขการสาเร็จการศึกษาที่
กาหนดไว้ในหลักสูตรนัน้ ๆ
17
การลงทะเบียนเรียน
 นักศึกษา ป.บัณฑิตชัน
้ สูง และ ป.โท ให้มีอาจารย์ที่
ปรึกษาทัวไปท
่
าหน้ าที่ให้คาแนะนาและให้คาปรึกษา
 นักศึกษา ป.เอก ให้มีคณะกรรมการที่ ปรึกษา
วิทยานิพนธ์ทาหน้ าที่วางแผนการศึกษา แนะนา
ควบคุมการศึกษาและการทาวิทยานิพนธ์
 ลงทะเบียนหลังกาหนด เสียค่าปรับวันละ 100.- บาท
เลยกาหนด/ไม่ลาพัก ---> พ้นสภาพ
 กระบวนวิชาที่ ได้เกรด > B ห้ามลงซา
้
18
การลงทะเบียนเรียน
 จานวนหน่ วยกิตที่ ลงทะเบียนได้
ภาคการศึกษาปกติ < 15 หน่ วยกิต
ภาคฤดูร้อน
< 6 หน่ วยกิต

ในกรณี ที่นักศึกษาที่คาดว่าจะสาเร็จการศึกษาในภาค
การศึกษานัน้ อาจลงทะเบียนเกินกว่า 15 หน่ วยกิตในภาค
การศึกษาปกติ หรือเกินกว่า 6 หน่ วยกิตในภาคฤดูร้อนได้
โดย ให้คณบดีของส่วนงานที่นักศึกษาสังกัดเป็ นผู้
พิจารณาอนุมตั ิ
19
การลงทะเบียนเรียน
 การลงทะเบียนที่ ผิดเงื่อนไข ให้ถือว่าการ
ลงทะเบียนนัน้ เป็ นโมฆะ และให้ได้รบั อักษร W
 การลงทะเบียนเข้าร่วมศึกษา โดยได้รบ
ั อักษร V
ให้ดาเนินการตามขัน้ ตอนของสานักทะเบียนฯ
20
21
การลงทะเบียนเรียน
เพื่อใช้บริการของมหาวิทยาลัย
นักศึกษาบัณฑิตศึกษาจะต้อง
ลงทะเบียนเพือ่ ใช้บริการของ
มหาวิทยาลัย
เมื่อ >>>
22
การลงทะเบียนเรียนเพื่อใช้บริการของมหาวิทยาลัย
1. นักศึกษาระดับปริญญาเอก หรือระดับปริญญาโท
ในหลักสูตรที่มีเฉพาะการทาวิทยานิพนธ์ต้องการเตรียม
ความพร้อมเพื่อการสอบวัดคุณสมบัติ และ/หรือ เสนอ
หัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์
2. นักศึกษาไม่ได้ลงทะเบียนกระบวนวิชาใด ๆ และไม่ได้ลา
พัก การศึ ก ษา แต่ ใ นภาคการศึ ก ษานั ้น ประสงค์จ ะใช้
บริการของมหาวิทยาลัย เพื่อการศึกษาค้นคว้าหรือทา
กิจกรรมอื่น ๆ
23
การลงทะเบียนเรียนเพื่อใช้บริการของมหาวิทยาลัย
3. นักศึกษาได้ลงทะเบียนวิทยานิพนธ์หรือการ
ค้นคว้าแบบอิสระครบหน่ วยกิตไปแล้วและในภาค
การศึกษานัน้ ประสงค์จะทางานวิจยั ต่อเนื่ อง
รายละเอียด ศึกษาได้จากคู่มือการลงทะเบียนฯ
24
การเปลี่ยนแผนการศึกษา การรับโอน
นักศึกษา การเทียบโอนหน่ วยกิต
ให้เป็ นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย
25
คุณสมบัติอาจารย์
 ป.บัณฑิต
ป.บัณฑิตชัน้ สูง ป.โท
 อ.ที่ ปรึกษาทัวไป
่
- เป็ น อ. ประจาในบัณฑิตวิทยาลัย
-มีคณ
ุ วุฒิ ป.โท หรือ ผศ.
 อ.ผูส
้ อน
- เป็ น อ. ประจาในบัณฑิตวิทยาลัย หรือ อ.พิเศษ
- มีวฒ
ุ ิ ป.โท หรือเทียบเท่า หรือ ผศ.
- มีประสบการณ์ในการสอนและการวิจยั
26
คุณสมบัติอาจารย์
 อ.ที่ ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก/การค้นคว้าฯ หลัก
- เป็ น อ. ประจาในบัณฑิตวิทยาลัย
-มีคณ
ุ วุฒิ ป.เอก หรือ รศ.
- มีประสบการณ์ ในการทาวิจยั
27
คุณสมบัติอาจารย์
 อ.ที่ ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม/การค้นคว้าฯ ร่วม
- เป็ น อ. ประจาในบัณฑิตวิทยาลัย หรือพิเศษ
-มีคณ
ุ วุฒิ ป.เอก หรือ รศ.
- มีประสบการณ์ ในการทาวิจยั หรือ
มีความรู้ความชานาญในวิชาการหรือวิชาชีพ
28
คุณสมบัติอาจารย์
 อ. ผูส
้ อบวิทยานิพนธ์/การค้นคว้าแบบอิสระ
- เป็ น อ. ประจาในบัณฑิตวิทยาลัย หรือ
ผูท้ รงคุณวุฒิภายนอก ม.
-มีคณ
ุ วุฒิ ป.เอก หรือ รศ.
- มีประสบการณ์ในทาวิจยั หรือเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญ
เฉพาะเรือ่ งในกรณี ที่ไม่สงั กัดสถาบันอุดมศึกษา
- มีความรูใ้ นเนื้ อหาและวิธีการสอบ
29
คุณสมบัติอาจารย์
 อ. ประจาหลักสูตร
- เป็ น อ. ประจาในบัณฑิตวิทยาลัย
-มีคณ
ุ วุฒิ ไม่ตา่ กว่า ป.โท หรือ ผศ.
- มีประสบการณ์ ในการทาวิจยั
30
คุณสมบัติอาจารย์
 กรรมการสอบประมวลความรู้
- เป็ น อ. ประจาในบัณฑิตวิทยาลัย
- มีคณ
ุ วุฒิ ไม่ตา่ กว่า ป.เอก หรือ รศ.
- มีประสบการณ์ ในการทาวิจยั ที่มิใช่ส่วนหนึ่ ง
ของการศึกษาเพื่อรับปริญญา
31
คุณสมบัติอาจารย์
หลักสูตรระดับปริญญาเอก
 อ.ผูส
้ อน
- เป็ น อ. ประจาในบัณฑิตวิทยาลัย หรือ อ.
พิเศษ
- มีวฒ
ุ ิ ป.เอก หรือเทียบเท่า หรือ รศ.
- มีประสบการณ์ ในการสอนและการวิจยั
32
คุณสมบัติอาจารย์
 อ.ที่ ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
- เป็ น อ. ประจาในบัณฑิตวิทยาลัย
-มีคณ
ุ วุฒิ ป.เอก หรือ รศ. (ไม่ตา่ กว่า ป.โท)
- มีประสบการณ์ ในการทาวิจยั
33
คุณสมบัติอาจารย์
 อ.ที่ ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
- เป็ น อ. ประจาในบัณฑิตวิทยาลัย หรือพิเศษ
-มีคณ
ุ วุฒิ ป.เอก หรือ รศ. หรือผูเ้ ชี่ยวชาญ
เฉพาะเรื่องในกรณี ที่ไม่สงั กัดสถาบันอุดมศึกษา
- มีประสบการณ์ ในการทาวิจยั
34
คุณสมบัติอาจารย์
 กรรมการสอบวัดคุณสมบัติและกรรมการสอบ
ประมวลความรู้
- เป็ น อ. ประจาในบัณฑิตวิทยาลัย
-มีคณ
ุ วุฒิ ป.เอก หรือ รศ.
- มีประสบการณ์ ในการทาวิจยั
35
คุณสมบัติอาจารย์
 อ. ผูส
้ อบวิทยานิพนธ์
- เป็ น อ. ประจาในบัณฑิตวิทยาลัย หรือ
ผูท้ รงคุณวุฒิภายนอก ม.
- มีคณ
ุ วุฒิ ป.เอก หรือ รศ.
- มีประสบการณ์ ในการทาวิจยั หรือ
เป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะเรื่องในกรณี ที่ไม่สงั กัด
สถาบันอุดมศึกษา
- มีความรู้ในเนื้ อหาและวิธีการสอบ
36
คุณสมบัติอาจารย์
 อ. ประจาหลักสูตร
- เป็ น อ. ประจาในบัณฑิตวิทยาลัย
- มีคณ
ุ วุฒิ ไม่ตา่ กว่า ป.เอก หรือ รศ.
- มีประสบการณ์ ในการทาวิจยั
37
คุณสมบัติอาจารย์
 อ. ผูร
้ บั ผิดชอบหลักสูตร
- เป็ น อ. ประจาในบัณฑิตวิทยาลัย
- มีคณ
ุ วุฒิ ไม่ตา่ กว่า ป.เอก หรือ ศ.
- เป็ น อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และ/หรือ
อ.ผูส้ อบวิทยานิพนธ์ และ/หรือ อ.ผูส้ อนใน
หลักสูตรนัน้
38
 อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก/ร่วม
ต้องไม่
เป็ นประธานกรรมการสอบ แต่ต้องเข้าร่วมอยูใ่ น
กระบวนการสอบวิทยานิพนธ์/การค้นคว้าแบบ
อิสระ ด้วยทุกครัง้ โดยอาจร่วมในฐานะกรรมการ
สอบ หรือผูเ้ ข้าร่วมฟั งก็ได้
39
การสอบผ่านภาษาอังกฤษ
หลักสูตรปกติ หลักสูตรนานาชาติ
 TOEFL
paper-based
based
based
 IELTS
 TEGS
> 450
> 133
> 45
> band 5.0
> 60%
> 500 หรือcomputer> 173 หรือ internet
> 61
> band 5.5
> 65%
40
การสอบภาษาอังกฤษ (สถาบันภาษา มช.)
ปัจจุบนั เป็ นการสอบแบบ e-TEGS ซึ่งเป็ น
ระบบสอบบนคอมพิวเตอร์
 นักศึกษาสามารถเข้าทดสอบได้ทุกวันพฤหัสบดี
และวันเสาร์
วันพฤหัสบดี เวลา 9-12 น. และ 13-16 น.
วันเสาร์ เวลา 9-12 น.

41
การสอบวัดคุณสมบัติ
เป็ นการสอบเพื่อประเมินความพร้อมและ
ความสามารถของนักศึกษาปริญญาเอก
เพื่อมีสิทธ์ ิ เสนอโครงร่างวิทยานิพนธ์
42
การสอบประมวลความรู้
เป็ นการสอบเพื่อทดสอบความรู้ในแนวกว้าง
ความสามารถในการผสมผสานแนวความคิดและ
เนื้ อหา และความสามารถในการนาเอาความรู้มา
แก้ปัญหา ผูม้ ีสิทธ์ ิ สอบต้องลงทะเบียนกระบวนวิชา
ต่างๆ ครบถ้วนตามหลักสูตร และสอบผ่านกระบวน
วิชาบังคับ โดยได้อกั ษรลาดับขัน้ ไม่ตา่ กว่า C
43
การเสนอหัวข้อ/โครงร่าง (Thesis-IS)
 ป. โท แผน ก (ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษก่อน)
แบบ ก1 - ตามเงื่อนไข กก.บริหารหลักสูตรแต่ละสาขาวิชา
แบบ ก2 - ต้องมีหน่ วยกิตสะสม > 6
 ป. โท แผน ข
6
ไม่จาเป็ นต้องผ่านภาษาอังกฤษก่อน แต่มีหน่ วยกิตสะสม >
 ป. เอก
ต้องผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Exam.) และ
ต้องสอบผ่านภาษาต่างประเทศ
44
การลา
 นักศึกษาที่ ลาพักหรือถูกสังพั
่ กการศึกษา
ต้องชาระ
ค่าธรรมเนี ยมรักษาสถานภาพนักศึกษา
 นักศึกษาที่ ประสงค์จะลาออกจากการเป็ นนักศึกษา ให้ ยื่น
คาขอทัวไป
่ (บว. 19) ทัง้ นี้ การยื่นคาขอทัวไปต้
่
อง
1. ไม่เกินวันสุดท้ายของวันถอนกระบวนวิชาโดยได้รบั
อักษร W ตามปฏิทินการศึกษา
2. หากยื่นหลังวันถอนกระบวนวิชา จะยังไม่มีการพิจารณา
จนกว่า มหาวิทยาลัยจะประกาศผลการศึกษา
45
การพ้นสภาพ
 ไม่มาลงทะเบียนภายในเวลาที่
ม. กาหนด และไม่ได้
รักษาสถานภาพการศึกษาภายใน 30 วัน
 เป็ นนักศึกษาครบระยะเวลาการศึกษา
 GPA < 2.75 (2 ภาคการศึกษา)
่ นการสอบวัดคุณสมบัติและ
 นักศึกษา ป. เอก ไม่ผา
ไม่ได้รบั อนุมตั ิ เป็ น ป.โท
46
การพ้นสภาพ
่ นการอนุมตั ิ หวั ข้อและโครงร่างฯ
 เป็ นนักศึกษาที่ ไม่ผา
(ป.โท: 2 ปี การศึกษา / ป.เอก: 3 ปี การศึกษา )
 เป็ นนักศึกษาครบ 2 ภาคการศึกษาปกติ แต่ไม่มี
หน่ วยกิตสะสม ยกเว้น หลักสูตรที่มีเฉพาะวิทยานิพนธ์
่ นการสอบประมวลความรู้
 นักศึกษาที่ สอบไม่ผา
 ไม่ชาระค่าธรรมเนี ยมการศึกษาภายในที่ ม.กาหนด
 สาเร็จการศึกษา , มหาวิทยาลัยสังให้
่ พ้นสภาพการเป็ น
นักศึกษา
47
การกลับเข้าเป็ นนักศึกษา
 เมื่อสอบผ่านการคัดเลือกเข้ามาเป็ นนักศึกษาใหม่ได้
กรณี ที่พ้นสภาพเนื่ องจาก ลาออก ครบระยะเวลา เกรดสะสม
ไม่ผา่ นการสอบวัดคุณสมบัติ ไม่ผา่ นการอนุมตั ิ หวั ข้อ
ไม่ผา่ นการสอบประมวลความรู้ สามารถนากระบวนวิชา
ที่เคยเรียนไม่เกิน 5 ปี มาใช้ในการศึกษา
 เมื่อต้องการคืนสภาพ เมื่อ นศ. พ้นสภาพเนื่ องจาก ลาออก
โอนไปเป็ น นศ.สถาบันอื่น ไม่มาลงทะเบียนภายใน 30 วัน
ไม่ชาระค่าธรรมเนี ยม
48
เงื่อนไขการสาเร็จการศึกษา
 ศึกษากระบวนวิชาและปฏิบต
ั ิ ครบตาม
เงื่อนไขของหลักสูตรนัน้ ๆ
 GPA ≥ 3 ยกเว้นหลักสูตร by Thesis
 ผ่านการเที ยบความรู้ภาษาต่างประเทศ
49
เงือ่ นไขการสาเร็จการศึกษา
 สอบผ่านการสอบประมวลความรู้
 สอบผ่าน Thesis หรือ การค้นคว้า
แบบอิสระ
50
เงื่อนไขการสาเร็จการศึกษา ป. โท
 แผน ก แบบ ก1 และ แบบ ก2 วิทยานิพนธ์ได้รบ
ั การ
ตีพิมพ์ หรือได้รบั การยอมรับให้ตีพิมพ์ หรือเสนอต่อที่
ประชุมวิชาการที่มีรายงานการประชุม (proceedings)
โดยผลงานเป็ นแบบบทความฉบับเต็ม (full paper) ที่
สามารถค้นหา หรือตรวจสอบได้ในรูปแบบของสื่อ
สิ่งพิมพ์หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือมีการจดอนุสิทธิบตั ร
หรือสิทธิบตั ร และมีชื่อนักศึกษาเป็ นชื่อแรกอย่างน้ อย 1
เรือ่ ง (หรือตามเงื่อนไขของแต่ละสาขาวิชา)
51
เงื่อนไขการสาเร็จการศึกษา ป. เอก
วิทยานิพนธ์ต้องได้รบั การตี พิมพ์หรือได้รบั การยอมรับให้ตีพิมพ์
ในวารสารที่มี peer review ก่อนการตีพิมพ์และเป็ นที่ยอมรับใน
สาขาวิ ช านั ้น หรื อ มี ก ารจดสิ ท ธิ บัต รโดยจ านวนเรื่ อ งที่ ต้ อ ง
ตีพิมพ์ ขึน้ กับเงื่อนไขของหลักสูตร เช่น
แบบ 1.1 (นศ. ฐาน ป.โท) อย่างน้ อย 2 เรือ
่ ง
“นศ. ต้อง
เ ป็ น ชื ่ อ
แบบ 1.2 (นศ. ฐาน ป.ตรี) อย่างน้ อย 3 เรือ
่ ง
แรกอย่ า ง
แบบ 2.1 (นศ. ฐาน ป.โท) อย่างน้ อย 1 เรือ
่ ง
น้ อ ย 1
แบบ 2.2 (นศ. ฐาน ป.ตรี) อย่างน้ อย 2 เรือ
่ ง
เรือ่ ง”
52
เวทีเสนอผลงาน
มี proceedings (full papers)
 การประชุมวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ ที่ สาขาวิชา
ยอมรับ
 การประชุมวิชาการ National Graduate Research ปี ละ 4
ครัง้ (ประมาณ 3 เดือน/ครัง)้
 การประชุมวิชาการ CMU Grad Research
 การประชุมวิชาการ Asian+3 Graduate Research
(1-2 มี.ค. 55 มช. เจ้าภาพ)
 ฯลฯ
53
กิจกรรมเสริมหลักสูตร
 การอบรมระยะสัน
้ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่
www.grad.cmu.ac.th
 การใช้ห้องสมุดและสิ่งอานวยความสะดวก
ต่างๆ ในการสืบค้นข้อมูล
54
รายละเอียดเพิ่มเติม
 อาจารย์ที่ปรึกษาทัวไป
่
 อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/การค้นคว้าแบบอิสระ
 Website บัณฑิตวิทยาลัย www.grad.cmu.ac.th
 หนังสือแนะนาการศึกษาขัน
้ บัณฑิตศึกษา บัณฑิต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 Bulletin
 ปฏิทินการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา
55