How to go from Black and White to Color in PowerPoint: COOL

Download Report

Transcript How to go from Black and White to Color in PowerPoint: COOL

บทที่ 2 การจัดเก็บข้อมู ล
By Juthawut Chantharamalee
Computer Science- SDU
1
การจัดการข้อมู ล
ฐานข ้อมูล โดยทั่ ว ไปจะถูก สร ้างให ้มีโ ครงสร ้างที่
้
้
ง่ายต่อความเข ้าใจ และการใชงานของผู
้ใชฐานข
้อมูลทีม
่ ี
้ ยู่ ใ นปั จจุ บั น จะมี โ ครงสร า้ ง 3 แบบด ว้ ยกั น คื อ
ใช อ
ฐานข อ้ มู ล แบบเช ิง สั ม พั น ธ์ แบบล าดั บ ขั ้น และแบบ
เครือข่าย ระบบฐานข ้อมูลจะมีการเรียกใชข้ ้อมูลโดยผู ้ใช ้
้
้ ้มีก ารแบ่ ง
หลายกลุ่ ม ข ้อมู ล ที่ผู ้ใช สามารถเรี
ย กใช ได
ระดับของข ้อมูลออกเป็ นระดับต่างๆ เพือ
่ ให ้การใชข้ ้อมูล
ของผู ใ้ ช เ้ ป็ นไปอย่ า งเหมาะสม โดยมี ร ะบบจั ด การ
ื่ มข ้อมูล ระหว่างข ้อมูล ในระดับ
ฐานข ้อมูล ท าหน ้าทีเ่ ชอ
ิ ธิภาพ
ต่างๆ เพือ
่ ให ้การเรียกใชข้ ้อมูลมีประสท
2
้
1. ศ ัพท ์พืนฐานของฐานข้
อมู ล
ั่ (Relation)
เอนทิต ี ้ (Entity) หรือ ตาราง (Table) หรือ รีเลชน
คือ การรวบรวมข ้อมูลจัดเก็บในรูปของตาราง 2 มิต ิ
แอททริบ ิว ต ์ (Attribute)
คือ รายละเอีย ดของข ้อมูล ใน
ื่ เขตข ้อมูล หรือฟิ ลด์ (Field)
เอนทิต ี้ เป็ นชอ
ความสัมพันธ ์ (Relationship) คือ ความสัมพั นธ์ระหว่า ง
เอนทิต ี้ (Entity)
ทู เพิล (Tuple) คือ ค่าของข ้อมูลในแต่ละแถว (Row) หรือที่
เรียกว่า เรคอร์ด (Record)
3
้
1. ศ ัพท ์พืนฐานของฐานข้
อมู ล
คาร ์ดินาลิต ี ้ (Cardinality) คือ จานวนแถวของข ้อมูลในแต่
ั่ หรือจานวนเรคอร์ดในฐานข ้อมูลนั่นเอง
ละรีเลชน
คีย ์หลัก (Primary Key) หรือ ค่าเอกลักษณ์ (Unique Identifier)
คือ แอททริบวิ ต์ทม
ี่ ค
ี า่ ของข ้อมูลไม่ซ้ากันในแต่ละทูเพิล
โดเมน (Domain) คือ ขอบเขตของค่าของข ้อมูลทีค
่ วรจะ
เป็ นในแต่ละแอททริบวิ ต์
4
2. เค้าร่างของฐานข้อมู ล (Database Schema)
ื่ ของเอนทิต ี้ และ
ในการออกแบบฐานข ้อมูล ต ้องระบุช อ
รายละเอีย ดของแต่ล ะเอนทิต ี้ป ระกอบด ้วยแอททริบ วิ ต์
อะไรบ ้าง มีลั ก ษณะความสั ม พั น ธ์ข องข ้อมู ล ในเอนทิต ี้
อย่า งไร ซ งึ่ รายละเอีย ดของโครงสร ้างของฐานข ้อมูล นี้
เรีย กว่ า เค ้าร่ า งของฐานข ้อมู ล (Database
Schema)
สว่ นข ้อมูลทีถ
่ ก
ู บันทึกลงในฐานข ้อมูล เรียกว่า อินสแตนซ ์
(Instance หรือ Occurrence)
Schema หมายถึง โครงสร ้างข ้อมูลหรือนิยามข ้อมูล
Instance หมายถึง เนือ
้ ข ้อมูลทีเ่ ก็บอยูใ่ นโครงสร ้างข ้อมูล
แสดงดังตารางที่ 2.1
5
ตารางที่ 2.1 แสดงโครงสร ้างของข ้อมูลพนักงานบริษัท
จากตัวอย่างตารางที่ 2.1 สามารถอธิบายโครงสร ้างของ
ข ้อมูล ได ้ดังนี้
เค้าร่างของฐานข้อมู ล (Database Schema) คือ
ื่ พนั กงาน, ตาแหน่ง, แผนก, วุฒ ิ
รหัสพนักงาน, ชอ
ึ ษา
การศก
้ อมู ล (Instance) คือ
เนื อข้
6
55001, นางสาวสุดสวย รักงาน, ผู ้จัดการทั่วไป, การตลาด,
2. เค้าร่างของฐานข้อมู ล (Database Schema)
้ อ แก ้ไขข ้อมู ล จะท าให ้ค่ า ของ
เมื่อ มีก ารเรี ย กใช หรื
ข ้อมูล (Instance) มีการเปลีย
่ นแปลงได ้ตลอดเวลา สว่ นเค ้า
ร่างทีไ่ ด ้จากการออกแบบฐานข ้อมูล (Database Schema)
ไม่ควรมีการเปลีย
่ นแปลง ถ ้ามีการเปลีย
่ นแปลงก็ไม่ควรให ้
เกิด ขึ้น บ่ อ ยครั ้ง เพราะว่ า จะมีผ ลกระทบต่ อ การแก ้ไข
โปรแกรมเรียกใชข้ ้อมูล
7
3. ความสัมพันธ ์ระหว่างเอนทิต ี ้
ั พันธ์ระหว่างเอนทิตใี้ นฐานข ้อมูลเชงิ
การสร ้างความสม
สั ม พั น ธ์ ก ร ะ ท า ไ ด ้ โ ด ย ก า ร ก า ห น ด ใ ห เ้ อ น ทิ ต ี้ ที่ ม ี
ความสัมพันธ์กันมีแอททริบวิ ต์ทเี่ หมือนกัน และใชค่้ าของ
แอททริบ วิ ต์ท ี่เ หมือ นกัน เป็ นตั ว ระบุข ้อมูล ในเอนทิต ี้ท ี่ม ี
ความสั ม พั น ธ์ กั น ความ สั ม พั นธ์ ร ะหว่ า งเอนทิ ต ี้ แบ่ ง
ออกเป็ น 3 ประเภท ดังนี้
3 . 1 ค ว า ม สั ม พั น ธ ์แ บ บ ห นึ่ ง ต่ อ ห นึ่ ง ( One-to-one
Relationship)
เป็ นการแสดงความสัมพันธ์ของข ้อมูลในเอนทิตห
ี้ นึง่ ว่ามี
ความสัม พั น ธ์กับ ข ้อมูล ของอีก เอนทิต ห
ี้ นึ่ง ในลั ก ษณะที่
8
่
เป็ นหนึง่ ต่อหนึง่ เชน
3. ความสัมพันธ ์ระหว่างเอนทิต ี ้
ั พันธ์ของประชาชนกับหมายเลขรหัสประจาตัว
ความสม
ประชาชน ซ ึ่ง ประชาชน 1 คนจะต อ้ งมี ห มายเลขรหั ส
ประจาตัวประชาชน 1 หมายเลข ซงึ่ ไม่ชา้ กัน
ึ ษากับรหัสประจาตัวนั กศก
ึ ษา นั กศก
ึ ษาแต่ละคนก็
นั กศก
ึ ษาไม่ซ้ า กัน รถยนต์กับทะเบียน
จะมีร หัส ประจาตัว นั ก ศก
่ กัน รถยนต์แต่ละคันก็จะมีหมายเลขทะเบียน
รถยนต์ก็เชน
ั พันธ์แบบหนึง่ ต่อหนึง่ แสดงดังรูปที่
ไม่ช้ากัน จึงมีความสม
2.1
9
3. ความสัมพันธ ์ระหว่างเอนทิต ี ้
3 . 2 ค ว า ม สั ม พั น ธ แ
์ บ บ ห นึ่ ง ต่ อ ก ลุ่ ม ( One-to-many
Relationship)
เป็ นการแสดงความสัมพันธ์ของข ้อมูลของเอนทิตห
ี้ นึง่ ว่า
มีค วามสั ม พั น ธ์กั บ ข ้อมูล หลายข ้อมูล กั บ อีก เอนทิต ี้ห นึ่ง
่
เชน
ั พันธ์ของ แผนกกับพนั กงาน ซงึ่ แผนกแต่ละ
ความสม
แผนกจะประกอบไปด ้วยพนั ก งานที่สั ง กั ด อยู่ ใ นแผนก
หลายคน
10
3. ความสัมพันธ ์ระหว่างเอนทิต ี ้
ั พันธ์ของโรงเรียนกับนั กเรียน โรงเรียน 1 โรงเรียน
ความสม
มีนักเรียนหลายคนเรียนอยูในโรงเรียน จึงมีความสัมพั นธ์
แบบหนึง่ ต่อกลุม
่ แสดงดังรูปที่ 2.2
11
3. ความสัมพันธ ์ระหว่างเอนทิต ี ้
3 . 3 ค ว า ม สัม พัน ธ แ
์ บ บ ก ลุ่ ม ต่ อ ก ลุ่ ม ( Many-to-many
Relationship)
เป็ นการแสดงความสัม พั น ธ์ข องข ้อมูล ของ 2 เอนทิต ี้ ใน
่ ความสม
ั พันธ์ของนั กศก
ึ ษา
ลักษณะแบบกลุม
่ ต่อกลุม
่ เชน
ึ ษาหลายคน อาจลงทะเบีย นเรีย นได ้
กั บ รายวิช า นั ก ศ ก
หลาย
รายวิชาในการลงทะเบียนเรียนแต่ละภาคเรียน และอาจมี
ลงทะเบียนเรียนหลายครัง้ จึงมีความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อ
กลุม
่
12
3. ความสัมพันธ ์ระหว่างเอนทิต ี ้
ั พันธ์ของลูกค ้า/การสงั่ ซอ
ื้ กับสน
ิ ค ้า ลูกค ้าหลาย
ความสม
ื้ สน
ิ ค ้าได ้หลายชนิด ในการซอ
ื้ แต่ละครัง้ และ
คน อาจซอ
ื้ หลายครัง้ จึงมีความสม
ั พันธ์แบบกลุม
อาจมีการสงั่ ซอ
่ ต่อ
กลุม
่ แสดงดังรูปที่ 2.3
13
4. ระดับของข้อมู ล
ระบบฐานข ้อมูลเป็ นการน าข ้อมูล ทีเ่ กีย
่ วข ้องกัน มา
้
รวมกันไว ้ในระบบเดียวกัน เพือ
่ ให ้ผู ้ใชสามารถใช
ข้ ้อมูลที่
้ ล ะคนจะมองข ้อมูล ใน
อยู่ใ นฐานข ้อมูล เดีย วกั น ผู ้ใช แต่
้
แง่มม
ุ หรือวิว (View) ทีต
่ า่ งกัน ผู ้ใชบางคนอาจต
้องเรียกใช ้
ข ้อมูล ทั ง้ แฟ้ มข ้อมูล บางคนอาจต ้องการเรีย กใช ข้ ้อมูล
้ จาเป็ นต ้องสนใจ
เพียงบางสว่ นของแฟ้ มข ้อมูล โดยผู ้ใชไม่
ว่า การจั ด เก็ บ ข ้อมู ล ที่แ ท ้จริง จะเป็ นอย่ า งไร ดั ง นั ้น การ
เลือ กใช วิ้ ธ ีจั ด เก็ บ ข ้อมูล ที่เ หมาะสม จึง เป็ นส่ว นที่ท าให ้
ิ ธิภาพ ระบบฐานข อ
การเรียกใชข้ ้อมูลเกิดประสท
้ มู ล มี
้
้
้
การเรี ย กใช โดยผู
ใ้ ช หลายกลุ
่ม ข อ
้ มู ล ที่ ผู ใ้ ช สามารถ
14
้ ้มีการแบ่งระดับของข ้อมูลออกเป็ นระดับต่างๆ
เรียกใชได
4. ระดับของข้อมู ล
4.1 ระดับภายนอกหรือวิว (External Level หรือ View) เป็ น
ระดับของข ้อมูลทีอ
่ ยู่สูงทีส
่ ุด ประกอบไปด ้วยภาพทีผ
่ ู ้ใช ้
แต่ละคนมองข ้อมูล (View) เค ้าร่างของข ้อมูลระดับนี้ เกิด
จากความต ้องการข ้อมูลของผู ้ใช ้
15
4. ระดับของข้อมู ล
4.2 ระดับแนวคิด (Conceptual Level)
เ ป็ น ร ะ ดั บ ข อ ง ข อ
้ มู ล ที่ อ ยู่ ถั ด ล ง ม า อ ธิ บ า ย ถึ ง
ฐานข ้อมูล ว่า ประกอบด ้วยเอนทิต ี้โ ครงสร ้างของข ้อมู ล
ความสั ม พั น ธ์ข องข ้อมู ล กฎเกณฑ์แ ละข ้อจ ากั ด ต่ า งๆ
อย่างไร ข ้อมูลในระดับนี้ เป็ นข ้อมูลทีผ
่ า่ นการวิเคราะห์และ
ออกแบบโดยผู ้บริหารฐานข ้อมูล (DBA) หรือนั กวิเคราะห์
และออกแบบฐานขอ
้ มู ล เ ป็ น ร ะดั บ ข อ ง ข อ
้ มู ล ที่ ถู ก
้ อ้ มู ล ในระดั บ ภายนอกสามารถ
ออกแบบเพื่ อ ให ผ
้ ู ใ้ ช ข
เรียกใชข้ ้อมูลได ้
16
4. ระดับของข้อมู ล
4.3 ระดับภายใน (Internal level หรือ Physical Level)
เป็ นระดับของข ้อมูลทีอ
่ ยูล
่ า่ งสุด ซงึ่ ข ้อมูลจะถูกเก็บ
อยู่จ ริง ในส ื่อ บั น ทึก ข ้อมูล มีโ ครงสร ้างการจั ด เก็ บ ข ้อมูล
รวมถึงการเข ้าถึงข ้อมูลต่างๆ ในฐานข ้อมูล เพือ
่ ดึงข ้อมูลที่
ต ้องการ แสดงดังรูปที่ 2.4
17
4. ระดับของข้อมู ล
4.3 ระดับภายใน (Internal level หรือ Physical Level)
เป็ นระดับของข ้อมูลทีอ
่ ยูล
่ า่ งสุด ซงึ่ ข ้อมูลจะถูกเก็บ
อยู่จ ริง ในส ื่อ บั น ทึก ข ้อมูล มีโ ครงสร ้างการจั ด เก็ บ ข ้อมูล
รวมถึงการเข ้าถึงข ้อมูลต่างๆ ในฐานข ้อมูล เพือ
่ ดึงข ้อมูลที่
ต ้องการ แสดงดังรูปที่ 2.4
18
4. ระดับของข้อมู ล
19
5. รู ปแบบของฐานข้อมู ล
ขอ
้ มู ล ในฐา นข อ
้ มู ล โด ยทั่ ว ไ ปจะถู ก สร า้ งให ม
้ ี
้
โครงสร ้างที่ง่า ยต่อ ความเข ้าใจและการใช งานของผู
้ใช ้
้ ่ในปั จจุบัน มี 3 รูปแบบ
โดยทั่วไปแล ้วฐานข ้อมูลทีม
่ ใี ชอยู
ด ้วยกัน ดังนี้
5.1 ฐานข้อมู ลแบบเชิงสัมพันธ ์ (Relational Database)
ั พันธ์ ประกอบด ้วยกลุม
ฐานข ้อมูลแบบเชงิ สม
่ ของเอนทิตท
ี้ ี่
มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น โดยข อ้ มู ล ของแต่ ล ะเอนทิต ี้จ ะถู ก
จัดเก็บข ้อมูลในรูปแบบของตาราง 2 มิต ิ ในแนวแถว (Row)
และแนวคอลัมน์(Column) โดยบรรทัดแรกของตารางคือ
ื่ แอททริบวิ ต์ แสดงดังรูปที่ 2.5
ชอ
20
5. รู ปแบบของฐานข้อมู ล
21
5. รู ปแบบของฐานข้อมู ล
ื่ มโยงข ้อมูล ระหว่ า งตาราง จะเช อ
ื่ มโยง
ในการเช อ
้
ื่ มโยง
โดยใชแอททริ
บวิ ต์ทม
ี่ อ
ี ยูใ่ นทัง้ สองตารางเป็ นตัวเชอ
ั พันธ์เป็ นรูปแบบทีง่ า่ ย และนิยม
ข ้อมูลกัน ฐานข ้อมูลเชงิ สม
้
ใชในปั
จจุบัน ตัวอย่าง รูปแบบฐานข ้อมูลเชงิ สัมพันธ์ของ
พนั ก งานบริษัทแห่ง หนึ่ง ประกอบด ้วย 3 ตาราง แสดงดั ง
ตารางที่ 2.2 ตารางที่ 2.3 และตารางที่ 2.4
22
5. รู ปแบบของฐานข้อมู ล
ื่ มโยงข ้อมูล ระหว่ า งตาราง จะเช อ
ื่ มโยง
ในการเช อ
้
ื่ มโยง
โดยใชแอททริ
บวิ ต์ทม
ี่ อ
ี ยูใ่ นทัง้ สองตารางเป็ นตัวเชอ
ั พันธ์เป็ นรูปแบบทีง่ า่ ย และนิยม
ข ้อมูลกัน ฐานข ้อมูลเชงิ สม
้
ใชในปั
จจุบัน ตัวอย่าง รูปแบบฐานข ้อมูลเชงิ สัมพันธ์ของ
พนั ก งานบริษัทแห่ง หนึ่ง ประกอบด ้วย 3 ตาราง แสดงดั ง
ตารางที่ 2.2 ตารางที่ 2.3 และตารางที่ 2.4
23
5. รู ปแบบของฐานข้อมู ล
24
5. รู ปแบบของฐานข้อมู ล
25
5. รู ปแบบของฐานข้อมู ล
26
5. รู ปแบบของฐานข้อมู ล
้ (Hierarchical Database) เป็ น
5.2 ฐานข้อมู ลแบบลาดับขัน
ั พันธ์ระหว่างข ้อมูล
ฐานข ้อมูลทีน
่ าเสนอข ้อมูลและความสม
ในรูปแบบของโครงสร ้างต ้นไม ้ ( Tree
Structure)
เป็ น
โครงสร า้ งลั ก ษณะคล า้ ยต น
้ ไม เ้ ป็ นล าดั บ ขั ้น ซ ึ่ง แตก
ออกเป็ นกิง่ ก ้านสาขา ผู ้ทีค
่ ด
ิ ค ้นฐานข ้อมูลแบบนี้ คือ North
้
American Rockwell โดยใชแนวความคิ
ดของโปรแกรม
Generalized Update Access Method (GUAM)
27
5. รู ปแบบของฐานข้อมู ล
โ ค ร ง ส ร า้ ง ข อ ง ฐ า น ข อ
้ มู ล แ บ บ ล า ดั บ ขั ้ น จ ะ มี
โครงสร ้างของข ้อมูลเป็ นลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อลูก
คือ พ่อ (Parent) 1 คนมีลก
ู (Child) ได ้หลายคน แต่ลก
ู มีพ่อได ้
ั พันธ์แบบ 1 ต่อ n) หรือแบบพ่อคนเดียวมี
คนเดียว(ความสม
ลูก 1 คน (ความสัม พั น ธ์แ บบ 1 ต่อ 1) ซ งึ่ จั ด แยกออกเป็ น
ลาดับขัน
้ โดยระดับขัน
้ ที่ 1 จะมีเพียงแฟ้ มข ้อมูล เดียว คือ
พ่อ ในระดับขัน
้ ที่ 2 และระดับขัน
้ ที่ 3 จะมีกแ
ี่ ฟ้ มข ้อมูลก็ได ้
โดยในโครงสร ้างข ้อมูลแบบลาดับขัน
้ แต่ละกรอบจะมีตัวช ี้
(Pointers) หรือหัวลูกศรวิง่ เข ้าหาได ้ไม่เกิน 1 หัว
28
5. รู ปแบบของฐานข้อมู ล
กฎควบคุม ความถูกต ้อง คือ เรคอร์ดพ่อ สามารถมีเร
คอร์ด ลูก ได ้หลายเรคอร์ด แต่เ รคอร์ด ลูก แต่ล ะเรคอร์ด จะ
มีเรคอร์ดพ่อได ้เพียงเรคอร์ดเดียวเท่านั น
้ ตัวอย่าง ร ้านขาย
้
ิ ค ้า พนักงานขายสามารถขาย
เครือ
่ งใชไฟฟ้
า ในการขายสน
ิ ค ้าให ้แก่ ลูกค ้าได ้หลายคน แต่ลก
ื้
สน
ู ค ้าแต่ละคนต ้องซอ
ิ ค ้ากับพนั กงาน 1 คน แต่ก็สามารถซอ
ื้ สน
ิ ค ้าได ้มากกว่า
สน
1 อย่างขึน
้ ไป แสดงดังรูปที่ 2.6 และรูปที่ 2.7
29
5. รู ปแบบของฐานข้อมู ล
30
5. รู ปแบบของฐานข้อมู ล
31
5. รู ปแบบของฐานข้อมู ล
้
ลักษณะเด่นของรู ปแบบฐานข้อมู ลแบบลาดับขัน
ั ซอนน
้
- เป็ นฐานข ้อมูลทีม
่ รี ะบบโครงสร ้างซบ
้อยทีส
่ ด
ุ
- มีคา่ ใชจ่้ ายในการจัดสร ้างฐานข ้อมูลน ้อย
- ลักษณะโครงสร ้างเข ้าใจง่าย
- เหมาะส าหรั บ งานที่ต ้องการค ้นหาข ้อมูล แบบมีเงื่อ นไข
เป็ นระดับและออกรายงานแบบ
เรียงลาดับต่อเนือ
่ ง
- ป้ องกันระบบความลับของข ้อมูลได ้ดี เนื่องจากต ้องอ่าน
แฟ้ มข ้อมูลทีเ่ ป็ นต ้นกาเนิดก่อน
32
5. รู ปแบบของฐานข้อมู ล
้
ข้อจาก ัดของรู ปแบบฐานข้อมู ลแบบลาดับขัน
้ น ม า ก ที่ สุ ด เ มื่ อ เ ที ย บ กั บ
- มี โ อ ก า ส เ กิ ด ค ว า ม ซ้ า ซ อ
ฐานข ้อมูลแบบโครงสร ้างอืน
่
ั พันธ์ระหว่างแฟ้ มข ้อมูลในรูปเครือข่าย
- ขาดความสม
- มีความคล่อ งตัวน ้อยกว่าโครงสร ้างแบบอืน
่ ๆ เพราะการ
เรีย กใช ข้ ้อมูล ต ้องผ่า นทางต ้นก าเนิด (root)
เสมอ ถ ้า
ต ้องการค ้นหาข ้อมูลซงึ่ ปรากฏในระดับล่างๆ แล ้ว จะต ้อง
ค ้นหาทัง้ แฟ้ ม
33
5. รู ปแบบของฐานข้อมู ล
5.3 ฐานข้อมู ลแบบเครือข่าย (Network Database)
ั พันธ์คล ้าย
โครงสร ้างของข ้อมูลแต่ละแฟ้ มข ้อมูลมีความสม
ร่างแห โดยมีลั กษณะโครงสร ้างคล ้ายกับโครงสร ้างแบบ
ล าดั บ ขั ้น แตกต่ า งกั น ตรงที่ โ ครงสร า้ งแบบเครื อ ข่ า ย
สามารถมีต ้นก าเนิดของข ้อมูล ได ้มากกว่า 1 เรคอร์ด การ
ออกแบบลั ก ษณะของฐานข อ
้ มู ล แบบเครื อ ข่ า ยท า ให ้
สะดวกในการค ้นหามากกว่าลักษณะฐานข ้อมูลแบบลาดั บ
ขัน
้ เพราะไม่ต ้องไปเริม
่ ค ้นหาตัง้ แต่ ข ้อมูล ต ้นก าเนิดโดย
ื่ มโยงกันโดยตัวชข
ี้ ้อมูล
ทางเดียว ข ้อมูลแต่ละกลุ่มจะเชอ
ภายในฐานข ้อมูลแบบนี้สามารถมีความสัมพันธ์กันแบบใด
ก็ได ้อาจเป็ นหนึง่ ต่อหนึง่ หนึง่ ต่อกลุม
่ หรือกลุม
่ ต่อกลุม
่ 34
5. รู ปแบบของฐานข้อมู ล
กฎการควบคุมของฐานข้อมู ลแบบเครือข่าย
โครงสร ้างแบบเครือข่ายสามารถยินยอมให ้ระดับขัน
้ ที่ อยู่
เหนื อ กว่า มีห ลายแฟ้ มข ้อมูล แม ้ว่า ระดั บ ขั น
้ ถั ด ลงมาจะมี
เพี ย งแฟ้ มข อ
้ มู ล เดี ย ว โดยเรคอร์ ด ที่ อ ยู่ เ หนื อ กว่ า มี
ความสั ม พั น ธ์กั บ เรคอร์ด ที่อ ยู่ร ะดั บ ล่า งได ้มากกว่ า 1 เร
คอร์ด โดยแต่ ล ะเรคอร์ด สั ม พั น ธ์กั น ด ้วยการลิง ค์ (Links)
ฐานข ้อมู ล แบบเครื อ ข่ า ยจะท าให ส
้ ะดวกในการค น
้ หา
มากกว่ า ฐานข ้อมู ล แบบล าดั บ ขั น
้ เพราะไม่ ต ้องไปเริ่ม
ค ้นหาตั ง้ แต่ข ้อมูล ต ้นก าเนิด โดยทางเดีย ว ข ้อมูล แต่ล ะ
ื่ มโยงกันโดยตัวช ี้
กลุม
่ จะเชอ
35
5. รู ปแบบของฐานข้อมู ล
่ ร ้านขาย
ตัวอย่างของโครงสร ้างข ้อมูลแบบเครือข่าย เชน
ิ ค ้าหลายชนิ ด จาก
อุ ป กรณ์ ค อมพิว เตอร์แ ห่ ง หนึ่ ง สั่ ง ส น
ผู ผ
้ ลิต ส ิน ค า้ หลายๆ บริษั ท แล ว้ น าส ิน ค า้ ไปเก็ บ ไว ใ้ น
ิ ค ้า ซ งึ่ แสดงความสั ม พั น ธ์ข องผู ้ผลิต ส น
ิ ค ้าและ
คลั ง ส น
ิ ค ้า โดยการใช ลู้ ก ศรเช อ
ื่ มโยง แสดงดั ง รูป ที่ 2.8
คลั ง ส น
และรูปที่ 2.9
36
5. รู ปแบบของฐานข้อมู ล
37
5. รู ปแบบของฐานข้อมู ล
38
5. รู ปแบบของฐานข้อมู ล
จ า ก รู ป 2 . 9 พ บ ว่ า ผู ้ผ ลิ ต ส ิ น ค ้า กั บ ส ิ น ค ้า มี
ั พันธ์แบบกลุม
ิ ค ้าแต่ละ
ความสม
่ ต่อกลุม
่ กล่าวคือ ผู ้ผลิตสน
ิ ค ้าได ้มากกว่า 1 ชนิด และสน
ิ ค ้า
บริษัทสามารถขายสง่ สน
แต่ ล ะชนิ ด ก็ ส ามารถสั่ ง ได จ้ ากผู ผ
้ ลิต ส ิน ค า้ มากกว่ า 1
ิ ค ้ากับคลังสน
ิ ค ้า มีความสม
ั พันธ์แบบหนึง่ ต่อ
บริษัท สว่ นสน
ิ ค ้าในคลังสน
ิ ค ้าแต่ละแห่งจะใชเก็
้ บ
หนึง่ กล่าวคือ ทีเ่ ก็บสน
ิ ค ้าแต่ละชนิดเท่านั น
สน
้
39
สรุป
้
้
ระบบฐานข ้อมู ล มีก ารเรีย กใช โดยผู
้ใช หลายกลุ
่ม
้
้ ้มีการแบ่งระดับของข ้อมูล
ข ้อมูลทีผ
่ ู ้ใชสามารถเรี
ยกใชได
้ นไป
ออกเป็ นระดั บ ต่า งๆ เพื่อ ให ้การใช ข้ ้อมูล ของผู ้ใช เป็
อย่า งเหมาะสม โดยข ้อมูล ในฐานข ้อมูล จะถูก สร ้างให ้มี
้
โครงสร ้างทีง่ า่ ยต่อความเข ้าใจและการใชงานของผู
้ใช ้ซงึ่
ฐานข อ
้ มู ล มี โ ครงสร า้ งของฐานข อ
้ มู ล แบ่ ง ออกเป็ น 3
ประเภท ได ้แก่ ฐานข ้อมูลแบบเชงิ สัมพันธ์ ฐานข ้อมูลแบบ
ลาดับขัน
้ และฐานข ้อมูลแบบเครือข่าย ซงึ่ โครงสร ้างของ
ฐานข ้อมู ล แต่ ล ะประเภทจะมีลั ก ษณะการจั ด ระดั บ ของ
ข ้อมูลแตกต่างกัน
40
41