ระบบฐานข้อมูล (Database System)

Download Report

Transcript ระบบฐานข้อมูล (Database System)

ระบบฐานข้ อมูล (Database System)
ความหมายของฐานข้ อมูล
ฐานข้ อมูล หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศ
(Information) ที่ประกอบด้วย Entity หลาย ๆ ตัว
ซึ่งบรรดา Entity เหล่านี้จะต้องมีความสัมพันธ์
กัน
สาเหตุทตี่ ้ องมีฐานข้ อมูล
ระบบงานต่าง ๆ ที่ไม่ได้เป็ นระบบฐานข้อมูล แฟ้ ม
จะถูกออกแบบเพื่อใช้ในเฉพาะงานนั้น และพบ
เสมอว่า แฟ้ มข้อมูลของงานที่อยูค่ นละที่มีขอ้ มูล
เหมือนกัน ซ้ าซ้อนกัน ก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ใน
การทางาน
ตัวอย่ าง
ข้ อดีของการจัดเก็บ ข้ อมูลแบบฐานข้ อมูล
 หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้ (Inconsistency Can Be
Avoided)
 ใช้ขอ้ มูลร่ วมกันได้ (The Data Can Be Shared)
 ลดความซ้ าซ้อนของข้อมูล (Redundancy Can Be Reduced)
 กาหนดความเป็ นมาตรฐานเดียวกันได้ (Standard Can Be Enforced)
ั ข้อมูลได้ (Security
 กาหนดระบบรักษาความปลอดภัยให้กบ
Restriction Can Be Applied)
 การรักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล
 ความอิสระของข้อมูล (Data Independence)
ข้ อเสี ยของการจัดเก็บข้ อมูลแบบฐานข้ อมูล
 ข้อเสี ยของการจัดเก็บข้อมูลแบบฐานข้อมูล
 ต้นทุนสู ง ทุกองค์ประกอบของระบบฐานข้อมูลมีราคา
สูง
 มีความซับซ้อน
 เสี่ ยงต่อการหยุดชะงักของระบบ
องค์ ประกอบของฐานข้ อมูล
องค์ ประกอบฐานข้ อมูลโดยพิจารณาจากการสร้ าง
ฐานข้ อมูล
1) เอนติตี้ (Entity) เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับบุคคล สถานที่
สิ่ งของ หรื อเหตุการณ์ที่ตอ้ งการเก็บข้อมูล
2) ลักษณะเฉพาะของเอนติตี้ (Data items หรือ
Attribute) คือลักษณะของเอนติต้ ีที่ตอ้ งการเก็บข้อมูล
เช่น เอนติต้ ีของนักศึกษาประกอบด้วย attribute คือ รหัส
นักศึกษา, ชื่อ, สกุล, คณะ, กลุ่ม ฯลฯ
องค์ ประกอบของฐานข้ อมูล
3) ระเบียนหรือเรคคอร์ ด (Records) คือ ชุดของลักษณะ
เฉพาะที่เกี่ยวกับเอนติต้ ีหนึ่ง ๆ ซึ่งจะใช้ในการประมวลผล
ด้วยกัน
4) แฟ้มข้ อมูล (File) ประกอบด้วยเรคคอร์ดที่สมั พันธ์กนั
หลาย ๆ อันมารวมกัน เช่น แฟ้ มข้อมูลพนักงานจะ
ประกอบด้วยเรคคอร์ดของพนักงานแต่ละคน
5) ฐานข้ อมูล (Database) ประกอบด้วยแฟ้ มข้อมูลหลาย ๆ
แฟ้ มที่มีความสัมพันธ์กนั มารวมกัน
องค์ ประกอบของฐานข้ อมูล
Entity
นักศึกษา
Attribute / Data Item
รหัสนักศึกษา, ชื่อ – สกุล, คณะ, กลุ่ม, ที่อยู,่ โทรศัพท์
แฟ้มข้ อมูลนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
ชื่อ – สกุล
คณะ
กลุ่ม
ที่อยู่
โทรศัพท์
46111001
น.ส.หนูนุย้ คุยดีจงั
วิทยาการจัดการ
Z
11 ถ.ลูกรัง ต.บ่อยาง
อ.เมือง จ.สงขลา
074-111111
46111002
นายเท่ง
วิทยาการจัดการ
Z
1 หมู่ 5 ต.เขารู ปช้าง
อ.เมือง จ.สงขลา
09-9999999
46111003
น.ส.เน่งน้อย นุ่มนวล วิทยาการจัดการ
Z
50 หมู่ 1 ต.พะวง อ.
เมือง จ.สงขลา
074-444444
เก่งจริ ง
ความสั มพันธ์ ของข้ อมูล
ความสั มพันธ์ ของข้ อมูลแบ่ งเป็ น 3 ประเภทคือ
1) ความสั มพันธ์ แบบ One to One
2) ความสั มพันธ์ แบบ One to Many
3) ความสั มพันธ์ แบบ Many to Many
ความสั มพันธ์ ของข้ อมูล
1) ความสั มพันธ์ แบบ One to One คือความสัมพันธ์
ของข้อมูล 2 ตัว ที่มีลกั ษณะ 1 ต่อ 1 หรื อข้อมูลตัว
หนึ่ง จะมีความสัมพันธ์กบั ข้อมูลอีกตัวหนึ่งได้เพียง
ค่าเดียวเท่านั้น
นักศึกษา
บัตรประจาตัวนักศึกษา
ความสั มพันธ์ ของข้ อมูล
2) ความสั มพันธ์ แบบ One to Many คือ
ความสัมพันธ์ซ่ ึงข้อมูลตัวหนึ่งมีความสัมพันธ์กบั
ข้อมูลตัวอื่นได้หลายอย่าง
ชื่อลูกค้ า
บัญชีธนาคาร
ความสั มพันธ์ ของข้ อมูล
3) ความสั มพันธ์ แบบ Many to Many คือ
ความสัมพันธ์ซ่ ึงข้อมูลตัวหนึ่งมีหลายค่า และมี
ความสัมพันธ์กบั ข้อมูลตัวอื่นได้หลายอย่าง เช่น มีวชิ า
ที่เปิ ดสอนหลายวิชา แต่ละวิชามีนกั ศึกษาหลายคน
ความสั มพันธ์ ของข้ อมูล
3) ความสั มพันธ์ แบบ Many to Many
วิชาระบบสารสนเทศ
สมชาย
สมปอง
วิชาการจัดการ
สมศักดิ์
วิชาเศรษฐศาสตร์
สมทรง
สมทรง
ฐานข้ อมูลเชิงสั มพันธ์ /ศัพท์ ทั่วไป
รี เลชัน่ (Relation) : ตารางข้อมูล(Table)
ทูเพิล(Tuple) : แถว(Row) หรื อ เรคอร์ด (Record)
แอททริ บิวต์(Attribute) : คอลัมน์(Column) หรื อ ฟิ ลด์ (Field)
คาร์ดินาลลิต้ ี(Cardinality) : จานวนแถว(Number Of Rows)
ดีกรี (Degree) : จานวนคอลัมน์ในตาราง(Number of Column)
โดเมน(Domain) : ขอบเขตค่าของข้อมูล
ฐานข้ อมูลเชิงสั มพันธ์ /ศัพท์ ทั่วไป
ความสั มพันธ์ ของตาราง
ประเภทของคีย์
ประเภทของคีย ์ อาจแบ่งเป็ น 2 ประเภทหลัก คือ
1. คีย์หลัก (Primary Key)
เป็ นแอททริ บิวต์ที่มีคุณสมบัติของข้อมูลที่เป็ นค่าเอกลักษณ์หรื อมี
ค่าที่ไม่ซ้ าซ้อนกัน คุณสมบัติดงั กล่าวจะสามารถระบุวา่ ข้อมูลนั้นเป็ น
ข้อมูลของทูเพิล/เรคอร์ดใด แอททริ บิวต์ที่มีคุณสมบัติเป็ นคียห์ ลักอาจ
ประกอบด้ วยหลายแอททริบิวต์ /คอลัมน์ /ฟิ ลด์ รวมกัน เพื่อที่จะกาหนดค่า
ที่เป็ นเอกลักษณ์ได้ คียห์ ลักที่ประกอบด้วยหลายแอททริ บิวต์น้ ีเรี ยกว่า คีย ์
ผสม(Composite Key) นั้นคือเมื่อแอททริ บิวต์แต่ละตัวประกอบกันจึงจะ
ให้ค่าที่เป็ นเอกลักษณ์หรื อไม่ซ้ าซ้อนกันได้
ประเภทของคีย์
Attribute ใดคือ คีย์หลัก (Primary Key) ??
ประเภทของคีย์
2. คีย์นอก (Foreign Key)
เป็ นแอททริ บิวต์ในรี เลชัน่ หนึ่งที่ใช้ในการอ้างอิงถึง
แอททริ บิวต์เดียวกันในอีกรี เลชัน่ หนึ่ง โดยที่แอททริ บิวต์น้ ีจะ
มีคุณสมบัติเป็ นคียห์ ลักในรี เลชัน่ ที่ถูกอ้างอิงถึง การที่มี
แอททริ บิวต์น้ ีปรากฎอยูใ่ นรี เลชัน่ ทั้งสองก็เพื่อประโยชน์ใน
การเชื่อมโยงข้อมูลซึ่งกันและกันนัน่ เอง
ประเภทของคีย์
Attribute ใดคือ คีย์นอก (Foreign Key) ??
กฎทีเ่ กีย่ วข้ องกับคีย์ในระบบฐานข้ อมูลเชิงสั มพันธ์
กฎความบูรณภาพของเอนทิตี้
(The Entity Integrity Rule) กฎข้ อนีร้ ะบุว่า
1.1 ข้อมูลในแอททริ บิวต์จะต้องเป็ นค่าที่เป็ น
เอกลักษณ์หรื อไม่มีค่าซ้ า(Unique)
1.2 เป็ นค่าว่างไม่ได้ (Not Null)
กฎทีเ่ กีย่ วข้ องกับคีย์ในระบบฐานข้ อมูลเชิงสั มพันธ์
กฎความบูรณภาพของการอ้ างอิง
(The Referential integrity Rule)
2.1 ใช้คียน์ อกของรี เลชัน่ หนึ่งไปตรวจสอบกับค่าของแอททริ
บิวต์ที่เป็ นคียห์ ลักของอีกรี เลชัน่ หนึ่ง จึงจะเชื่อมโยงหรื อ
อ้างอิงข้อมูลระหว่าง 2 รี เลชัน่ ได้ หรื อ
2.2 ค่าของคียน์ อกต้องสามารถอ้างอิงให้ตรงกับค่าของคีย ์
หลักได้ จึงจะเชื่อมโยงหรื ออ้างอิงข้อมูลระหว่าง 2 รี เลชัน่ ได้
ใบงานที่ 1 ระบบฐานข้ อมูล (1)
จากภาพจงหาและอธิบายคาต่ อไปนี้ พร้ อมยกตัวอย่ างโดยอิงจากภาพ
รีเลชั่น (Relation)
ทูเพิล (Tuple)
แอททริบิวต์ (Attribute)
คาร์ ดนิ าลลิตี้ (Cardinality)
ดีกรี (Degree)
โดเมน (Domain)
ใบงานที่ 1 ระบบฐานข้ อมูล (2)
จงใช้โปรแกรม EXCEL ออกแบบตาราง ฐานข้อมูล อัน
ประกอบไปด้วย ข้อมูลดังนี้ ID หลัก, ชื่อ-นามสกุล, เพศ,
อายุ, ที่อยู,่ วันเดือนปี เกิด,งานอดิเรก, โดยอาศัยข้อมูลจาก
เพื่อนในห้อง 10 คน