Management Information Systems

Download Report

Transcript Management Information Systems

Chapter 3
Managing Data: Databases and
Warehousing
Information Technology For Management 6th Edition
Turban, Leidner, McLean, Wetherbe
Lecture Slides by L. Beaubien, Providence College
John Wiley & Sons, Inc.
Chapter 3
1
Chapter 3
2
ลูกค้าของเราคือใคร
ปรัชญาตลาดสมัยเก่า ผลิตสินค้า ไปขายลูกค้า
ปรัชญาการตลาดสมัยใหม่ ลูกค้าต้องการอะไร ทา/ผลิตขาย
ลงทุนไปหาลูกค้าใหม่ ใช้ลกู ค้าเก่า ให้ลกู ค้าเก่าซื้อสินค้าใหม่ของเรา
ทาอย่างไรให้เขามาหาเรา เป็ นเรื่องสาคัญที่สดุ เครื่องมือที่สาคัญคือ
CRM
Chapter 3
3
ลูกค้าคือพระเจ้า
ลูกค้าคือคนทีถ่ กู เสมอ
ลูกค้าคือคนทีต่ อ้ งคอยเอาใจ
ลูกค้าคือทีม่ าของธุรกิจ
ลูกค้าคือคนทีน่ ่าเบื่อ
ลูกค้าคือใคร
Chapter 3
คาตอบเหล่านี้ใช่หรือไม่
- คนไข้เป็ นลูกค้าของหมอ
- คนไข้เป็ นพระเจ้า
- คนไข้คอื คนทีถ่ กู เสมอ
- คนไข้คอื คนทีน่ ่าเชือ่
- คนไข้คอื ทีม่ าของธุรกิจ
- คนไข้คอื คนทีเ่ ราจะขายตรง
4
 คาตอบ
 “ เป็ นใครไม่สาคัญเท่ากับ
 ทีร่ วู้ า่ ลูกค้าต้องการอะไรและ เราต้องการอะไรจากลูกค้า “
ลูกค้า จะเป็ นใครไม่สาคัญ สาคัญทีค่ วามต้องการของเขา ตอบสนอง
เขาให้ถกู แล้วเราได้เงิน FTA ( Free Trade Area ) เปิดเสรีทางการ
แพทย์ ถ้า 30 บาท ให้เอกชนทา ภาครัฐก็จะถูกแปรรูปจะเกิดการแข็ง
ขันมากขึน้ เราก็เป็ นลูกค้าเหมือนกัน บางทีเราก็น่าเบื่อ บางอาชีพน่า
เบื่อมาก พวกทนาย ตารวจ ฯลฯ เพราะเป็ นลูกค้าทีเ่ รียกร้องมาก
มีความคาดหวังสูง
Chapter 3
5
ความต้ องการ(ฝังใจ)ของลูกค้ า
คาดหวังสูงในเรือ่ งคุณภาพและบริการ เพราะมีการแข่งขันทุกระดับ
ธุรกิจผูกขาดจะหายไปเรือ่ ย ๆ
ต้องการความสะดวก
ต้องการเป็ นเจ้าของคนเดียว
อ่อนไหวต่อราคา
หลายใจ / ใจง่าย / เลือกมาก ( ไม่รกั นาน )
ไม่รอ
ไม่รจู้ กั พอ
ฯลฯ !!!!!!!!!!!!!!
Chapter 3
6
ปจั จุบนั ลูกค้าคาดหวังสูง ยิง่ มีฐานันดร มีอานาจ ความคาดหวังยิง่ สูง ในด้าน
คุณภาพและบริการธุรกิจผูข้ าดจะหายไปเรือ่ ยๆ ทุกคนต้องการความสะดวก รวดเร็ว
ช้าจะไม่รอ เพราะมีคแู่ ข่งหลากหลายเกิดการแข่งขันทุกระดับ Mass Customization
ลูกค้าในยุคนี้อ่อนไหวต่อราคา หลายใจ
CRM เกิดจาก 4 C หรือ เดิมคือ 4 P
- Customer Center ลูกค้าต้อกงการอะไร ทาขาย = Product
- Cost = Price ราคาขายแพงได้ถา้ ทาให้ลกู ค้ารูส้ กึ ว่าถูก
- Convinience = Place ความสะดวกของลูกค้า
- Communication = Promotion การสือ่ สาร เดิม
Chapter 3
7
อิทธิพลต่อการเลือกซื้อสินค้า 4 F
- Face Value หน้าตา ซือ้ สินค้าเพราะเป็ นหน้า เป็ นตา หน้าใหญ่ จ่าย
แพงกว่าเพือ่ หน้าตา นามบัตรก็บ่งบอก
Face Value ได้
- Family ซือ้ สินค้าเพราะครอบครัว แม่สงซื
ั ่ อ้ ลูกให้ซอ้ื พ่อบอก
ให้ซอ้ื ล้วนมีอทิ ธิพลต่อการซือ้
- Friend เพือ่ นบอกต่อ
- Fortune ซือ้ เพราะเชื่อในโชคลาง ไสยศาสตร์ ความต้องการ
ของลูกค้าขึน้ อยูก่ บั การฝงั ใจเรือ่ งใดเรือ่ งหนึ่ง
Chapter 3
8
Innovation + Network
ความต้องการของลูกค้า เกิดจากปัญหา/ความจาเป็ น/ความอยาก และ
แสวงหาความพอใจ
 ถ้าเป็ นเช่นนี้ เราสนองลูกค้าได้ เราก็จะได้เปรียบ ถ้า CRM ดีลกู ค้าจะมาหา
เราเอง
ถ้าลูกค้าเกิดความอยาก : เราขายแพงได้ : เราต้องหาความต้องการ/
หาสาเหตุของความต้องการ ให้ได้
Chapter 3
9
Harrahs
 A change in the gaming laws in the early 1990s
opened up new gaming opportunities
 Senior management developed a new business
strategy based on creating a brand identity
 The CIO/Director of Strategic Marketing
developed WINet
Chapter 3
10
Harrahs
 WINet’s Patron Database and Marketing
Workbench are used with customer facing
applications, Total Rewards, and offers
 All casinos are operated in an integrated
manner, supporting cross-casino play
 Specialized talent was needed
 Harrahs has become a leader in the gaming
industry
 Won TDWI’s Leadership Award in 2000
Chapter 3
11
Chapter 3
12
การเลือกลูกค้ า
 ความแตกต่าง  อานาจการ ต่อรอง
 ความแตกต่างเกิดจาก :

-การใช้ประโยชน์ของสินค้า/บริการ

-ปริมาณการซือ้

-ฐานะทางการเงิน

-ความเพียงพอของข้อมูล

-ประสบการณ์และการเรียนรู้

-ค่าใช้จา่ ยของผูข้ าย
Chapter 3
13
การเลือกลูกค้า ดูทค่ี วามแตกต่าง เพราะลูกค้ามีความแตกต่าง (ยกเว้น
กลุม่ เป้าหมายทีไ่ ม่แตกต่าง) อานาจการต่อรองทาเขาแตกต่าง เช่นถ้าเราใส่ให้
เขาขาดเราไม่ได้ เราก็จะมีคุณค่ามาก การซือ้ บ่อย ซือ้ มาก ฐานะการเงิน ความ
เพียงพอของข้อมูล ประสบการณ์+การเรียนรู้ ค่าใช้จา่ ยของผูซ้ อ้ื - ผูข้ าย ล้วน
แต่ทาให้เกิดความแตกต่าง ลูกค้าทีด่ คี อื ลูกค้าทีม่ อี านาจต่อรองต่า
Chapter 3
14
Learning Objectives

Recognize the importance of data, managerial
issues, and life cycle

Describe sources of data, collection, and quality

Describe DMS

Describe Data Warehousing and Analytical
Processing

Describe DBMS (benefits and issues)
Chapter 3
15
Learning Objectives (Continued)

Understand conceptual, logical, and physical
data

Understand ERD

The importance of Marketing

The Internet and Data Management
Chapter 3
16
Data Life Cycle Process
Chapter 3
17
ระบบสารสนเทศในองค์ กร
1
ประ
เภท
2
5
6
ระบบประมวลผลรายการ : TPS
ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ : MIS
3
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ : DSS
4
ระบบสารสนเทศเพือ่ ผู้บริหารระดับสู ง : EIS
ระบบสานักงานอัตโนมัติ : OS
ระบบปัญญาประดิษฐ์ และระบบผู้เชี่ยวชาญ : ES
Chapter 3
18
Web-based Data Management
Systems – content and information
Chapter 3
19
ระบบประมวลผลรายการ
Transaction Processing System : TPS
- ระบบประมวลผลข้อมูล (DP : Data Processing Systems)
การนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลเบือ้ งต้น
การประมวลข้อมูลที่เป็ นการดาเนินงานประจาวันภายในองค์กร
Chapter 3
20
Transactional vs. Analytical Data
Processing
Transactional processing takes place in operational
systems (TPS) that provide the organization with the
capability to perform business transactions and produce
transaction reports.

The data are organized mainly in a hierarchical structure
and are centrally processed.
This is done primarily for fast and efficient processing of
routine, repetitive data.
Chapter 3
21
Supplementary activity to transaction processing is
called analytical processing, which involves the analysis
of accumulated data.

Analytical processing, sometimes referred to as business
intelligence, includes data mining, decision support systems
(DSS), querying, and other analysis activities.
These analyses place strategic information in the hands of
decision makers to enhance productivity and make better
decisions, leading to greater competitive advantage.
Chapter 3
22
Forms for Modeling Data (ERD)

Entities

Attributes

Relations
Chapter 3
23
ระบบแฟ้ มข้อมูล (File System)
ทศวรรษที่ 1970 องค์กรส่วนใหญ่มกี ารเก็บข้อมูลด้วย
คอมพิวเตอร์ในลักษณะแฟ้มข้อมูล (File System) โดยการ
เก็บข้อมูลทีละระบบหรือหน่วยงาน
ระบบข้อมูลขององค์การในแต่ละระบบจึงเป็ นอิสระต่อกัน
แต่ละระบบหรือหน่วยงานมีขอ้ มูลของตนเอง
ไม่เชือ่ มโยงกัน
Chapter 3
24
ระบบแฟ้ มข้อมูล (File System)
ฝา่ ยลงทะเบียน
» ข้อมูลนักศึกษา
(ชื่อ เลขทะเบียน ที่อยู่)
» ข้อมูลการลงทะเบียน
ฝา่ ยการเงิน
» ข้อมูลนักศึกษา
(ชื่อ เลขทะเบียน ที่อยู่)
» ข้อมูลการเงิน
ฝา่ ยห้องสมุด
» ข้อมูลนักศึกษา
(ชื่อ เลขทะเบียน ที่อยู่)
» ข้อมูลการยืม-คืนหนัง25สือ
Chapter 3
ปัญหาแฟ้ มข้อมูล





ความซ้าซ้อนของข้อมูล (Data Redundancy)
ความไม่สอดคล้องกันของข้อมูล (Data Inconsistency )
ขาดความยืดหยุน่ (Lack of Flexibility)
ความไม่ปลอดภัยของข้อมูล (Poor Security)
ขาดความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันของข้อมูล (Lack of Data
Integrity)
Chapter 3
26
ปัญหาแฟ้ มข้อมูล



ข้อมูลมีความสัมพันธ์ลกั ษณะขึน้ ต่อกันกับโปรแกรม
(Application/Data Dependencies)
ข้อมูลแยกอิสระต่อกัน (Data Isolation)
ขาดการใช้ขอ้ มูลร่วมกัน (Lack of Data Sharing)
Chapter 3
27
ความหมายของฐานข้อมูล
ฐานข้อมูล (Database หรื อ Databank) คือการจัด
กลุ่มของแฟ้ มข้อมูล ที่มีความสัมพันธ์กนั เพื่อนาไปใช้ในการ
ทางาน โดยใช้ซอร์ฟแวร์ชุดหนึ่ง (DBMS) ซึ่งสามารถ
เข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูลได้ ซึ่งจะช่วยบรรเทาปั ญหาต่าง ๆ ที่
เกิดจากแฟ้ มข้อมูลได้
Chapter 3
28
ฐานข้อมูลและการจัดการฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลมีหลายประเภท เช่น ฐานข้อมูลทางภูมศิ าสตร์ (Geographical
information database), ฐานข้อมูลความรู้ (Knowledge database),
ฐานข้อมูลมัลติมเี ดีย (Multimedia database) เป็ นต้น
Chapter 3
29
ฐานข้อมูลและการจัดการฐานข้อมูล
ระบบการจัดการฐานข้อมูล (Database Management
Systems – DBMS)
คือ ซอร์ฟแวร์หรือกลุม่ ของโปรแกรมทีช่ ว่ ยในการวางแผน
รวบรวมข้อมูล จัดการและเจ้าถึงข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผูใ้ ช้สามารถใช้ DBMS ในการเพิม่ เติมข้อมูล ลบข้อมูล แสดงผล
พิมพ์ ค้นหา เลือก จัดเรียง หรือยกระดับของข้อมูลได้
Chapter 3
30
ฐานข้ อมูลและการจัดการฐานข้ อมูล
(Databases Management)
ฝ่ ายลงทะเบียน
ฝ่ ายการเงิน
DBMS
» ข้ อมูลนักศึกษา
(ชื่อ เลขทะเบียน ทีอ่ ยู่)
» ข้อมูลการลงทะเบียน
» ข้ อมูลการเงิน
» ข้ อมูลการยืม-คืนหนังสือ
ฝ่ ายห้องสมุด
Chapter 3
31
ฐานข้ อมูลและการจัดการฐานข้ อมูล
(Databases Management)
ประเภทของ DBMS
มีหลายประเภท ตั้งแต่เป็ นโปรแกรมที่ใช้กบั
ไมโครคอมพิวเตอร์ จนถึงโปรแกรมที่ใช้กบั เมนเฟรม
นอกจากนี้ขอ้ มูลที่จดั การโดย DBMS ยังสามารถเก็บ
ข้อมูลที่เป็ นรู ปกราฟฟิ ค เสี ยง และรู ปภาพได้ดว้ ย
DBMS
Chapter 3
32
ฐานข้ อมูลและการจัดการฐานข้ อมูล
ส่ วนประกอบของ DBMS
ส่ วนประกอบของ DBMS มี 4 ส่ วนหลัก ๆ คือ
1. โมเดลของข้อมูล (Data Model)
2. ภาษาคาจากัดความของข้อมูล (Data Definition Language – DDL)
3. ภาษาในการจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language –
DML)
4. พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary)
Chapter 3
33
ฐานข้ อมูลและการจัดการฐานข้ อมูล
ส่ วนประกอบของ DBMS
1. โมเดลของข้ อมูล (Data Model)
ทาหน้าที่กาหนดรู ปแบบของโครงสร้างของข้อมูล เช่น
จะเป็ นลาดับขั้น (hierarchy) หรื อ แบบเครื อข่าย
(network) หรื อ แบบความสัมพันธ์ (relational)
Chapter 3
34
ฐานข้ อมูลและการจัดการฐานข้ อมูล
ส่ วนประกอบของ DBMS
2. ภาษาคาจากัดความของข้ อมูล (Data Definition Language –
DDL)
เป็ นการกาหนดลักษณะของข้อมูลในแต่ละเรคคอร์ดหรื อฟิ ลด์
ที่ปรากฏในฐานข้อมูล เช่น จะตั้งชื่อว่าอย่างไร เป็ นข้อมูลชนิด
ไหน ความยาวเรคคอร์ ดเท่าใด รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่าง
เรคคอร์ดต่าง ๆ และลักษณะของคีย ์
Chapter 3
35
ฐานข้ อมูลและการจัดการฐานข้ อมูล
ส่ วนประกอบของ DBMS
3. ภาษาในการจัดการข้ อมูล (Data Manipulation Language –
DML)
เป็ นภาษาที่ใช้ในการถามเกี่ยวกับเนื้อหาในฐานข้อมูล หรื อใช้
เป็ นการเก็บหรื อปรับปรุ งข้อมูลให้ทนั สมัย และการพัฒนา
application นอกจากนี้ยงั ช่วยให้ผใู้ ช้สามารถดึง จัดเรี ยง
แสดงผล ลบข้อมูล ในฐานข้อมูลได้ดว้ ย ภาษาที่ใช้ในการ
จัดการข้อมูล อาจจะใช้ภาษา ยุคที่ 3 ยุคที่ 4 หรื อ ObjectOriented ก็ได้ ตัวอย่าง คือ Structured Query Language (SQL)
Chapter 3
36
ฐานข้ อมูลและการจัดการฐานข้ อมูล
ส่ วนประกอบของ DBMS
4. พจนานุกรมข้ อมูล (Data Dictionary)
เป็ นการเก็บรวบรวมคาจากัดความของข้อมูลและลักษณะ
ข้อมูลต่าง ๆ ที่อยูใ่ นฐานข้อมูล อันจะทาให้เกิดมาตรฐาน
ความสอดคล้องของข้อมูลในแฟ้ มต่าง ๆ และยังทาให้การ
พัฒนาโปรแกรมทาได้รวดเร็ ว เพราะโปรแกรมเมอร์ สามารถ
ดูขอ้ มูลจากพจนานุกรมข้อมูลได้
Chapter 3
37
องค์ ประกอบของฐานข้ อมูล
องค์ประกอบของฐานข้อมูลขึ้นอยูก่ บั มุมมองของการสร้าง
ข้อมูล และมุมมองในลักษณะโครงสร้างลาดับชั้นของข้อมูล
ซึ่งมี 2 ประเภท ดังต่อไปนี้
1. องค์ประกอบฐานข้อมูลโดยพิจารณาจากการสร้าง
ฐานข้อมูล
2. องค์ประกอบฐานข้อมูลพิจารณาจากโครงสร้างข้อมูล
ตามลาดับชั้น
Chapter 3
38
องค์ ประกอบของฐานข้ อมูล
1. องค์ ประกอบฐานข้ อมูลโดยพิจารณาจากการสร้ างฐานข้ อมูล
1) เอนติตี้ (Entity) เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับบุคคล สถานที่ สิ่ งของ
หรื อเหตุการณ์ที่ตอ้ งการเก็บข้อมูล
2) ลักษณะเฉพาะของเอนติตี้ (Data items หรือ Attribute)
คือลักษณะของเอนติต้ ีที่ตอ้ งการเก็บข้อมูล เช่น เอนติต้ ีของ
นักศึกษาประกอบด้วย attribute คือ รหัสนักศึกษา, ชื่อ,
สกุล, คณะ, กลุ่ม ฯลฯ
Chapter 3
39
องค์ ประกอบของฐานข้ อมูล
1. องค์ ประกอบฐานข้ อมูลโดยพิจารณาจากการสร้ างฐานข้ อมูล
3) ระเบียนหรือเรคคอร์ ด (Records) คือ ชุดของลักษณะ
เฉพาะที่เกี่ยวกับเอนติต้ ีหนึ่ง ๆ ซึ่งจะใช้ในการประมวลผล
ด้วยกัน
4) แฟ้มข้ อมูล (File) ประกอบด้วยเรคคอร์ดที่สมั พันธ์กนั
หลาย ๆ อันมารวมกัน เช่น แฟ้ มข้อมูลพนักงานจะ
ประกอบด้วยเรคคอร์ดของพนักงานแต่ละคน
5) ฐานข้ อมูล (Database) ประกอบด้วยแฟ้ มข้อมูลหลาย
ๆ แฟ้ มที่มีความสัมพันธ์กนั มารวมกัน
Chapter 3
40
องค์ ประกอบของฐานข้ อมูล
Entity
นักศึกษา
Attribute / Data Item
รหัสนักศึกษา, ชื่อ – สกุล, คณะ, กลุ่ม, ที่อยู,่ โทรศัพท์
แฟ้มข้ อมูลนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
ชื่อ – สกุล
คณะ
กลุ่ม
ที่อยู่
46111001
น.ส.หนูนุย้ คุยดีจงั
วิทยาการจัดการ
Z
11 ถ.ลูกรัง ต.บ่อยาง
อ.เมือง จ.สงขลา
074-111111
46111002
นายเท่ง
วิทยาการจัดการ
Z
1 หมู่ 5 ต.เขารู ปช้าง
อ.เมือง จ.สงขลา
09-9999999
46111003
น.ส.เน่งน้อย นุ่มนวล วิทยาการจัดการ
Z
50 หมู่ 1 ต.พะวง อ.
เมือง จ.สงขลา
074-444444
เก่งจริ ง
Chapter 3
โทรศัพท์
41
องค์ ประกอบของฐานข้ อมูล
2. องค์ ประกอบฐานข้ อมูลพิจารณาจากโครงสร้ างข้ อมูล
ตามลาดับชั้น
1) บิต (Bit) เป็ นตัวแทนของหน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูล ที่
ประมวลผลโดยคอมพิวเตอร์ (0 1)
2) ไบต์ (Byte) เป็ นตัวอักษรหรื อตัวเลขหรื อสัญลักษณ์ 1 ตัว
บางครั้งอาจจะเรี ยกว่าอักขระ (Character)
3) ฟิ ลด์ (Bit) เป็ นหน่วยที่เล็กที่สุดในลาดับขั้นข้อมูลที่มนุษย์
สามารถแปลความหมายได้ เกิดจากการนาอักขระหลาย ๆ ตัวมา
รวมกัน ทาให้มีความหมายหรื อเป็ นคาขึ้นมา
Chapter 3
42
องค์ ประกอบของฐานข้ อมูล
2. องค์ ประกอบฐานข้ อมูลพิจารณาจากโครงสร้ างข้ อมูล
ตามลาดับชั้น
4) ระเบียนหรือเรคคอร์ ด (Record) เป็ นการรวมกลุ่มฟิ ลด์หลาย
ๆ ฟิ ลด์ที่มีความสัมพันธ์กนั มารวมกันอย่างมีความหมาย
5) ไฟล์ (File) หรื อแฟ้ มข้อมูล เป็ นการนาเรคคอร์ดหลาย ๆ เรคค
อร์ดที่เกี่ยวพันกันมารวมกัน
6) ฐานข้ อมูล (Database) ประกอบด้วยหลาย ๆ ไฟล์ที่เกี่ยวพัน
กันมารวมกัน
Chapter 3
43
โครงสร้ างข้ อมูลตามลาดับชั้น
ฐานข้ อมูลนักศึกษา
ฐานข้ อมูล
(Database)
แฟ้มข้ อมูล
(File)
เร็คคอร์ ด/ระเบียน
(Record)
ฟิ ลด์
(Field)
46111
001
น.ส.หนูนุย้ คุยดีจงั
วิทยาการจัดการ
Z
11 ถ.ลูกรัง ต.บ่อยาง
อ.เมือง จ.สงขลา
074111111
46111
002
นายเท่ง
วิทยาการจัดการ
Z
1 หมู่ 5 ต.เขารู ปช้าง
อ.เมือง จ.สงขลา
099999999
46111
003
น.ส.เน่งน้อย นุ่มนวล
วิทยาการจัดการ
Z
50 หมู่ 1 ต.พะวง อ.
เมือง จ.สงขลา
074444444
46111
002
นายเท่ง
วิทยาการจัดการ
Z
1 หมู่ 5 ต.เขารู ปช้าง
อ.เมือง จ.สงขลา
099999999
เก่งจริ ง
เก่งจริ ง
นิดหน่อย
ไบต์
(Byte)
น
บิต
(Bit)
0 กับ 1
Chapter 3
44
ความสั มพันธ์ ของข้ อมูล
ความสั มพันธ์ ของข้ อมูลแบ่ งเป็ น 3 ประเภทคือ
1) ความสั มพันธ์ แบบ One to One คือความสัมพันธ์ของข้อมูล 2
ตัว ที่มีลกั ษณะ 1 ต่อ 1 หรื อข้อมูลตัวหนึ่ง จะมีความสัมพันธ์กบั
ข้อมูลอีกตัวหนึ่งได้เพียงค่าเดียวเท่านั้น
2) ความสั มพันธ์ แบบ One to Many คือ ความสัมพันธ์ซ่ ึงข้อมูล
ตัวหนึ่งมีความสัมพันธ์กบั ข้อมูลตัวอื่นได้หลายอย่าง
3) ความสั มพันธ์ แบบ Many to Many คือ ความสัมพันธ์ซ่ ึง
ข้อมูลตัวหนึ่งมีหลายค่า และมีความสัมพันธ์กบั ข้อมูลตัวอื่นได้หลาย
อย่าง เช่น มีวิชาที่เปิ ดสอนหลายวิชา แต่ละวิชามีนกั ศึกษาหลายคน
Chapter 3
45
ความสั มพันธ์ ของข้ อมูล
ความสัมพันธ์แบบวันทูวนั
นักศึกษา
บัตรประจาตัวนักศึกษา
ความสัมพันธ์แบบ one to many
ชื่อลูกค้ า
บัญชีธนาคาร
ความสัมพันธ์แบบ many to many
วิชาระบบสารสนเทศ
สมชาย
สมปอง
วิชาการจัดการ
สมศักดิ์
Chapter 3
วิชาเศรษฐศาสตร์
สมทรง
สมทรง
46
5.4 ประเภทของการออกแบบฐานข้อมูล
1. ฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น(Hierarchical
Database Model)
2. ฐานข้อมูลแบบเครื อข่าย(Network Database
Model)
3. ฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์(Relational Database
Model)
Chapter 3
47
ฐานข้ อมูลแบบลาดับชั้น
(Hierarchical Database Model)
มีลกั ษณะเป็ นลาดับชั้นคล้ายคลึงกับความสัมพันธ์ของ
โครงสร้างสายการบังคับบัญชาที่พบในองค์กรทัว่ ไป
โดยมีลาดับชั้นลดหลัน่ กันลงมาเป็ นชั้นๆ ข้อมูล
ข้อมูลที่ใช้ฐานข้อมูลลาดับชั้นจะต้องเป็ นข้อมูลที่มี
ความสัมพันธ์แบบ one to one หรื อ one to many เท่านั้น
Chapter 3
48
Hierarchy of Data
Chapter 3
49
Hierarchy of Data (cont’d)
Chapter 3
50
ตัวอย่าง
พนักงาน
ค่าตอบแทน
อัตราผลตอบแทน
root
การมอบหมายงาน
ประวัตงิ าน
บาเหน็จบานาญ
สวัสดิการ
ประกันชีวิต
First child
สุ ขภาพ
Second child
Chapter 3
51
ฐานข้ อมูลแบบลาดับชั้น
ข้ อดี
ข้ อจากัด
มีประสิ ทธิภาพในการค้นหา
การค้นหาทาได้รวดเร็ ว
เนื่องจากจัดลาดับชั้นและ
ความสัมพันธ์เอาไว้แล้วทาให้
ไม่เสี ยเวลาในการค้นหาข้อมูลที่
ไม่จาเป็ น
ต้องมีการกาหนดลักษณะ
ความสัมพันธ์ของข้อมูลทุกตัว
ก่อนเพื่อจะนามาจัดเป็ น
โครงสร้างได้ และการค้นหา
ข้อมูลมีจากัด นอกจากนี้
โครงสร้างแบบนี้ไม่ได้เหมาะ
กับงานทุกประเภท
Chapter 3
52
ฐานข้ อมูลแบบเครือข่ าย
(Network Database Model)
คล้ายกับฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น แต่ขอ้ มูลมีความสัมพันธ์
กันในลักษณะ many to many เท่านั้น
Chapter 3
53
ฐานข้ อมูลแบบเครือข่ าย
โครงการ A
หน่ วยงาน A
หน่ วยงาน B
โครงการ B
หน่ วยงาน C
Chapter 3
หน่ วยงาน D
54
ฐานข้ อมูลแบบเครือข่ าย
ข้ อดี
ข้ อจากัด
ข้อมูลที่อยูใ่ นเครื อข่ายไม่มี
ข้อจากัดเรื่ องความสัมพันธ์ มี
ความสอดคล้องในโลกของ
ความเป็ นจริ งมากกว่า
มีความซับซ้อนมาก โดยเฉพาะ
ถ้ามีการเพิ่มลบข้อมูลและ
ความสัมพันธ์ การทางานจะ
ซับซ้อนมากและการบารุ งรักษา
จะยากขึ้นตามไปด้วย
Chapter 3
55
ฐานข้ อมูลแบบสั มพันธ์
Relational Database Model
ใช้ตารางเพื่อเก็บข้อมูลให้เป็ นระเบียบ ตารางเหล่านี้เรี ยกว่า ตาราง
ความสัมพันธ์(relations)
การออกแบบฐานข้อมูลแบบความสัมพันธ์จะประกอบด้วยตารางที่
มีขนาดไม่ใหญ่มากนักหลายๆ ตาราง
แต่ละแถวแนวนอนเรี ยกว่า row
ในตารางจะบรรจุขอ้ มูลเป็ นชุดๆ เรี ยกว่า record
ข้อมูล 1 ชนิดในแต่ละชุดเรี ยกว่า field
Chapter 3
56
หลักการพืน้ ฐานในการสร้ าง RDB
 การเรี ยงลาดับก่อนหลังของเซลล์ในแนวตั้ง column หรื อ
แนวนอน row ไม่มีความสัมพันธ์ต่อการค้นหาข้อมูล
 ในแต่ละตารางต้องมีตวั ชี้วดั ความสัมพันธ์ key ที่เชื่อมโยงกับ
ตารางอื่นๆ
 ต้องไม่มีความซ้ าซ้อนในแต่ละตาราง
 ค่าของข้อมูลในแต่ละเซลมีได้ค่าเดียวเท่านั้น
Chapter 3
57
ฐานข้ อมูลแบบความสั มพันธ์
ข้ อดี
เป็ นแนวคิดที่ง่าย และสามารถเชื่อมโยงข้อมูลได้โดยไม่
จาเป็ นต้องทราบความสัมพันธ์ของข้อมูลล่วงหน้า
มีความยืดหยุน่ ต่อผูใ้ ช้สูง และสามารถนาไปใช้กบั แอพพลิเคชัน
ได้หลายอย่าง
มองเห็นโครงสร้างข้อมูลได้ง่าย โดยพิจารณาจากตาราง
Chapter 3
58
ฐานข้ อมูลแบบความสั มพันธ์
ข้ อจากัด
ถ้าฐานข้อมูลมีขนาดใหญ่มากจะประกอบด้วยตาราง
ความสัมพันธ์จานวนมาก ทาให้การออกแบบมีความซับซ้อน
และทาให้การค้นหาข้อมูลหรื อการดึงข้อมูลมีความล่าช้า
ผลจากการค้นหาและการดึงข้อมูลที่ชา้ ทาให้การประมวลผลไม่
มีประสิ ทธิภาพทาให้เกิดการไม่ยอมรับระบบฐานข้อมูลแบบนี้
มีความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันของข้อมูลน้อย เมือ่ เปรี ยบเทียบ
กับแบบลาดับชั้นหรื อแบบเครื อข่าย
Chapter 3
59
5.5 แนวโน้ มของฐานข้ อมูล




Object-Oriented Database Model
Hypermedia
Data Warehouse
Data Mining
Chapter 3
60
Object-Oriented Database Model
 OODB หรื อ O-O Database Model
 เป็ นการจัดการข้อมูลโดยการเก็บทั้งข้อมูลและวิธีการ
จัดการข้อมูลไว้ในอ็อบเจ็ค(Object) ซึ่งสามารถดึงและ
ใช้งานร่ วมกันได้โดยอัตโนมัติ
Chapter 3
61
องค์ ประกอบทีส่ าคัญของ OODB
 อ็อบเจ็ค(Object):เป็ นข้อมูลจานวนมามากนักที่นามารวมกันมี
ความหมายเหมือนกับแอนติต้ ี ซึ่งเป็ นตัวแทนของคน สถานที่
สิ่ งของ แต่ออ็ บเจ็คจะรวมถึงกระบวนการหรื อวิธการที่
เกี่ยวข้องกับการประมวลผลข้อมูลด้วย
 แอตตริ บิวต์ (Attribute): เป็ นลักษณะของ อ็อบเจ็ค ในช่วง
เวลาหนึ่งๆ เช่น อายุของพนักงาน
 วิธีการ(Method):หรื อพฤติกรรมของอ็อบเจ็ค เมื่อเกิดการ
ปฏิบตั ิการขึ้นจะมีการส่ งข้อมูลไปยังอ็อบเจ็คที่ส่งมา เพื่อจะ
กระตุน้ ให้เกิดปฏิบตั ิการอื่นที่ต่อเนื่องกัน
Chapter 3
62
Hypermedia database
 เป็ นการจัดการข้อมูลในลักษณะเหมือนกับเครื อข่ายของโหนด
 แต่ละโหนดจะประกอบด้วยข้อมูลซึ่งจะเป็ นข้อความ รู ปภาพ
เสี ยง ภาพเคลื่อนไหว หรื อโปรแกรมการทางานอื่นๆ
 ฐานข้อมูลแบบ OODB และ Hypermedia จะสามารถเก็บ
ข้อมูลที่มีลกั ษณะซับซ้อนมากกว่าฐานข้อมูลแบบตาราง
 ประสิ ทธิภาพจะช้ากว่าแบบความสัมพันธ์หากมีขอ้ มูลจานวน
มาก
Chapter 3
63
ดาต้ าแวร์ เฮาส์ (Data Warehouse)
 เป็ นฐานข้อมูลที่เก็บข้อมูลทั้งในปัจจุบนั และในอดีตซึ่งดึงมาจาก
ระบบปฏิบตั ิการหลายระบบ และนามารวมกันเพื่อประโยชน์ใน
การจัดทารายงานหรื อวิเคราะห์ขอ้ มูล
 ดาต้าแวร์เฮาส์ประกอบด้วยเครื่ องมือในการถามที่เป็ นมาตรฐาน
(standardized query tool) เครื่ องมือในการวิเคราะห์ และ
เครื่ องมืออานวยความสะดวกในการทางานในลักษณะกราฟิ ก
 ดาต้าแวร์เฮาส์สามารถทาการวิเคราะห์ขอ้ มูลในเชิงวิเคราะห์
แนวโน้ม หรื อเจาะหาข้อมูล (drill) ในรายละเอียดเมื่อต้องการได้
Chapter 3
64
Data mart
 หมายถึงดาต้าแวร์เฮาส์ขนาดเล็ก ซึ่งประกอบด้วยข้อมูล
ขององค์กรบางส่ วน สาหรับผูใ้ ช้กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
โดยเฉพาะ
Chapter 3
65
ส่ วนประกอบของดาต้ าแวร์ เฮาส์
แหล่งข้อมูล
ภายใน
ข้อมูลปฏิบตั ิการ
ข้อมูลในอดีต
การดึง&
เปลี่ยนแปลงข้อมูล
แหล่งข้อมูล
ภายนอก
ดาต้ า
แวร์ เฮาส์
การเข้าถึง
ข้อมูลและ
การวิเคราะห์
•การถามและการรายงาน
•OLAP
•ดาต้าไมน์น่ ิ ง
ข้อมูลภายนอก
ไดเรกทอรี
ของสารสนเทศ
ข้อมูลภายนอก
Chapter 3
66
ลักษณะที่สาคัญของดาต้ าแวร์ เฮาส์
 ข้อมูลมาจากฐานข้อมูลหลายแห่ง
 ดาต้าแวร์เฮาส์มีหลายมิติ
 ดาต้าแวร์เฮาส์ใช้สนับสนุนการตัดสิ นใจ ไม่ใช่
ประมวลผลรายการ
Chapter 3
67
การสร้ างดาต้ าแวร์ เฮาส์ จากฐานข้ อมูลปฏิบัตงิ าน
การโฆษณาทัง้ หมด
ดาต้า
แวร์เฮาส์
ข้อมูลลูกค้าแยกตามเขตพื้นที่
วงเงินเครดิตเฉลี่ย
ยอดขายเฉลี่ยจาแนกรายปีและรายไตรมาส
ฐานข้อมูลด้านการตลาด
ฐานข้อมูลด้านการขาย
Chapter 3
ฐานข้อมูลลูกค้า
68
ลักษณะหลายมิตขิ องดาต้ าแวร์ เฮาส์
ปี 2546
ปี 2545
ปี 2544
ปี 2543
ภาคกลาง
ภาคเหนื อ
ภาคตะวันออก
เฉี ยงเหนื อ
ภาคใต้
สินค้า 1 สินค้า 2 สินค้า 3 สินค้า 4
Chapter 3
69
ดาต้ าไมนน์ นิ่ง(Data Mining)
 ดาต้าไมน์นิ่งเป็ นเครื่ องมือของซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการ
วิเคราะห์สารสนเทศโดยอัตโนมัติ เพื่อค้นหารู ปแบบ
และความสัมพันธ์ของข้อมูลในดาต้าแวร์เฮาส์รวมทั้ง
พยากรณ์แนวโน้มและพฤติกรรมในอนาคต
(Stair&Reynolds,1999:Turban, et al.,(2001))
Chapter 3
70
จุดมุ่งหมายของดาต้ าไมน์ นิ่ง
 การดึงรู ปแบบ แนวโน้มและกฎเกณฑ์จากข้อมูลใน
ดาต้าแวร์เฮาส์เพื่อที่จะประเมินกลยุทธ์ของหน่วยงาน
 ปรับปรุ งความได้เปรี ยบในการแข่งขัน
 เป็ นวิธีการที่นามาใช้ในด้านการตลาด เช่น การรักษา
ลูกค้า การจัดโฆษณา ช่องทางการตลาด การวิเคราะห์
ราคา
Chapter 3
71
ส่ วนประกอบของดาต้ าไมน์ นิ่ง
 เครื่ องมือในการถามและจัดทารายงาน(Query-andreporting-tools)
 อุปกรณ์ดา้ นปัญญาประดิษฐ์(Intelligent Agents)
 เครื่ องมือในการวิเคราะห์ขอ้ มูลหลายมิติ
(Multidimensional analysis tools-MDA)
Chapter 3
72
ส่ วนประกอบของดาต้ าไมน์ นิ่ง
อุปกรณ์ในการถาม
และจัดทารายงาน
ปั ญญาประดิษฐ์
ดาต้าแวร์เฮาส์เอนจิน
(Data Warehouse Engine)
ดาต้า
แวร์เฮาส์
เครื่องมือการวิเคราะห์
หลายมิติ
Chapter 3
73
ประเด็นการบริหารเกีย่ วกับดาต้ าแวร์ เฮาส์
 ทุกคนหรื อทุกองค์กรต้องการดาต้าแวร์เฮาส์หรื อไม่ เนื่องจากมี
เหตุผลด้านดาต้าแวร์เฮาส์ดงั นี้
 ค่าใช้จ่ายค่อนข้างสู ง
 บางหน่วยงานไม่จาเป็ นต้องมีดาต้าแวร์ เฮาส์
 หน่วยงานที่ดูแลด้านคอมพิวเตอร์ มากพอในการพัฒนาหรื อไม่
 หลายองค์กรมีดาต้าแวร์เฮาส์อยูแ่ ล้ว
 ผูใ้ ช้เป็ นใคร?
 สารสนเทศจะต้องได้รับการปรับปรุ งให้ทนั สมัยมากน้อยเพียงไร
Chapter 3
74
ประเด็นการบริหารอืน่ ๆ ของฐานข้ อมูล
 ฐานข้อมูลแบบใดมีความเหมาะสมที่สุด
 ใครควรเป็ นผูด้ ูแลสารสนเทศขององค์กร
 ฐานข้อมูลและแอพพลิเคชั้นของฐานข้อมูลควรได้รับการพัฒนาและ
บารุ งรักษาอย่างไร
 ใครเป็ นเจ้าของสารสนเทศ
 จริ ยธรรมในการจัดการสารสนเทศคืออะไร
Chapter 3
75
สรุ ป
 ระบบแฟ้ มข้อมูลเป็ นการจัดเก็บข้อมูลแบบเดิม ซึ่งมีปัญหาใน
ด้านความซับซ้อนของข้อมูล ความไม่สอดคล้องกันของข้อมูล
ขาดความยืดหยุน่ ไม่ปลอดภัย เป็ นอิสระแก่กนั
 ฐานข้อมูลคือการจัดการกลุ่มแฟ้ มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กนั
โดยจะมีซอฟต์แวร์ Database management system-DBMS
ช่วยในการจัดการข้อมูล ซึ่งจะลดข้อเสี ยของระบบแฟ้ มแบบ
เก่าได้
Chapter 3
76
DBMS
มีส่วนประกอบดังนี้
 โมเดลของข้อมูล(Data Model)
 ภาษาคาจากัดความของข้อมูล(Data definition language)
 ภาษาในการจัดการข้อมูล(Data manipulation language)
 พจนานุกรมข้อมูล(Data dictionary)
Chapter 3
77
The Data Warehouse & Data Management
Chapter 3
78
Managerial Issues
Cost-benefit issues and justification
Where to store data physically
Legal issues
Internal or external?
Data Delivery
Chapter 3
79
Managerial Issues (Continued)
Disaster recovery
Data security and ethics
Ethics: Paying for use of data
Privacy
Legacy Data
Chapter 3
80
Chapter 3
Copyright © 2008 John Wiley & Sons, Inc. All rights reserved. Reproduction or translation
of this work beyond that permitted in Section 117 of the 1976 United States Copyright Act
without the express written permission of the copyright owner is unlawful. Request for
further information should be addressed to the Permissions Department, John Wiley &
Sons, Inc. The purchaser may make back-up copies for his/her own use only and not for
distribution or resale. The Publisher assumes no responsibility for errors, omissions, or
damages, caused by the use of these programs or from the use of the information
contained herein.
Chapter 3
81