ภาพนิ่ง 1

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1

เอกสารหรื อหลักฐานที่จัดทาขึน้ จากความรู้ ความสามารถ
ทักษะและประสบการณ์ ของผู้จัดทา โดยการศึกษา ค้ นคว้ า
วิเคราะห์ สั งเคราะห์ วิจัย และได้ นาไปใช้ ในการแก้ ปัญหา
หรือพัฒนางานในหน้ าทีจ่ นเกิดผลดีต่อการพัฒนาคุณาาพ
การจั ด การจั ด การศึ ก ษาและเป็ น ประโยชน์ ต่ อ ความ
ก้ าวหน้ าทางวิชาการ
เอกสารหรือหลักฐานเกี่ยวกับการสอนที่แสดงถึงความชานาญ
หรือเชี่ยวชาญในด้านนัน้ ๆ รวมถึงผลงานในลักษณะอื่นซึ่งใช้
ประโยชน์ในการสอน หรือการจัดการศึกษาได้เป็นอย่างดี
1) ตรงก ับสาขาวิชาทีข
่ อให้มห
ี รือเลือ
่ นวิทยฐานะ
2) เป็นผลงานทีเ่ กีย
่ วก ับการพ ัฒนาการเรียนการสอน
ในกลุม
่ สาระการเรียนรูห
้ รือสาขาวิชาต่างๆ และ
้ ระโยชน์ในการเรียนการสอน
ใชป
3) เกิดจากการปฏิบ ัติงานตามหน้าทีค
่ วามร ับผิดชอบ
ทางด้านการสอน
เอกสารหรือหลักฐานเกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษาที่แ สดงถึง
ความชานาญหรื อเชี่ ยวชาญและเป็ นประโยชน์ ในการบริ หาร
สถานศึกษาหรือจัดการศึกษาได้ เป็ นอย่ างดีโดยมีลกั ษณะ
ข้ อใดข้ อหนึ่งหรือทั้งสองข้ อดังนี้
1) เป็ นผลงานที่เกี่ยวการบริหารสถานศึกษา ได้แก่ ด้านวิชาการ
บริหารแผนและงบประมาณบริหารงานบุคคลและด้านการบริหารทั่วไป
2) เป็ นผลงานที่เกี่ยวกับการพัฒนาการเรียนการสอนในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้หรือ สาขาวิชาต่างๆ
เอกสารหรือหลักฐานเกี่ยวกับการนิเทศ
การเรียนการสอน การพัฒนาและปรับปร ุง
ค ุณภาพการศึกษาและพัฒนาเทคนิค
วิธีการนิเทศการศึกษาที่แสดงถึงความ
ชานาญหรือเชี่ยวชาญและเป็นประโยชน์
ต่อการพัฒนาค ุณภาพการศึกษา
• ผลงานทางวิชาการของครู :
เอกสารหรือหลักฐานทีแ่ สดงถึงความเชี่ยวชาญในการสอน
• ผลงานทางวิชาการของศึกษานิเทศก์ :
เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงถึงความเชี่ยวชาญ
ในการนิเทศการศึกษา
• ผลงานทางวิชาการของผู้บริหารฯ :
เอกสารหรือหลักฐานทีแ่ สดงถึงความเชี่ยวชาญ
ในการบริหารสถานศึกษา
ครูทเี่ ก่ งทีส่ ุ ด
- ครู ทสี่ ามารถรายงานให้ ทราบได้ ว่า
1.
2.
3.
4.
นักเรียนของท่ านมีปัญหาอะไร
ครู ใช้ วธิ ีการอะไรแก้ปัญหา
วิธีการที่ใช้ ได้ ผลอย่ างไร
ปี หน้ าจะทาอย่ างไร
ครู
o
o
o
o
o
รู้ ตoวั ศีเองล
าูมริ ู้
รู้ นoักคุเรีณยธรรม
น
่
อ
งที
่
ส
อน
าูมธิ รรม รู้วoชิ าการ/เรื
จริยธรรม
ชุมo ชน/สิ
่
ง
แวดล้
อ
ม
เที
ย
่
งธรรม
าูมฐิ าน สังoคมยุตธิ รรม
ฯลฯพครู
มีเจตคติที่ดตี ่ อoอาชี
กลับ
1. ผลงาน งานแต่ง เรียบเรียง งานแปลหนังสือ หรือเขียนบทความทางวิชาการ
ซึ่งเป็ นผลงานทีไ่ ด้ รับการพิมพ์เผยแพร่ มาแล้ว และผลงานดังกล่าวสามารถ
นาไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์ ต่อการพัฒนาคุณาาพการศึกษา
2. ผลงานวิจัย
ซึ่งเป็ นงานวิจัยที่ได้ รับการพิมพ์เผยแพร่ มาแล้ว และผลงานดังกล่าวสามารถ
นาไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์ ต่อการพัฒนาการจัดการศึกษาและการพัฒนาคุณาาพ
การศึกษา
3. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่ น
3.1 การประเมินงาน หรือการประเมินโครงการที่เกีย่ วกับการปฏิบัติงานในหน้ าที่
3.2 สื่ อ นวัตกรรมทางการศึกษา เช่ น ผลงานด้ านการจัดทาสื่ อการเรียนการสอน
3.3 เอกสารประกอบการปฏิบัติหน้ าที่ เป็ นเอกสารทีส่ ามารถใช้ ประกอบในการปฏิบัติ
หน้ าทีท่ ้งั ด้ านการเรียนการสอน บริหารจัดการศึกษา และการนิเทศการศึกษา
หมายเหตุ
แผนการจัดการเรียนรู้ ให้ ใช้ เป็ นเอกสารประกอบการประเมินคุณาาพ
ปฏิบัติงานเท่ านั้น มิให้ นามาใช้ เสนอเป็ นผลงานทางวิชาการ
ผลงานทางวิชาการทีไ่ ด้ ร่วมจัดทากับผู้อนื่ ในรูปคณะทางานหรือกลุ่ม ต้ องชี้แจงให้
ชัดเจนว่ าผู้ขอมีส่วนร่ วมในการจัดทาในส่ วนใด ตอนใดหน้ าใดบ้ าง คิดเป็ นร้ อยละ
เท่ าไรของผลงานทางวิชาการแต่ ละเล่มและให้ ผู้ร่วมจัดทาทุกรายรับรองพร้ อมทั้ง
ระบุว่าผู้ร่วมจัดทาแต่ ละรายได้ จัดทาส่ วนใดบ้ าง
ไม่ เป็ นผลงานทางวิชาการทีใ่ ช้ เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาเพือ่ รับปริญญาหรือ
ประกาศนียบัตรใดๆ หรือผลงานทางวิชาการทีเ่ คยใช้ เพือ่ เลือ่ นตาแหน่ งหรือเพือ่
ให้ มีวิทยฐานะหรือเลือ่ นวิทยฐานะมาแล้ว
ด้ านคุณาาพของผลงานทางวิชาการ
• รูปแบบ
• เนือ้ หาสาระ
• ความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์
• การอ้ างอิง
• การพิมพ์และการจัดทารูปเล่ ม
ด้ านประโยชน์ ของผลงานทางวิชาการ
• การจัดทา การทดลองใช้ การนาไปใช้ จริง
องค์ ความรู้ทเี่ กิดขึน้
• ผลจากการนาไปใช้ ว่ามีประโยชน์ มากน้ อยเพียงใด
• การเผยแพร่ ผลงานทางวิชาการที่จัดทา
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
หนังสื อ
ตารา
เอกสารประกอบการสอน
เอกสารคาสอน
บทความทางวิชาการ
ผลงานวิจัย
งานแปล
รายงานการศึกษาค้ นคว้ า
สื่ อการเรียนการสอน
รายงานโครงการต่ าง ๆ
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอืน่
1. หนังสื อ
เอกสารทางวิชาการหรือกึง่ วิชาการ ทีไ่ ด้
เรียบเรียงอย่างมีระบบ เข้าปกเย็บเล่มเรียบร้อย
ั
้ หาอย่างชดเจน
มีสารบ ัญ แบ่งหมวดหมูข
่ องเนือ
้ ักษรต ัวพิมพ์และมีการเผยแพร่
(ตีพม
ิ พ์) ใชอ
้ หาจะต้องมีความละเอียดสมบูรณ์ และลึกซงึ้
เนือ
มาก แต่ไม่จาเป็นต้องครอบคลุมรายวิชาใด
วิชาหนึง่ โดยเฉพาะ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1.1 หนังสื อแบบเรียน
• เอกสารที่จดั เป็ นรู ปเล่ม ใช้สาหรับการเรี ยน มีสาระตรงตามที่ระบุ
ไว้ในหลักสู ตรอย่างถูกต้อง อาจมีลกั ษณะเป็ นหนังสื อเล่มเดียวตาม
กลุ่มวิชาหรื อรายวิชาใด หรื อเป็ นชุด คือ มีหลายเล่มหลายชนิดอยูใ่ น
ชุดเดียวกันได้ และอาจมีแบบฝึ กหัดประกอบด้วยเพื่อเป็ นสื่ อการเรี ยน
สาหรับให้ผเู้ รี ยนได้ฝึกปฏิบตั ิเพื่อให้เกิดทักษะและแตกฉานในบทเรี ยน
สาหรับรายวิชาที่เน้นทักษะและการปฏิบตั ิ
1.2 หนังสื อเสริมประสบการณ์
หนังสื อทีจ่ ัดทาขึน้ เพือ่ ให้ ผู้เรียนและผู้สอนใช้ ประกอบ
การเรียนการสอน แต่ มิได้ กาหนดเป็ นหนังสื อเรียนหรือ
แบบเรียน เป็ นหนังสื อเพือ่ การศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง
เพือ่ ความสนุกสนานเพลิน เพือ่ สร้ างเสริมทักษะและ นิสัย
รักการ อ่ าน หรือเพือ่ เพิม่ พูนความรู้ความเข้ าใจในสิ่ งที่เรียน
ตามฃหลักสู ตรให้ กว้ างขวางขึน้ จาแนกเป็ น 4 ประเาท คือ
1.2 หนังสื อเสริมประสบการณ์
มี 4 ประเาท คือ
(1) หนังสืออ่ านนอกเวลา
(2) หนังสืออ่ านเพิม่ เติม
(3) หนังสือส่ งเสริมการอ่ าน
(4) หนังสืออ้ างอิง
2. ตารา
เอกสารทีใ่ ช้ ในการเรียนวิชาใดวิชาหนึ่ง โดยเฉพาะทีไ่ ด้ เรียบเรียง
อย่ างมีระเบียบ เช่ น ประกอบด้ วย คานา สารบัญ เนือ้ เรื่ อง สรุป
และการอ้ างอิงทีค่ รบถ้ วน สมบูรณ์ ทนั สมัย โดยจะต้ องมีเนือ้ หา
สาระอย่ างละเอียดครอบคลุมวิชาหรือส่ วนของวิชาทีต่ นมีความ
เชี่ยวชาญโดยมีวตั ถุประสงค์ ทใี่ ช้ เป็ นหลักในการเรียนการสอน
ตามหลักสู ตรทีใ่ ช้ ในสถานศึกษา และต้ องจัดทาเป็ นรู ปเล่ มอย่ าง
เรียบร้ อย
หน้ าปก ใบรองปก
หน้ าปกใน หน้ าลิขสิ ทธิ์
คานา
สารบัญ สารบัญาาพ สารบัญตาราง
จุดประสงค์ รายวิชา
มาตรฐานรายวิชา
คาอธิบายรายวิชา
เนือ้ หา
บรรณานุกรม
าาคผนวก (ถ้ ามี)
 ใบรองปก ปกหลัง










3. เอกสารประกอบการสอน
เอกสารที่ใช้ ประกอบการสอนวิชาใดวิชาหนึ่ง
ตามหลักสู ตรทีใ่ ช้ ในสถานศึกษา มีหลายประเาท เช่ น
3.1 ชุดการสอน : เอกสารที่จัดทาขึน้ สาหรับใช้ สอน
วิชาใดวิชาหนึ่งซึ่งอาจจะจัดทาไว้ เฉพาะเรื่อง
หรือรวมตลอดทั้งหลักสู ตรก็ได้
3.2 แบบเรียนสาเร็จรู ป : เป็ นบทเรียนที่เขียนครบกระบวน
การเรียนการสอน จัดทาขึน้ เพือ่ ให้ นักเรียนศึกษาด้ วย
ตนเองมีลกั ษณะสาคัญ คือ ถูกต้ องตามรู ปแบบ
ประกอบด้ วย
(1) บทเรียนโปรแกรม
(2) ชุดการเรียน
(3) แผนการสอนทีม่ ีแบบฝึ กหัดเฉลยและมีการทดสอบ
4. เอกสารคาสอน
เอกสารคาบรรยาย หรืออุปกรณ์ ทใี่ ช้ สอนวิชาใด
วิชาหนึ่งตามหลักสู ตรของหน่ วยงานการศึกษา
องค์ ประกอบสาคัญ มีเนือ้ หาสาระคาสอนที่มี
ความสมบูรณ์ กว่ าเอกสารประกอบการสอน
จัดพิมพ์เป็ นโรเนียวก็ได้ แต่ ต้องทาเป็ นรู ปเล่ ม
5.
บทความทางวิชาการ
เอกสารซึ่ งเรี ยบเรี ยงจากผลงานทางวิชาการของตนเองหรื อ
ผู้อื่นในลักษณะที่เป็ นการวิเคราะห์ หรื อเสนอแนวความคิด
ใหม่ ๆ จากพืน้ ฐานทางวิชาการนั้น ๆ จะได้ ตีพิมพ์ เผยแพร่
ในวารสารทางวิชาการ ในสาขาวิชาที่เผยแพร่ โดยสม่าเสมอ
หรื อในหนั งสื อรวบบทความทางวิชาการ โดยการนาเสนอ
ต่ อทีป่ ระชุมสั มมนาก็ได้
1.
2.
3.
4.
มีตวั ความรู้อาจจะเป็ นของผู้เขียนเอง หรือผู้อนื่
มีการวิเคราะห์ ตวั ความรู้น้ัน
มีข้อคิดเห็น/ข้ อเสนอแนะ/ข้ อวิจารณ์ ของผู้เขียน
บทความนั้นควรเผยแพร่ มาแล้ วไม่ เกิน 3 ปี
6.
ผลงานวิจัย
ผลงานการศึ กษาค้ นคว้ าอย่ างมีร ะบบและมีความมุ่ งหมายที่ชั ดเจน
แน่ นอน เพื่อให้ ได้ มาซึ่งทฤษฏี หลักการ ปัญหา วิธีการแก้ ปัญหา การ
รั บรอง หลักการหรื อการพิสูจน์ ทฤษฏี ซึ่ งนาไปสู่ ความก้ าวหน้ าทาง
วิ ช าการ สามารถน าผลการวิ จั ย ไปพั ฒ นาหลั ก การหรื อ ทฤษฏี ใ ห้
สมบู ร ณ์ ยิ่ ง ขึ้น หรื อ สามารถน ามาประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ ห้ เ ป็ นประโยชน์ ต่ อ
การศึกษา โดยอาจเป็ นการวิจัยในเชิงทดลอง การวิจัยเชิงสารวจ หรื อ
การวิจัยเชิ งปฏิบัติการก็ได้ โดยมีลักษณะเป็ นเอกสารที่มี รูปแบบของ
การวิจยั ตามหลักวิชาการ
7. งานแปล
ตาราหรื อหนังสื อที่แปลจากาาษาหนึ่งเป็ นอีกาาษาหนึ่งให้ ได้
ใจความถูกต้ องตรงตามต้ นฉบับเดิม ให้ สื่อความหมายเป็ นที่
เข้ าใจแก่ ผ้ ูอ่าน และได้ เรียบเรียงตลอดจนปรั บปรุ งรายละเอียด
ให้ เหมาะสมในกรณีจ าเป็ น งานแปลนี้อ าจแปลมาจากตารา
หรือหนังสื อเล่ มใดเล่ มหนึ่ง หรือแปลเฉพาะบางตอนของตารา
หรือหนังสื อหลายเล่ ม แล้ วนามารวบรวมเป็ นเล่ มใหม่ ก็ได้
8.
รายงานการศึกษาค้ นคว้ า
เอกสารจากการศึ กษาค้ นคว้ าเรื่ องที่เกี่ยวกับวิชาที่สอนหรื อวิชาในาาค
ปฏิบัติ โดยการแสวงหาความรู้ จากตารา หนังสื อ บทความทางวิชาการ
และจากการเข้ าร่ วมสั มมนา การอาิปรายและการทดลอง หรื อในงานที่
ปฏิบัติ และจากแหล่ งความรู้ ต่าง ๆ เพื่อปรั บปรุ งวิธีการสอนที่ปฏิบัติใน
หน้ าที่ให้ ทันสมัยมีประสิ ทธิาาพ เช่ น การเสนอวิธีการสอนหรื อวิธีการ
ปฏิบัติงานในหน้ าที่ที่ได้ ผลดียิ่งขึ้น แล้ วนาเสนอเป็ นเอกสารรายงาน
กรณีที่มีการศึ กษาค้ นคว้ าเพื่อจัดทาวัสดุอุปกรณ์ ที่เป็ นสื่ อการเรี ยนการ
สอนก็ให้ ส่งตัวอย่ างวัสดุอุปกรณ์ น้ันมาเป็ นหลักฐานด้ วย
องค์ ประกอบการเขียนรายงานการศึกษาค้ นคว้ า
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
บทนา
วรรณกรรมทีเ่ กีย่ วข้ อง
วิธีดาเนินการ
ผลการดาเนินการ
สรุป อาิปรายผล และข้ อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
าาคผนวก (เครื่องมือ การรวบรวมข้ อมูล การวิเคราะห์
าาพประกอบ (ถ้ ามี)
9. สื่ อ/อุปกรณ์ การเรียนการสอน
สื่ อ นวัตกรรม หรื อสิ่ งประดิษฐ์ มีลักษณะเป็ น
อุปกรณ์ ที่ผลิตออกมาใช้ ประกอบการเรี ยนการสอน
วิชาใดวิช าหนึ่ ง เพื่อช่ ว ยเสริ มสร้ างการเรี ยนการ
สอนให้ มีประสิ ทธิาาพยิ่งขึ้น ผลงานทางวิ ชาการ
ลักษณะนีจ้ ะต้ องมีเอกสารประกอบด้ วย
1.
2.
3.
4.
5.
จัดทาถูกหลักวิชาการ
มีวธิ ีพฒ
ั นา
มีคาชี้แจงและเหตุผลในการทา
คู่มอื ประกอบเพือ่ แนะนาวิธีทาและวิธีใช้
รายงานการใช้ มีองค์ ประกอบ คือ บทนา
วิธีดาเนินการ ผลการดาเนินการข้ อเสนอเพือ่ การ
ปรับปรุง
10.
รายงานโครงการ
โครงการที่ดาเนินกิจกรรมเกีย่ วกับสาขาวิชาที่สอน หรือ
งานทีป่ ฏิบัตเิ กีย่ วกับการศึกษา โดยระบุเหตุผลหรือความ
จาเป็ น วัตถุประสงค์ และเป้ าหมาย และผลกระทบอืน่ ๆ
และประโยชน์ ต่อนักเรียนนักศึกษาทั่วไป ทั้งนี้จัดทาเป็ น
เอกสารเสนอดังกล่ าวอย่ างละเอียด
องค์ ประกอบการเขียนรายงานโครงการ
1.
2.
3.
4.
5.
บทนา
รายละเอียดโครงการและวรรณกรรมทีเ่ กีย่ วข้ อง
วิธีการดาเนินงานหรือวิธีการประเมินโครงการ
ผลการดาเนินโครงการ หรือการประเมินโครงการ
สรุป อาิปรายผล และข้ อเสนอแนะ
11.
ผลงานทางวิชาการอืน่ ๆ
ผลงานทางวิ ช าการอื่ น ที่ มิ ใ ช่ ผลงานทาง
วิชาการ ตาม ข้ อ 1 – 10 โดยปกติหมายถึง
สิ่ งประดิษฐ์ หรืองานสร้ างสรรค์ ที่มี คุณค่ า เช่ น
เครื่องทุ่นแรง ผลงานศิลปะ ฯลฯ
บทที่ 1
สงิ่ แวดล้อม
แบบที่ 1
1. ความนา
2. สงิ่ แวดล้อมทางธรรมชาติ
2.1 ล ักษณะภูมป
ิ ระเทศ
2.1.1 ภูมป
ิ ระเทศหล ัก
2.1.2 ภูมป
ิ ระเทศรอง
2.2 ล ักษณะภูมอ
ิ ากาศ
2.2.1 อุณหภูม ิ
2.2.1 นา้ ฝน
2.2.1.1 ปริมาณ
2.2.1.2 การกระจาย
(1) ดดดดดดดดด
(2) พพพพพพพพ
6. สรุป
เอกสารอ้างอิง (ถ้ามี)
บทที่ 1
สงิ่ แวดล้อม
แบบที่ 2
ความนา ............................................
..................................................................
1.1 สงิ่ แวดล้อมทางธรรมชาติ
1.1.1 ล ักษณะภูมป
ิ ระเทศ
1.1.1.1 ภูมป
ิ ระเทศหล ัก
1.1.1.2 ภูมป
ิ ระเทศรอง
1.1.2 ล ักษณะภูมอ
ิ ากาศ
1.1.2.1 อุณหภูม ิ
1.1.2.1 นา้ ฝน
(1) ปริมาณ
(2) การกระจาย
1.6 สรุป
เอกสารอ้างอิง (ถ้ามี)
บทที่ 1
สงิ่ แวดล้อม
แบบที่ 2
ความนา ..........................................
..................................................................
1.1 สงิ่ แวดล้อมทางธรรมชาติ
1.1.1 ล ักษณะภูมป
ิ ระเทศ
1.1.1.1 ภูมป
ิ ระเทศหล ัก
1.1.1.2 ภูมป
ิ ระเทศรอง
1.1.2 ล ักษณะภูมอ
ิ ากาศ
1.1.2.1 อุณหภูม ิ
1.1.2.1 นา้ ฝน
(1) ปริมาณ
(2) การกระจาย
1.6 สรุป
เอกสารอ้างอิง (ถ้ามี)
บทที่ 1
สงิ่ แวดล้อม
(ความนา) .......................................
..................................................................
แบบที่ 3
สงิ่ แวดล้อมทางธรรมชาติ
............................................................
........................................................................
1. ล ักษณะภูมป
ิ ระเทศ
1.1 ภูมป
ิ ระเทศหล ัก
2. ล ักษณะภูมอ
ิ ากาศ
2.1 อุณหภูม ิ
2.2 นา้ ฝน
2.2.1 ปริมาณ
ั
สงิ่ แวดล้อมทางสงคม
1. ………………………………………..
2. ………………………………………..
(สรุป) .............................................
..................................................................
เอกสารอ้างอิง (ถ้ามี)
การพัฒนาการเรียนการสอน
โดยใช้ การวิจัยในชัน้ เรียน
วิทยาศาสตร์ พนื ้ ฐาน
2000-1401
เจริญ บางเสน
ยินดี สมาธิ
ศึกษานิเทศก์ ชานาญการพิเศษ
ครู ชานาญการพิเศษ
ศูนย์ ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา
ภาคใต้
วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
มิถุนายน 2549
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
มิถุนายน 2549
การพิมพ์
1. การตั้งค่ าหน้ ากระดาษ
- หัวหระดาษ 1.5 นิว้ ท้ ายกระดาษ 1 นิว้ กั้นหน้ า 1.5 นิว้ กั้นหลัง 1 นิว้
2. ขนาดอักษร ถ้ าพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ เนือ้ หาทั่วไปให้ ใช้ ตัวอักษรขนาด
16 P หัวข้ อหลัก ขนาด 18 P ตัวหนา หัวข้ อรอง ขนาด 16 P ตัวหนา
3. การพิมพ์หัวข้ อหลักให้ พมิ พ์ติดเส้ นกั้นหน้ า
4. หัวข้ อรอง ซึ่งเป็ นข้ อย่ อยของหัวข้ อหลักให้ ย่อหน้ าลึกเข้ ามา 9 ตัวอักษร
และอยู่ห่างจากข้ อความของหัวข้ อหลักข้ างบน 1 บรรทัด
5. หัวข้ อย่ อยซึ่งเป็ นข้ อย่ อยของหัวข้ อรอง (ข้ อ 3) ให้ ย่อหน้ ามาให้ ตรงกับ
แนวข้ อความของหัวข้ อรอง และให้ ช่องว่ างห่ างจากบรรทัดบน 1 บรรทัด
การพิมพ์
6. หัวข้ อย่ อยของหัวข้ อย่ อย ให้ ย่อหน้ าให้ ตรงกับข้ อความของหัวข้ อย่ อย
ข้ างบน และให้ อยู่ห่างจากข้ อความแถวข้ างบน
7. ถ้ าหากมีข้อย่ อยมากกว่ านี้ ให้ จัดระบบเหมือนข้ อ 5
8. หัวข้ อหลัก และ หัวข้ อรอง จะเป็ นหัวข้ อลอย ส่ วนหัวข้ อย่ อยอืน่ ๆ
พิมพ์ต่อจากหัวข้ อได้ เลย โดยไม่ ต้องย่ อหน้ า และขึน้ บรรทัดใหม่
9. เนือ้ หาแต่ ละหน้ าควรมีประมาณ 25 บรรทัด (อัดสาเนา) และประมาณ
30 บรรทัด (พิมพ์จากโรงพิมพ์ )
10. ผลงานฯ ต้ องเขียนเป็ นาาษาไทยเท่ านั้นยกเว้ นาาษาต่ างประเทศ
จะเขียนเป็ นาาษาต่ างประเทศทั้งหมดหรือผสมกับาาษาไทยก็ได้
การพิมพ์
11. คาแปลศัพท์ ทางเทคนิค
- ใช้ คาศัพท์ บัญญัติของราชบัณฑิตยสถาน
- การวงเล็บาาษาอังกฤษกากับไว้ ทาเพียงครั้งเดียวเท่ านั้น
12. การเขียนาาษาอังกฤษในวงเล็บคาศัพท์ ทางเทคนิค
- ใช้ อกั ษรธรรมดา
- การขึน้ ต้ นด้ วยตัวพิมพ์ใหญ่ (capitalize)
ใช้ ตามหลักการเขียนตัวอักษรตัวใหญ่ ขนึ้ ต้ นในคาในาาษาอังกฤษ
13. คาศัพท์ ทางเทคนิคทีเ่ ป็ นาาษาอังกฤษและยังไม่ มีคาแปล
- เขียนาาษาไทยทับศัพท์ ตามหลักการเขียนทับศัพท์ ของราชบัณฑิตยสถาน
และให้ วงเล็บคาาาษาอังกฤษเดิมไว้ ข้างหลังคาาาษาไทย
การพิมพ์
13. การใช้ เครื่องหมายวรรคตอน ใช้ ตามทีร่ าชบัณฑิตยสถานกาหนด
14. รูปาาพหรือแผนาูมิ
- ต้ องชัดเจนและสื่ อความหมายได้
- ต้ องบอกทีม่ าของ รูปาาพ แผนาูมิ ตาราง
- คาอธิบายของรูปเอาไว้ ข้างล่าง คาอธิบายของตารางเอาไว้ ข้างบน
- ถ้ าคัดลอกมา ให้ อ้างอิงทีม่ าของรูปและตารางไว้ ข้างล่าง
15 ระบบรูปาาพ และตารางให้ ใช้ เป็ นระบบตัวเลข
- รู ปหรือแผนาูมิในบทที่ 1 ขึน้ ต้ นด้ วยรู ปที่ 1.1 , 1.2, บทที่ 2 เป็ น รู ปที่ 2.1 2.2
- ตาราง ระบบเดียว กัน คือ บทที่ 1 ขึน้ ต้ นด้ วยตารางที่ 1.1, 1.2 ฯลฯ
- จานวนรูป และตาราง จะนับแยกจากกัน
การพิมพ์
16. ตาราง รูปาาพ หรือแผนาูมิทอี่ ้างอยู่หน้ าเดียวกับข้ อเขียนนั้นหรือ
ในหน้ าถัดไป
17. การอ้างาาพ หรือตารางทีก่ ล่าวไว้ ในบทก่อน ให้ วงเล็บรูปทีห่ รือ
ตารางที่ในข้ อเขียนนั้น ไม่ ต้องเขียนใหม่
18. ไม่ ควรแทรกตาราง หรือรูปาาพ ลงในระหว่ างเนือ้ หาทีย่ งั ไม่ จบความ
19. ระบบพิมพ์ตัวเลขและการอ้างอิง ใช้ ระบบเดียวตลอดทั้งเล่ม
20. ชื่อบทไม่ ควรวงเล็บาาษาอังกฤษใส่ ไว้ ถ้ าหากต้ องการจะให้ มีจะต้ อง
เหมือนกันทุกบท
การจัดทารู ปเล่ม
1. ขนาดเล่ มหนังสื อใช้ กระดาษขนาด A 4 หรือ 8 หน้ ายก
2. การจัดทารู ปเล่ ม มีองค์ ประกอบ และจัดเรียงตามลาดับ ดังนี้
- หน้ าปก ใบรองปก หน้ าปกใน หน้ าลิขสิ ทธิ์
- คานา สารบัญ สารบัญาาพ สารบรรณตาราง
- เนือ้ หา
- บรรณานุกรม าาคผนวก
- ปกหลัง เป็ นต้ น
การจัดทารู ปเล่ม
3. เข้ าเล่ มให้ สวยงาม ทนทานไม่ หลุดง่ าย
4. จัดพิมพ์จากโรงพิมพ์ต้องมีสันหนังสื อด้ วย
5. หน้ าคานา สารบัญ สารบัญาาพ และสารบัญตาราง
ใช้ ตัวอักษร ก ข ค หรือ ตัวเลข ในวงเล็บ เช่ น (1) (2) (3)
กากับหน้ า
6. หน้ าทีเ่ ป็ นบทที่ หรือบรรณานุกรม ไม่ ต้องพิมพ์เลขหน้ า
กากับไว้
การจัดทารู ปเล่ม
7. หนังสื อ ตารา หรือเอกสารประกอบการสอน ต้ องพิมพ์ 2 หน้ า
ยกเว้ นงานวิจยั สามารถพิมพ์หน้ าเดียวก็ได้
8. ขึน้ บทใหม่ ต้ องขึน้ หน้ าใหม่ เสมอ และให้ อยู่หน้ าขวามือ
9. หัวข้ อหลักไม่ ควรขึน้ ไว้ ต่อท้ ายหน้ าใดหน้ าหนึ่ง โดยไม่ สามารถ
พิมพ์ข้อความอืน่ ในข้ อนั้นต่ อไปได้ อกี
10. การแปลตาราจากาาษาต่ างประเทศ ต้ องขออนุญาตเจ้ าของ
ลิขสิ ทธิ์เสี ยก่ อน
บรรณานุกรม : บัญชีรายชื่อหนังสื อหรือเอกสารทีใ่ ช้ ประกอบการค้ นคว้ า
เอกสารอ้ างอิง : รายชื่อหนังสื อหรือเอกสารที่นามาอ้ างอิงใน
การเขียนผลงานเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ
ถ้ าผู้เขียนต้ องการให้ ผ้ ูอ่านได้ ทราบถึงรายชื่อหนังสื อหรือเอกสารเพือ่
การศึกษาค้ นคว้ าต่ อไป ให้ ใช้ คาว่ า “บรรณานุกรม” (Bibliography)
ถ้ าต้ องการให้ ผ้ ูอ่านทราบว่ า มีเอกสารอะไรบ้ างทีผ่ ู้เขียนได้ นามา
ประกอบการเขียนและใช้ อ้างอิงให้ ใช้ คาว่ า “เอกสารอ้ างอิง”
(References)





เริ่มพิมพ์หน้ าใหม่ พิมพ์คาว่ า “บรรณานุกรม” หรือ “ เอกสารอ้ างอิง”
กลางหน้ ากระดาษ โดยไม่ ต้องขีดเส้ นใต้
เรียงตามลาดับอักษรชื่อผู้แต่ ง ตั้งแต่ ก-ฮ หรือ A-Z ให้ เรียงบรรณานุกรม
หนังสื อาาษาไทยไว้ ก่อน แล้วตามด้ วยหนังสื อาาษาต่ างประเทศ
พิมพ์บรรณานุกรม แต่ ละรายการติดกับกั้นหน้ า ถ้ ารายการเดียวพิมพ์ไม่ พอ
ในหนึ่งบรรทัด ให้ ขนึ้ บรรทัดใหม่ ย่อหน้ าเข้ าไปประมาณ 7 ช่ วงอักษรให้
พิมพ์ตัวที่ 8 ถ้ าไม่ จบใน 2 บรรทัดให้ ต่อในบรรทัดที่ 3 และ 4 ตามลาดับ
โดยพิมพ์ให้ ตรงกับบรรทัดที่ 2 จนจบรายการ
การพิมพ์รายชื่อเอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม แต่ ละรายการให้ ขึน้
บรรทัดใหม่ ทุกครั้ง
การเว้ นระยะการพิมพ์หลังเครื่องหมายวรรคตอนทุกตัวเว้ น 1 ระยะเสมอ
แบบที่ 1 ลงรายการ ผู้แต่ ง ปี ทีพ่ มิ พ์ และเลขหน้ า ไว้ ในวงเล็บ
(1) กรณีอ้างอิงแทรกไว้ หน้ าประโยค
เจริญ บางเสน (2545: 23) กล่ าวว่ า การอาชีวศึกษาระบบทวิาาคี หมายถึง ..........
(2) กรณีอ้างอิงแทรกไว้ ท้ายประโยค
การอาชีวศึกษาระบบทวิาาคี หมายถึง .......... (เจริญ บางเสน, 2545: 23)
แบบที่ 2 ลงรายการ ผู้แต่ ง และปี ทีพ่ มิ พ์ โดยไม่ มีเลขหน้ า ไว้ ในวงเล็บ
(1) กรณีอ้างอิงแทรกไว้ หน้ าประโยค
เจริญ บางเสน (2545) กล่ าวว่ า การอาชีวศึกษาระบบทวิาาคี หมายถึง ..........
(2) กรณีอ้างอิงแทรกไว้ ท้ายประโยค
การอาชีวศึกษาระบบทวิาาคี หมายถึง .......... (เจริญ บางเสน, 2545)
มีอยู่ 2 ระบบใหญ่ ๆ คือ
• ระบบ MLA (Modern Language Association Style) ใช้ อ้างอิงในสาขา
มนุษยศาสตร์ (Humanities) เรียกอีกอย่ างหนึ่งว่ า Humanities Style
• ระบบ APA (American Psychological Association Style) ใช้ อ้างอิงใน
สาขาสั งคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (Social Sciences and Science)
ชื่อหนึ่งของระบบนีค้ อื Scientific Style
การลงรายการประกอบด้ วย 4 ส่ วน ดังนี้
1.
2.
3.
4.
ชื่อผู้แต่ ง
ปี ที่พมิ พ์
ชื่อเรื่อง
ข้ อมูลเกีย่ วกับการพิมพ์ ข้ อมูลเกีย่ วกับการพิมพ์
ประกอบด้ วย 2 ส่ วน
4.1 สถานที่พมิ พ์
4.2 สานักพิมพ์และโรงพิมพ์











พจนานุกรม ของราชบัณฑิตยสถาน
พจนานุกรมศัพท์ เทคนิค ............ (สาขาที่เขียน)
พจนานุกรมศัพท์ การศึกษา
พจนานุกรมศัพท์ บัญญัติ
พจนานุกรมคาทับศัพท์
หลักการเขียนคาทับศัพท์
คู่มือการทาวิทยานิพนธ์
การใช้ เครื่องหมายวรรคตอน
อ่ านอย่ างไร เขียนอย่ างไร
สารานุกรม (สาขาทีเ่ กีย่ วข้ อง)
ฯลฯ
1. ในคาแรกของประโยคที่สมบูรณ์ เช่ น
- Let’s put our heads together and fine a plan.
3. ในคาแรกของประโยคที่ตามหลังเครื่ องหมาย : เช่ น
- The author made one main point : No explanation that has been ………..
4. ในคาหลัก (ที่มใิ ช่ คา conjunction, articles, และ prepositions) เช่ น
ชื่อหนังสือ ชื่อบทความ ชื่อบท ชื่อหัวข้ อ หรื อหัวข้ อหลัก ชื่อหัวข้ อรอง ชื่อ
ตาราง ชื่อรู ป เช่ น
- In her book, History of Pathology.
5. ในคาที่เป็ นชื่อเฉพาะ ชื่อการค้ า ชื่อคน ชื่อสถานที่ ชื่อที่ทางาน ชื่อองค์ การ
ที่ใช้ เป็ นการเฉพาะ
- Vocational Education Committee.
6. ในคานามที่มีตวั เลขหรือตัวอักษรตามหลัง เช่ น
On Day 2 หรือ Experiment 4 หรือ Group B
7. ในคาที่เป็ นชื่อแบบทดสอบ เช่ น
Advanced Vocabulary Test
8. ชื่อหนังสือ ชื่อบทความ ที่เขียนในการลงรายงานใน
บรรณานุกรม หรือในรายการเอกสารอ้ างอิงให้ ขนึ ้ ต้ นด้ วย
ตัวอักษรตัวใหญ่ เฉพาะคาแรกที่เป็ นคาหลัก ส่ วนคาอื่น ๆ
ให้ เขียนอักษรตัวธรรมดา ยกเว้ น คาที่เป็ นชื่อเฉพาะ
การเขียนเอกสารประกอบการสอน งานแต่ งเรียบเรียงหนังสื อตารา
1.1 รู ปแบบของการเขียน ควรคานึงถึงเรื่องต่ าง ๆ เช่ น การ
พิมพ์ ประณีต ชัดเจน เว้ นวรรคตอนและช่ องไฟ มีความต่ อเนื่อง
ในการเสนอเนือ้ หา มีหัวข้ อชัดเจน ใช้ ศัพท์ ทางเทคนิคถูกต้ อง มี
การอ้ างอิงแหล่ งวิชาการที่ผู้เขียนได้ ศึกษาค้ นคว้ า (เช่ น คัดลอก
หรื อยกข้ อความ าาพ แผนาู มิ าาพประกอบ ตาราง ฯลฯ) ใน
รู ปแบบที่สม่าเสมอ และจัดทาบรรณานุกรม และหรื อาาคผนวก
ได้ อย่ างถูกต้ องและเหมาะสม
1.2 ความถูกต้ องในด้ านเนือ้ หาวิชา ควรคานึงถึงความถูกต้ องของ
ข้ อมูล ทฤษฏี สู ตร ศักราช การทดลอง การตีความ หลักฐานอ้ างอิง
การเสนอแนวความคิดและเหตุผล ความทันสมัยของหลักวิชาการ
เนือ้ หา สาระ และข้ อมูล
1.3 การใช้ าาษา าาษาทีใ่ ช้ เขียนต้ องเป็ นาาษาไทย เว้ นแต่ ตารา
หนังสื อ หรือเอกสารทีใ่ ช้ ประกอบการเรียนการสอนวิชาาาษา
ต่ างประเทศ หรือหนังสื อตารา หรือเอกสารทีม่ ีความจาเป็ นพิเศษ
ทีจ่ ะต้ องเขียนเป็ นาาษาต่ างประเทศ ให้ เขียนาาษาต่ างประเทศได้
1.4 ความถูกต้ องเหมาะสมในด้ านการใช้ าาษา
การใช้ ถ้อยคาต้ องให้ ชัดเจนแจ่ มแจ้ ง ถูกหลักาาษาและ
ตรงความหมาย
 เขียน ตัวสะกดการั นต์ ต้องถูกต้ อง ศัพท์ บัญญัตต
ิ ่ าง ๆ
ต้ องถูกต้ องและให้ ตรงกันตลอดทั้งเล่ ม
 การใช้ วรรคตอนเหมาะสม ข้ อความอ่ านเข้ าใจง่ าย กระชั บ
และมีความสั มพันธ์ กนั เป็ นอย่ างดี
 การเรี ยบเรี ยงเรื่ องราวในแต่ ละย่ อหน้ า แต่ ละบท ต้ องมี
ความเกีย่ วเนื่องกัน
 สานวนและโวหารต้ องเป็ นาาษาเขียนและเหมาะกับเรื่ อง
แต่ ละตอน

1.5 ความสมบูรณ์ และความลึกซึ้ง
ขอบเขตคลุมเนือ้ หาวิชาทีผ่ ้ ูเขียนมุ่งหมายครบถ้ วน
 การอธิบายหรื อวิเคราะห์ ควรให้ ละเอียดถี่ถ้วน และลึกซึ้ง
 ควรมีส่วนประกอบอืน
่ เช่ น าาพประกอบ ตาราง แผนาูมิ
ฯลฯ
 ควรเสนอแนะหนังสื อหรื อเอกสารประกอบการศึกษาอืน
่ ๆ
ที่เกีย่ วข้ อง เช่ น หนังสื อ ตารา วารสาร และงานวิจยั

1.6 ความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์ และความทันสมัยในวงวิชาการ
มีเนือ้ หาสาระทีม่ ีความใหม่ สร้ างสรรค์ เกิดประโยชน์ แก่ วง
วิชาการ
 มีข้อมูลใหม่ ๆ ทีส
่ อดคล้ องกับความเปลีย่ นแปลงทาง
วิชาการในปัจจุบัน
 แหล่ งข้ อมูลทีน
่ ามาใช้ ในการศึกษาค้ นคว้ า เช่ น หนังสื อ
ตาราทีม่ ีเนือ้ หาเป็ นปัจจุบันและทันสมัย

1. ปัญหาหรือข้ อบกพร่ องของผลงานทางวิชาการประเาทงานแต่ งเรียบเรียง





ผลงานทางวิชาการไม่ ตรงกับสาขาวิชาที่ขอ
การวางโครงเรื่อง ไม่ เหมาะสมตามลาดับเหตุผลทางวิชาการ และไม่ ครบ
ตามหลักสู ตร
เนือ้ หาไม่ ทันสมัยไม่ มีรายละเอียดเพียงพอในแต่ ละเรื่องขาดการอ้างอิง
การใช้ าาษา ระดับความยากง่ าย ไม่ เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน ใช้
าาษาพูดแทนาาษาเขียน ใช้ าาษาอังกฤษมากเกินไป ใช้ าาษาไม่ คงที่
การใช้ าาพ าาพกับเนือ้ หาไม่ สอดคล้องกัน าาพไม่ ชัดเจน ไม่ สมจริง
ขาดข้ อความที่เชื่อมโยงเนือ้ หากับาาพ ไม่ มีคาอธิบายาาพ ไม่ บอกทีม่ า
1. ปัญหาหรือข้ อบกพร่ องของผลงานทางวิชาการประเาทงานแต่ งเรียบเรียง





แผนาูมิ ตาราง ข้ อมูลไม่ ทนั สมัย ขาดแหล่งอ้างอิง ไม่ สอดคล้องกับเนือ้ หา
การจัดลาดับหัวข้ อ ไม่ เหมาะสมตามความสาคัญ
การพิมพ์ พิมพ์ผดิ พิมพ์ตก วรรคตอนไม่ ถูกต้ อง แก้คาผิดด้ วยปากกา และ
ขาดความประณีต
มีส่วนทีเ่ ป็ นของผู้เขียนน้ อย เป็ นผลงานในลักษณะรวบรวมจากเอกสาร
ต่ าง ๆ โดยมิได้ เรียบเรียงใหม่ และไม่ ได้ นามาเสนอในส่ วนที่เป็ นความคิด
การวิเคราะห์ หรือสั งเคราะห์ ของผู้เขียนเอง
การอ้างอิง การอ้างอิงทีไ่ ม่ ทันสมัย อ้างอิงไม่ เป็ นระบบ อ้างอิงไม่ สมบูรณ์ ไม่
มีบรรณานุกรม
2. ปัญหาหรือข้ อบกพร่ องของผลงานทางวิชาการประเาทรายงานการวิจัย






การกาหนดปัญหา ไม่ น่าสนใจหรือมีประโยชน์ น้อย หรือบางครั้งปัญหานั้น
ทราบอยู่แล้ว โดยไม่ ต้องวิจัย
าูมิหลักของงานวิจัย มีน้อยไม่ ชัดเจน ในประเด็นทีจ่ ะต้ องทาการวิจัย
ความมุ่งหมายในการวิจัย ไม่ ชัดเจนพอทีจ่ ะนาไปสู่ องค์ ประกอบอืน่ ๆ เช่ น
ตัวแปร สถิติที่ใช้
เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ องมีน้อยหรือมีมากแต่ ไม่ ตรงกับเรื่องทีว่ จิ ัย
กลุ่มตัวอย่ าง น้ อยเกินไปวิธีการสุ่ มตัวอย่ างไม่ ถูกต้ อง
เครื่องมือและวิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล ขาดความเทีย่ งตรงและ ความ
เชื่อมั่น วิธีการเก็บข้ อมูลไม่ เหมาะสม
2. ปัญหาหรือข้ อบกพร่ องของผลงานทางวิชาการประเาทรายงานการวิจัย





สถิติทใี่ ช้ วเิ คราะห์ ข้อมูล ใช้ สถิติไม่ ถูกต้ องเหมาะสมกับลักษณะของข้ อมูล
นั้น ๆ เพือ่ ให้ ได้ ตรงตามที่ต้งั ใจ
การวิเคราะห์ ข้อมูลผิดพลาด บิดเบือนหรือแก้ไขข้ อมูลนั้น ๆ
สรุปการวิจัย ไม่ สรุปการวิจัยมาตั้งแต่ ต้น โดยย่ อเรื่องเพือ่ ให้ เป็ นาาพรวม
อย่ างสั้ น ๆ แต่ ครอบคลุมการวิจัย ทาให้ ผู้อ่านมองเห็น เข้ าใจตลอด
กระบวนการของการวิจัย
การอาิปรายผลไม่ นาเอกสารและผลงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ องมาอาิปราย
ข้ อเสนอแนะ ไม่ อยู่บนพืน้ ฐานหรือข้ อมูลทีไ่ ด้ จากการวิจัยหรือเสนอแนะ
ตามความคิดของผู้วจิ ัยเอง ข้ อเสนอแนะไม่ กว้ างขวางพอ
สวัสดีครับ