การประเมินกระบวนการจัดทำแผนสุขภาพระดับตำบล.ptt

Download Report

Transcript การประเมินกระบวนการจัดทำแผนสุขภาพระดับตำบล.ptt

LOGO
การประเมินกระบวนการจัดทาแผนสุ ขภาพ
ระดับตาบล กรณีศึกษา : จังหวัดสงขลา
The Evaluation of Health Plan Development in Tumbon Level
Case study: In Songkhla Province
อาจารย์ทปี่ รึกษา
ผศ.ดร.พงค์ เทพ สุ ธีรวุฒิ
นาเสนอโดย นส.ปาริชาติ สุ ขสุ วรรณ์ รหัสนักศึกษา 510721011
ความสาคัญและความเป็ นมา
ความสาคัญและความเป็ นมา
ร้ อยละ 90 เป็ นความเจ็บป่ วยโดยไม่ จาเป็ น เช่ น
อุบัตเิ หตุ, เอดส์ , โรคเบาหวานและหัวใจ เป็ นต้ น
แนวความคิดการแพทย์ ชีวภาพ
( Biomedicine)การแพทย์ แบบแยกส่ วน
แนวคิดสามเหลีย่ มเขยือ้ นภูเขา
การจัดการความรู้
ความเจริญ
คุณภาพชีวติ
สุขภาวะ
การเรี ยนรู้
เอกชน
ศีลธ
รรม
สื่ อ
นโยบายสาธารณะ
ประชาสังคม
ประชาชน
ยุทธศาสตร์ แผน
การมีส่วนร่ วม
เศรษฐกิจ
รัฐ การเมือง
จิต
กาย
ปั ญญา
สั งคม
สาธารณะ
ชุมชน
ครอบครั ว
ปั จเจกบุคคล
นโยบายสาธารณะ คือ ทิศทางหรื อแนวทางทีส่ ังคมโดยส่ วนรวมเห็นว่ าหรื อเชื่ อว่ า
ควรทีจ่ ะดาเนินการไปในทางนั้น โดยเป็ นแนวทางทีเ่ ป็ นสัมมาทิฐิ
ภายใต้พน
ื้ ฐานแห่ งศีลธรรมและความสมดุลทางเศรษฐกิจ
( ประเวศ วะสี , 2545 )
ความสาคัญของแผนสุ ขภาพระดับตาบล
ความสาคัญของแผนสุ ขภาพ
1. แผนเป็ นเครื่องมือหนึ่งทีใ่ ช้ ฟื้นพลังของชุมชน เมื่อชุ มชนเข้ มแข็งจัดได้
ว่ าเป็ นยุทธศาสตร์ หนึ่งทีส่ นับสนุนสั งคมให้ มีสุขภาวะทีด่ ีได้
(ขนิษฐา, 2550)
2. กระบวนการในการจัดทาแผนโดยจัดโอกาสให้ ผ้ทู สี่ นใจทีอ่ ยู่ต่าง
องค์ กรแต่ มีภารกิจในประเด็นเดียวกันได้ มาแลกเปลีย่ นเรียนรู้ซึ่งกัน
และกัน ได้ มาทาความเข้ าใจระหว่ างกัน เห็นข้ อจากัด เห็นจุดแข็ง เกิด
การเชื่อมต่ อ ในการทางานร่ วมกันต่ อไปในอนาคตได้ เป็ นอย่ างดี ( อ้าง
ใน เครือข่ ายสร้ างสุ ขภาพจังหวัดสงขลา, 2551 )
งานวิจัยผลของกระบวนการจัดทาแผน
แผนพัฒนาแบบมีส่วนร่ วมในการจัดการระบบสุ ขภาพภาคประชาชนของหมู่บ้าน/
ชุ มชนในตาบลทัพทัน พบว่ าไม่ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 75 ทั้งนีเ้ พราะประชาชนยังขาด
ความเข้ าใจในเรื่องกระบวนการจัดการระบบสุ ขภาพและความเชื่อมโยงด้ าน
สุ ขภาพ (สมนึก หงส์ ยมิ้ และสมภพ เจิมขุนทด, 2549)
 ปัจจัยสนับสนุนโดยเฉพาะอบต. ทีไ่ ด้ ให้ การสนับสนุนเกือ้ กูลและประสานงาน
เป็ นอย่างดี แสดงให้ เห็นถึงความเข้ มแข็งของชุ มชน รวมถึงความสามารถในการ
จัดการปัญหาต่ างๆของชุ มชนได้ ด้วยชุ มชนเอง (นิคม ดีพอ, 2541)
 การจัดทาแผนสุ ขภาพจังหวัดสงขลา โดยจะเป็ นในลักษณะ 14 ประเด็นหลัก
เพือ่ สร้ างสุ ขภาวะเป็ นเสมือนการวางรากฐานการทางานร่ วมกันระหว่ าง
เครือข่ ายภาคประชาชนและภาคีทเี่ กีย่ วข้ อง (สุ ภัทร ฮาสุ วรรณกิจและคณะ, 2551)
ความสาคัญของงานวิจัย
แผนสุ ขภาพระดับตาบลเป็ นเครื่องมือในการปฏิบัติการ
สร้ างกระบวนการเรียนรู้ ร่วมกันในพืน้ ที่ ระหว่ างภาคส่ วน
ต่ างๆในชุมชน
ชุดความรู้ ทแี่ สดงถึงกระบวนการพัฒนา สามารถนาไป
ประยุกต์ ใช้ ในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ
วัตถุประสงค์ การวิจัย
วัตถุประสงค์ หลัก
เพือ่ ประเมินกระบวนการจัดทาแผนสุ ขภาพระดับตาบล
วัตถุประสงค์ เฉพาะ
1. ศึกษาปัจจัยทีม่ ีอทิ ธิพลต่ อการทาแผนสุ ขภาพในระดับตาบล
2.ศึกษากระบวนการ ขั้นตอนในการดาเนินการจัดทาแผนสุ ขภาพใน
ระดับตาบล
3. ศึกษาตัวแบบของแผนสุ ขภาพในระดับตาบล
ประโยชน์ ที่คาดว่ าได้ รับ
1. เป็ นกรณีศึกษาให้ กบั พืน้ ที่หรือตาบลอืน่ ๆที่จะจัดทาแผน
สุ ขภาพระดับตาบล
2. เกิดกระบวนการเรียนรู้ และนาไปสู่ การพัฒนากระบวนการ
จัดทาแผนสุ ขภาพแผนสุ ขภาพระดับตาบลโดยการมีส่วนร่ วม
ของทุกภาคีส่วน
นิยามศัพท์
แผนสุ ขภาพ
แผนสุ ขภาวะ เป็ นแผนทีเ่ กีย่ วข้ องกับการดาเนินงานในเรื่องของสุ ขภาวะทางกาย จิต
สั งคม และปัญญา
ระดับตาบล
พืน้ ที่ที่มอี งค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นรับผิดชอบ ซึ่งอาจหมายถึงพืน้ ที่ขององค์ กร
บริหารส่ วนตาบล หรือพืน้ ที่ของเทศบาลตาบล
ตัวแบบแผน
โครงร่ างของแผนโดยใช้ ตวั แบบการจัดทาแผนกลยุทธ์ มาเป็ นต้ นแบบ ประกอบด้ วย
สถานการณ์ สุขภาพ, วิสัยทัศน์ , พันธกิจ, วัตถุประสงค์ , เป้ าหมาย, ยุทธศาสตร์ ,
แผนงาน/โครงการ และ ตัวชี้วดั /การประเมินผล
กรอบแนวคิดการวิจัย
บริบท
ปัจจัยนาเข้ า
1.ข้ อมูลสถานการณ์ สุขภาพ
ชุมชน
2. กลุ่มเครือข่ าย
หน่ วยงาน
- สปสช.
- นายกอบต.
- เทศบาล
- สถานีอนามัย
- อสม.
- แกนนาชุมชน
3. ทุนทางสังคม
- ทรัพยากรธรรมชาติ
- ประเพณี วัฒนธรรม/วิถี
ชีวติ
- ภูมิปัญญา
- เศรษฐกิจชุมชน
กระบวนการ
- การแลกเปลีย่ นเรียนรู้
- การมีส่วนร่ วม
- การประยุกต์ ใช้ แผนที่
ผลลัพธ์ (outcome mapping)
ในขั้นตอน
1.การสร้ างวิสัยทัศน์
2. การกาหนดพันธกิจ
3. ภาคีหุ้นส่ วน
4. ผลลัพธ์ ที่พงึ ประสงค์
5. ตัวบ่ งชี้ความก้าวหน้ า
6. แผนที่ยุทธศาสตร์
7. การดาเนินงานขององค์กร
ผลผลิต : ตัวแบบแผนสุ ขภาพตาบล
และความสอดคล้องกับสถานการณ์
สุ ขภาพ
- จุดหมาย : เป้ าประสงค์ /
วัตถุประสงค์
- เป้ าหมาย
- ยุทธศาสตร์ /นโยบาย
- โครงการ/กิจกรรม
- การประเมิน : ตัวชี้วดั
ผลลัพธ์ :
การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม/
ความสัมพันธ์
(กิจกรรม และ/หรือ การปฏิบัตกิ าร)
ของปัจเจก – กลุ่ม หรือองค์กร
ขั้นตอนการทาวิจัย
รูปแบบการศึกษา
การวิจัยเชิงปริมาณ เพือ่ ประเมินสถานการณ์ สุขภาพ
การวิจัยเชิงคุณภาพ
เพือ่ ประเมินกระบวนการจัดทาแผนสุ ขภาพระดับตาบล
สถานที่ทาการวิจยั
ตาบลทีม่ ีการจัดทาแผนสุ ขภาพระดับตาบลในโครงการการพัฒนาเครือข่ าย
สร้ างเสริมสุ ขภาพระดับจังหวัดทั้งหมด 14 ตาบล คือ
1. ตาบลคูขุด อาเภอสะทิงพระ
3. ตาบลปริก อาเภอสะเดา
5. ตาบลจะโหนง อาเภอจะนะ
7. ตาบลบ้ านใหม่ อาเภอระโนด
9. ตาบลแม่ ทอม อาเภอบางกลา่
11. ตาบลกาแพงเพชร อาเภอรัตภูมิ
13. ตาบลพิจิตร อาเภอนาหม่ อม
2. ตาบลคลองรี อาเภอสะทิงพระ
4. ตาบลกระแสสิ นธุ์ อาเภอกระแสสิ นธุ์
6. ตาบลคลองทราย อาเภอนาทวี
8. ตาบลชะแล้ อาเภอสิ งหนคร
10. ตาบลรัตภูมิ อาเภอควนเนียง
12. ตาบลโคกม่ วง อาเภอคลองหอยโข่ ง
14. ตาบลสะกอม อาเภอเทพา
ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
1
การสารวจสถานการณ์ สุขภาพ
ประชากร คือประชาชนใน 14 ตาบลที่มีแผนสุ ขภาพ โดยประมาณ 70,000 คน
ขนาดตัวอย่าง ใช้สูตร Taro Yamane ในการคานวณหาขนาดของตัวอย่าง ดังนี้
n = N/(1 + Ne2)
โดยที่ n แทน ขนาดของตัวอย่าง
N แทน ขนาดของประชาชน 70,000 คน
e แทน ความคลาดเคลื่อนของการสุ่ มตัวอย่างยอมให้เกิดการผิดพลาด 5 %
ทาการศึกษาในกลุ่มตัวอย่ างจานวนอย่ างน้ อย 398 คน
ใช้ วธิ ีการสุ่ มอย่ างเป็ นระบบ ( Systematic Random Sampling)
เกณฑ์ ในการคัดเลือกผู้ที่ตอบแบบสั มภาษณ์ ชุมชน (inclusion criteria)
 สมัครใจเข้ าร่ วมงานวิจัย
สามารถสื่ อสารภาษาไทยกับผู้วจิ ัยได้
มีอายุต้งั แต่ 15 ปี ขึน้ ไป เพือ่ ให้ มวี ุฒิภาวะเพียงพอที่จะตอบแบบ
สั มภาษณ์
ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง (ต่ อ)
2
การประเมินกระบวนการจัดทาแผนสุ ขภาพระดับตาบล
คัดเลือก Key Informants โดยเน้ นกลุ่มผู้นาทีม่ ีส่วนเกีย่ วข้ องกับ
กระบวนการจัดทาแผนสุ ขภาพของแต่ ละตาบล
โดยจาแนก Key Informants เป็ น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มทีเ่ ป็ นภาคีหลัก : แกนนาชุ มชน เช่ น กานัน ผู้ใหญ่ บ้าน เป็ นต้ น,
หน่ วยงานรัฐ (อนามัย, โรงเรียน), กลุ่มผู้นาอสม.
กลุ่มทีเ่ ป็ นภาคียุทธศาสตร์ : อบต., คณะทางานแผนสุ ขภาพ,
นักวิชาการ เป็ นต้ น
เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย
แบบสั มภาษณ์ มี 2 ชนิด คือ
1. แบบสั มภาษณ์ ชุมชน
ประยุกต์ มาจากแบบสารวจชุ มชนของคณะทางานแผนสุ ขภาพจังหวัดสงขลา ซึ่งมี
ด้ วยกัน 3 ส่ วน คือ
ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลทัว่ ไป ได้ แก่ เพศ อายุ อาชีพ รายได้
ส่ วนที่ 2 ข้ อมูลสถานการณ์ สุขภาวะ ซึ่งแบ่ งออกเป็ น 4 ด้ าน คือ
- สุ ขภาวะกาย
- สุ ขภาวะจิต
- สุ ขภาวะทางสั งคม
- สุ ขภาวะทางปัญญา
ส่ วนที่ 3 ข้ อมูลระบบสุ ขภาพทีพ่ งึ ประสงค์
เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย
2. แบบสั มภาษณ์ เชิงลึก
โดยประยุกต์ ใช้ หลักการของแผนทีผ่ ลลัพธ์ (outcome mapping )มาเป็ นกรอบในการคิด
หลักการของ outcome mapping ในขั้น Intentional Design
ขั้นย่ อยที่ 1 การสร้ างวิสัยทัศน์ (Vision)
- มีการหาจุดหมายร่ วมกันหรือไม่ / อยากเห็นภาพของชุ มชนเป็ นอย่ างไร
ขั้นย่ อยที่ 2 การกาหนดพันธกิจ (Mission)
- ใครมีบทบาททาอะไรบ้ าง
ขั้นย่ อยที่ 3 ภาคีหุ้นส่ วน (Boundary partners)
- ใครเป็ นภาคีหลัก/ ภาคยุทธศาสตร์
ขั้นย่ อยที่ 4 ผลลัพธ์ ทพี่ งึ ประสงค์ (Outcome Challenge)
- วางขั้นของความสาเร็จอะไร ไว้ อย่ างไร
ขั้นย่ อยที่ 5 ตัวบ่ งชี้ความก้ าวหน้ า (Progress Marker)
- มีตัวชี้วดั อะไรบ้ าง
ขั้นย่ อยที่ 6 แผนทีย่ ุทธศาสตร์ (Strategy Map)
- ยุทธศาสตร์ ทใี่ ช้ มอี ะไรบ้ าง
ขั้นย่ อยที่ 7 การดาเนินงานขององค์ กร (Operational Practices)
- เกิดโครงการอะไรบ้ างและ/หรือมีกจิ กรรมอะไรขึน้ บ้ าง
แบบสั มภาษณ์ เชิงลึก สรุปเป็ นข้ อคาถาม ดังต่ อไปนี้
1. มีกระบวนการทีท่ าให้ คนในชุ มชนมาวางจุดหมายร่ วมกันของระบบสุ ขภาพ
หรือไม่
2. ในกระบวนการมีการวางบทบาทว่ าเป็ นใคร จะทาอะไร อย่างไร
3. ตัวหลักของการทางานให้ เกิดแผนสุ ขภาพดาเนินไปได้ คอื ใคร และใครเป็ นตัว
หนุนเสริมผลักดันให้ แผนสุ ขภาพสาเร็จ
4. มีกระบวนการอะไรในการทางานร่ วมกันระหว่ างเครือข่ าย/หน่ วยงาน/ชุ มชน
เพือ่ ให้ เกิดผลลัพธ์ ทพี่ งึ ประสงค์ ด้านสุ ขภาพ
5. มีกระบวนการในการสร้ างตัวชี้วดั อย่างไร
6. ใช้ กระบวนการอะไรทีจ่ ะได้ ยุทธศาสตร์ ในเรื่องแผนสุ ขภาพ
7. มีกระบวนการทีจ่ ะให้ มกี จิ กรรมตามแผนสุ ขภาพอย่ างไร
เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย
แนวทางการสนทนากลุ่ม
1. คาถามทีใ่ ช้ นาการอภิปราย มีรูปแบบเดียวกันกับแบบสั มภาษณ์ เชิง
ลึก แต่ จะเพิม่ ในส่ วน ข้ อที่ 8 คือ การเปรียบเทียบกระบวนการของแต่
ละตาบล
2. โปรแกรม Mind manager pro 7 เครื่องฉายภาพและจอภาพ ใช้
บันทึกการสนทนากลุ่ม
3. เครื่องมือบันทึกเสี ยงและภาพการสนทนากลุ่ม
วิธีดาเนินการและการเก็บรวบรวมข้ อมูล
1. ข้ อมูลสถานการณ์ สุขภาพ
ใช้ แบบสั มภาษณ์ ชุมชน ในพืน้ ทีท่ มี่ ีแผนสุ ขภาพทั้งหมด 14 พืน้ ที่
2. ข้ อมูลกระบวนการจัดทาแผนสุ ขภาพระดับตาบล
2.1ใช้ สัมภาษณ์ เชิงลึก ( Indepth – Interview )
สั มภาษณ์ ผ้ ทู มี่ สี ่ วนได้ ส่วนเสี ย ( Stakeholder )ในกระบวนการจัดทาแผน
สุ ขภาพระดับตาบล จานวน 3 คนต่ อตาบล รวมทั้งหมด 42 คน
2.2 วิธีการสนทนากลุ่ม ( Focus Group )
ดาเนินการจัดกระบวนการทั้งหมด 3 ครั้ง โดยเน้ นกลุ่มผู้นาทีเ่ ป็ นผู้ให้ ข้อมูล
สาคัญ ในแต่ ละตาบลทั้ง 14 แห่ ง ซึ่งแต่ ละพืน้ ที่ใช้ คนเข้ าร่ วมกระบวนการ
อย่างน้ อย 3 – 5 คน
วิธีการสนทนากลุ่ม ( Focus Group )
ดาเนินการจัดกระบวนการทั้งหมด 3 ครั้ง ได้ แก่
ครั้งที่ 1 ประกอบด้ วย
ตาบลบ้ านใหม่ , ตาบลชะแล้ , ตาบลกระแสสิ นธุ์, ตาบลคูขุด และตาบลคลองรี
ครั้งที่ 2 ประกอบด้ วย
ตาบลแม่ ทอม, ตาบลรัตภูม,ิ ตาบลกาแพงเพชร และ ตาบลโคกม่ วง
ครั้งที่ 3 ประกอบด้ วย
ตาบลปริก, ตาบลจะโหนง, ตาบลคลองทราย, ตาบลพิจิตร และ ตาบลสะกอม
การวิเคราะห์ ข้อมูล
1. สถานการณ์ สุขภาพจากแบบสั มภาษณ์ ชุมชน
วิเคราะห์ ทางสถิติ โดยใช้ โปรแกรมสาเร็จรูป SPSS/ PC
วิเคราะห์ ข้อมูลเชิงปริมาณของสถานการณ์ สุขภาพ ดังนี้
- สุ ขภาวะกาย
- สุ ขภาวะจิต
- สุ ขภาวะทางสั งคม
- สุ ขภาวะทางปัญญา
ข้ อมูลระบบสุ ขภาพทีพ่ งึ ประสงค์
การวิเคราะห์ ข้อมูล
2. แนวทางการวิเคราะห์ กระบวนการจัดทาแผนสุ ขภาพระดับตาบล
การวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงคุณภาพ ผู้วจิ ัยจะใช้ วธิ ีการวิเคราะห์ ข้อมูลโดยการ
วิเคราะห์ เนือ้ หา (Content Analysis) โดยมีข้ันตอนการศึกษาดังนี้
2.1 วิเคราะห์ แยกแยะประเด็นทีศ่ ึกษา ว่ ามีตวั แปรย่ อย หรือส่ วนประกอบ
อะไรบ้ าง
2.2 จัดหมวดหมู่ของส่ วนประกอบหรือตัวแปรเหล่ านั้น โดยจาแนกประเภท
( Categories ) ตามกรอบแนวคิดในการวิจัย
2.3 วิเคราะห์ ถึงความเชื่อมโยงของตัวแปรหรือส่ วนประกอบเหล่ านั้น
2.4 นาเสนอข้ อมูลในเวทีวพิ ากษ์ วจิ ารณ์ โดยผู้ทมี่ ีส่วนได้ ส่วนเสี ย ( Stakeholder )
ทั้ง 14 ตาบล และผู้ทรงคุณวุฒิ
2.1 วิเคราะห์ แยกแยะประเด็นทีศ่ ึกษา
คาถามกระบวนการที่ 1
ต.แม่ ทอม
คนที่ 1
คนที่ 2
สรุ ปรวมเนือ้ หา
คนที่ 3
คาถามกระบวนการที่ 2
คนที่ 1
คนที่ 2
คาถามกระบวนการที่ 7
คนที่ 3
สรุ ปรวมเนือ้ หา
2.2 จัดหมวดหมู่ของส่ วนประกอบหรือตัวแปรเหล่านั้น
คาถามกระบวนการที่ 1
ตาบล 1
ตาบล 2
กระบวนการทาแผน
สรุ ปรวมเนือ้ หา
ตาบล 14
ตาบล 1
คาถามกระบวนการที่ 2
ตาบล 2
ตาบล 14
สรุ ปรวมเนือ้ หา
2.3 วิเคราะห์ ถึงความเชื่อมโยงระหว่ าง Focus / Indepth interview
focus
indepth
คาถามข้ อที่ 1
คาถามข้ อที่ 2
ตาบลสะกอม
ตาบลชะแล้
3. ศึกษาตัวแบบของแผนสุ ขภาพในระดับตาบล
ตามกรอบแนวคิดการวิจัย
- จุดหมาย : เป้าประสงค์ / วัตถุประสงค์
- เป้าหมาย
- ยุทธศาสตร์ /นโยบาย
- โครงการ/กิจกรรม
- การประเมิน : ตัวชี้วดั
4. ศึกษาแผนสุ ขภาพกับความสอดคล้องของสถานการณ์ สุขภาพ
โดยการเปรียบเทียบรายละเอียดของกิจกรรมและ/หรือโครงการ
ว่ ามีกจิ กรรมทีส่ อดคล้ องกับสถานการณ์ สุขภาพของสถานการณ์
ในระดับตาบล โดยจาแนกตามมิตขิ องสุ ขภาวะได้ แก่ สุ ขภาวะ
กาย จิต สั งคม และปัญญา
ผลการวิจยั และการอภิปรายผล
ผลการวิจัยแบ่ งออกเป็ น 4 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การสารวจข้ อมูลสถานการณ์ สุขภาพ
ขั้นตอนที่ 2 การประเมินกระบวนการจัดทาแผนสุ ขภาพระดับ
ตาบล
ขั้นตอนที่ 3 ศึกษาตัวแบบของแผนสุ ขภาพ
ขั้นตอนที่ 4 ศึกษาแผนสุ ขภาพกับความสอดคล้องของสถานการณ์
สุ ขภาพ
ขั้นตอนที่ 1 การสารวจข้ อมูลสถานการณ์ สุขภาพ
แบบสั มภาษณ์ ชุมชนสารวจ 14 พืน้ ที่
จานวน 700 ราย
เข้ าร่ วมวิจัย 697 ราย
คัดตัวอย่ างออก 3 ราย
อายุ < 15 ปี
ลักษณะทางประชากรศาสตร์ ของผู้ทตี่ อบแบบสั มภาษณ์ ( N=697)
ข้ อมูลทัว่ ไป
จานวน (ร้ อยละ)
เพศ ชาย
หญิง
210 (30.1)
487 (69.9)
อายุ ตั้งแต่ 15 – 29 ปี
30 – 39 ปี
40 – 49 ปี
50 – 59 ปี
60 ปี ขึน้ ไป
79 (11.3)
114 (16.4)
155 (22.2)
147 (21.1)
202 (29.0)
อายุ [ค่าเฉลีย่ + ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ปี )]
สถานภาพสมรส โสด
คู่
หย่ า
หม้ าย
49.00 + 15.98
74 (10.6)
535 (76.8)
11 (1.6)
77 (11.0)
ลักษณะทางประชากรศาสตร์ ของผู้ทตี่ อบแบบสั มภาษณ์ ( N=697)
ข้ อมูลทัว่ ไป
ร้ อยละ
ระดับการศึกษา ไม่ ได้ เรียนหนังสื อ
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
อนุปริญญาหรือปวช./ปวส.
ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
สู งกว่ าปริญญาตรี
อืน่ ๆ
32 (4.6)
393 (56.4)
155 (22.2)
49 (7.0)
63 (9.0)
1 (0.1)
4 (0.6)
การประกอบอาชีพ ไม่ ได้ ทางาน
เกษตรกรรม
รับจ้ างทัว่ ไป
รับราชการ
ค้ าขาย
ลูกจ้ างบริษัท/ห้ างร้ าน/โรงงาน
อืน่ ๆ
113 (16.2)
328 (47.1)
46 (6.6)
35 (5.0)
93 (13.2)
23 (3.3)
60 (8.6)
ระดับรายได้ ของทั้งครอบครัว ไม่ มีรายได้
ต่ากว่า 3,000 บาทต่ อเดือน
3,001-5,000 บาทต่ อเดือน
5,001-10,000 บาทต่ อเดือน
10,001-15,000 บาทต่ อเดือน
มากกว่า 15,000 บาทต่ อเดือน
27 (3.9)
56 (8.1)
152 (21.9)
193 (27.8)
128 (18.5)
137 (19.8)
พฤติกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพ
การออกกาลังกาย
ร ้อยละ
ออกกำลังกำยมำกกว่ำ
5 ครั ง้ ต่อเดือน
20.4
น ้อยกว่ำเดือนละ 1 ครั ง้
25.9
53.7
1- 5 ครั ง้ /เดือน
พฤติกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพ
การควบคุมอาหาร
ร ้อยละ
37.5
42
ควบคุมอำหำรอยู่บ ้ำง
ควบคุมตลอดเวลำ
ไม่ควบคุม
20.5
ข้ อมูลสถานการณ์ สุขภาวะและข้ อมูลระบบสุ ขภาพทีพ่ งึ ประสงค์
สุ ขภาวะ
ข้ อมูลสถานการณ์ สุขภาวะ
กาย
ป่ วยเป็ นโรคทางเดินหายใจและอาการ
ปวดเมือ่ ย
จิต
ปัญหาสุ ขภาพจิตทีเ่ กิดจากปัญหา
เศรษฐกิจ
ข้ อมูลระบบสุ ขภาพทีพ่ งึ ประสงค์
โรคความดัน
สุ ขภาพจิตของผู้สูงอายุ
สั งคม
พฤติกรรมเสี่ ยงต่ อสุ ขภาพ คือ
พฤติกรรมดืม่ เหล้ าและสู บบุหรี่
พฤติกรรมเสี่ ยงต่ อสุ ขภาพ คือการใช้
ยาเสพติด
ปัญญา
ในระดับชุ มชน พบว่ าต้ องการให้ มกี าร ต้ องการให้ สังคมในชุ มชน เป็ นชุ มชน
เข้ าร่ วมกิจกรรมของชุ มชนและต้ องการ ทีใ่ ห้ ความช่ วยเหลือซึ่งกันและกัน
ให้ ชุมชนมีความสงบ
ขั้นตอนที่ 2 การประเมินกระบวนการจัดทาแผนสุ ขภาพระดับตาบล
- Indepth interview
- Focus group
- เปรียบเทียบระหว่ าง Indepth interview/Focus group
- สรุปกระบวนการทีใ่ ช้ ท้งั 14 พืน้ ที่
กระบวนการที่ 1 กระบวนการทีท่ าให้ คนในชุ มชนมาวางจุดหมายร่ วมกัน
กระบวนการ
กระบวนการสร้ างอนาคตร่ วมกัน
(Future Search Conference Process)
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่ วม
(A-I-C Process)
วิธีการที่ใช้
1.
2.
3.
4.
5.
ใช้ การสารวจสถานการณ์ โดยใช้ แบบสอบถาม
ใช้ การประชุ มระดับแกนนาของชุ มชน
ใช้ การทาประชาคมให้ ชาวบ้ านทีส่ นใจเข้ าร่ วม
การวางจุดหมายในชุ มชน
ใช้ ข้อมูลการสารวจพืน้ ทีโ่ ดยหน่ วยงาน
ภายนอก เช่ น นักศึกษาพยาบาล มอ.
ใช้ SWOT analysis เป็ นเครื่องมือในการ
กาหนดจุดแข็ง- จุดอ่ อนของพืน้ ที่ โดยยึด
ปัญหาสุ ขภาพในชุ มชนเป็ นหลัก เพือ่
วางเป้ าหมายร่ วมกัน
กระบวนการที่ 2 กระบวนการวางบทบาทว่ าเป็ นใคร จะทาอะไร อย่ างไร
กระบวนการ
กระบวนการกลุ่ม
(Group process)
กระบวนการสรรหา
วิธีการที่ใช้
1.
2.
ใช้ การทาประชาคม โดยคณะทางานแผนประชุ มร่ วมกัน
เพือ่ กาหนดผู้รับผิดชอบและบทบาทหน้ าที่ เน้ นการ
ดาเนินงานตามความเร่ งด่ วนของปัญหา
คณะทางานใช้ การประชุ มกาหนดและมอบหมายงาน
* ตามความรับผิดชอบของแต่ ละบุคคล
* กาหนดผู้รับผิดชอบและเป็ นพีเ่ ลีย้ ง
* กาหนดบทบาทตามประเด็นยุทธศาสตร์
* เน้ นทาเป็ นกลุ่ม ไม่ ได้ แบ่ งบทบาทหน้ าที่
กระบวนการที่ 3 กระบวนการที่กาหนดตัวหลักของการทางานและตัวหนุน
เสริมผลักดันให้ เกิดแผนสุ ขภาพ
กระบวนการ
วิธีการทีใ่ ช้
กระบวนการสร้ างกลุ่ม  ระบบพีเ่ ลีย้ ง ( partner)
ผู้นา ( Group Process )  ประชุ มวางแผนโดยหน่ วยงานภาคท้ องถิ่นเป็ นผู้
ขับเคลือ่ น
 เวทีประชาคมโดยมีภาคประชาชนเป็ นผู้ขับเคลือ่ น
 ประสานกับแกนนาชุ มชนทีเ่ คยผ่ านการทางานมาก่ อน
กระบวนการที่ 4 กระบวนการในการทางานเพือ่ ให้ เกิดผลลัพธ์ ทพี่ งึ ประสงค์
กระบวนการ
กระบวนการผลักดัน
กระบวนการติดตามประเมินผล
( Evaluation Process )
กระบวนการสุ นทรียสนทนา
( Dialogue)
วิธีการทีใ่ ช้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
ส่ งต่ อให้ กบั อบต.เพือ่ บรรจุเป็ นแผนการดาเนินงาน
ใช้ ความสั มพันธ์ ส่วนตัวพูดคุยแลกเปลีย่ นชักจูงแกนนา
ใช้ จิตอาสาของอสม.ชักชวนเข้ าร่ วม
จัดให้ มีการประชุมเดือนละครั้งเพือ่ ติดตามความก้ าวหน้
การเปิ ดพืน้ ที่เพือ่ ให้ ศึกษาดูงาน
เชิญหน่ วยงานภายนอก เช่ น สวรส.ฝึ กอบรมสร้ างแกนนา
สร้ างพืน้ ที่สาธารณะให้ กบั ประชาชน เช่ น สวนสุ ขภาพ
คณะทางานประชุมจัดให้ มีกจิ กรรมร่ วมกับชุมชนเพิม่ ขึน้
กระบวนการที่ 5 กระบวนการในการสร้ างตัวชี้วดั
กระบวนการ
วิธีการที่ใช้
กระบวนการคิดเชิงประยุกต์
กระบวนการติดตาม
ประเมินผล
กระบวนการระดมสมอง
1. จัดเวทีประชาคมเพือ่ สารวจข้ อมูล
สถานการณ์ เพือ่ มากาหนดเป็ นตัวชี้วัด
2. สารวจโดยใช้ แบบสอบถาม
3. ศึกษาดูงานในแต่ ละพืน้ ที่/โครงการ กิจกรรม
4. ใช้ ผลการดาเนินงานหลังจบโครงการ/
กิจกรรม
5. กาหนดตัวชี้วดั ตามยุทธศาสตร์ ของอบต.
และ/
หรือ ตัวชี้วดั ตามนโยบายของจังหวัด
6. ผ่ านแกนนาชุมชน เช่ น อสม.เป็ นผู้กาหนด
กระบวนการที่ 6 กระบวนการทีจ่ ะได้ มาซึ่งยุทธศาสตร์ ในเรื่องแผนสุ ขภาพ
กระบวนการ
วิธีการที่ใช้
กระบวนการสร้ างอนาคตร่ วมกัน  ใช้ ข้อมูลทีไ่ ด้ จากการสารวจปัญหาสุ ขภาพ
 ใช้ ข้อมูลจากการทาประชาคมในพืน้ ที่
กระบวนการคิดเชิงประยุกต์
 ใช้ แบบตัวอย่ างยุทธศาสตร์ จากอาเภออืน่ ๆเป็ นตัว
แบบ
 ใช้ แผนอบต.
 ใช้ ยุทธศาสตร์ ของจังหวัดสงขลา
 ใช้ ยุทธศาสตร์ ของกระทรวงสาธารณสุ ข
 ใช้ แนวคิดและมุมมองของผู้นา
 ใช้ ยุทธศาสตร์ ของท้ องถิ่น
 ใช้ ยุทธศาสตร์ เมืองไทยสุ ขภาพดีของสสจ.
กระบวนการที่ 7 กระบวนการทีจ่ ะให้ มีกจิ กรรมตามแผนสุ ขภาพ
กระบวนการ
วิธีการที่ใช้
กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์
กระบวนการผลักดันโดย
คณะทางานแผนสุ ขภาพลงสู่
ท้ องถิ่น
 ใช้ การทาประชาคมเพือ่ จัดกิจกรรมตามความ
ต้ องการของชุ มชน
 คณะทางานแผนสุ ขภาพรับไปทาเอง
 กาหนดผู้รับผิดชอบในแต่ ละยุทธศาสตร์ เป็ นผู้คดิ
และจัดกิจกรรมขึน้ มา
 กาหนดแกนนาชุ มชน เช่ น อสม.เป็ นผู้คดิ และจัด
กิจกรรม/โครงการ
 กาหนดให้ แต่ ละกลุ่มประเด็นย่ อยนาเสนอโครงการ/
กิจกรรม
 บรรจุแผนสุ ขภาพลงในแผนอบต.
ขั้นตอนที่ 3 ศึกษาตัวแบบของแผนสุ ขภาพระดับตาบล
ตัวแบบการจัดทาแผนกลยุทธ์ เป็ นต้ นแบบ ประกอบด้ วย
 สถานการณ์ สุขภาพ
 วิสัยทัศน์
 พันธกิจ
 วัตถุประสงค์
 เป้าหมาย
 ยุทธศาสตร์
 แผนงาน / โครงการ
 ตัวชี้วดั / การประเมินผล
ตัวแบบของแผนสุ ขภาพระดับตาบล มีองค์ ประกอบดังนี้
• จาก 11 ใน 14 ตาบลได้ มีการสารวจข้ อมูลสถานการณ์ สุขภาพของ
ชุ มชน
• ทุกตาบลกาหนดจุดหมายไว้ ในรูปแบบวิสัยทัศน์
• ในส่ วนของพันธกิจกาหนดเอาไว้ เพียง 11 ใน 14 ตาบล
• วัตถุประสงค์ ของแผนสุ ขภาพมีเพียง 1 ใน 14 ตาบล
• การตั้งเป้ าหมายจาก 4 ใน 14 ตาบล
• การกาหนดยุทธศาสตร์ และการจัดทาแผนงาน/โครงการ
พบว่ ามีจาก13 ใน 14ตาบล
• สาหรับการกาหนดตัวชี้วดั /การประเมินผล พบว่ าไม่ มีตาบลใดทีใ่ ห้
ข้ อมูลในส่ วนนี้
ขั้นตอนที่ 4 ศึกษาความสอดคล้ องระหว่ างแผนสุ ขภาพกับสถานการณ์ ปัญหา
ตาบล
ทางกาย
ทางจิต
ทางสั งคม
ทางปัญญา
แม่ ทอม



---
คูขุด




กระแสสิ นธุ์




รัตภูมิ



---
คลองทราย




คลองรี


---
---
จะโหนง




สะกอม
---
---
---
---
ปริก




พิจิตร

---


บ้ านใหม่



---
กาแพงเพชร




ชะแล้


---

โคกม่ วง




รวม
13
12
11
9
โดยภาพรวม แผนสุ ขภาพระดับตาบลมีโครงการ แผนงาน/กิจกรรม ที่
สอดคล้องกับ
สุ ขภาพทางกายของตาบล 13 ใน 14 ตาบล คิดเป็ นร้ อยละ 92.86
สุ ขภาพทางจิตของตาบล 12 ใน 14 ตาบล คิดเป็ นร้ อยละ 85.71
สุ ขภาพทางสั งคมของตาบล 11 ใน 14 ตาบล คิดเป็ นร้ อยละ 78.57
สุ ขภาพทางปัญญาของตาบล 9 ใน 14 ตาบล คิดเป็ นร้ อยละ 64.29
สรุปผลการวิจัยและข้ อเสนอแนะ
สถานการณ์ สุขภาพ
เป็ นปัจจัยนาเข้ าทีส่ าคัญในกระบวนการจัดทาแผนสุ ขภาพ เพือ่ ตอบสนองได้ ตรง
ความต้ องการของชุ มชน
โรคทีเ่ ป็ นปัญหาของชุ มชนทีต่ ้ องการแก้ ไข เช่ น ความดัน
พฤติกรรมการใช้ สารเสพติด จัดเป็ นปัญหาสาคัญทางสั งคมทีช่ ุ มชนควรดาเนินการ
แก้ ไข มากกว่ าพฤติกรรมการสู บบุหรี่และการดืม่ สุ รา
ปัญหาสุ ขภาพจิตของผู้สูงอายุ
ความต้ องการในด้ านสุ ขภาพของชุ มชนทั้ง 14 พืน้ ที่ สะท้ อนให้ เห็นว่ าชุ มชนได้ มี
การปรับเปลีย่ นวิธีคดิ มุมมองเกีย่ วกับสุ ขภาพโดยมองอย่ างเป็ นองค์ รวม (Holistic)
โดยเข้ าใจคาว่ า สุ ขภาพ คือ สุ ขภาวะ มากขึน้
กระบวนการทีใ่ ช้ ในการจัดทาแผนสุ ขภาพระดับตาบล เน้ นในรูปแบบ
กระบวนการสร้ างอนาคตร่ วมกัน (Future Search Conference)
เข้ าใจ ปัจจัย องค์ ประกอบ เหตุการณ์ ในอดีตทีม่ ีผลต่ อสภาพปัจจุบนั และ
แนวโน้ มทีม่ ีผลกระทบต่ ออนาคต ทุกคนเห็นภาพเดียวกันเกิดวิสัยทัศน์ ใน
อนาคตร่ วมกัน ได้ แลกเปลีย่ นแนวคิดใหม่ ๆ เป็ นการขยายเครือข่ ายมี
ความสั มพันธ์ ภาพทีด่ ี เข้ าใจและเห็นคุณค่ าซึ่งกันและกัน
กระบวนการสุ นทรียสนทนา ( Dialogue)
เป็ นเครื่องมือในการระดมความคิดเพือ่ ค้นหาวีการละความรู้ใหม่ ๆ
ในการทางาน รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหาความขัดแย้ งในระดับบุคคลได้ ดีด้วย
กระบวนการติดตามประเมินผล
เป็ นการประเมินผลการดาเนินงาน หากไม่ ประสบผลสาเร็จ ทาง
คณะทางานสามารถปรับเปลีย่ นวิธีการ เพือ่ ให้ แผนสุ ขภาพมีการพัฒนา
ไปในแนวทางทีด่ ีขนึ้ ถูกต้ อง เหมาะสมยิง่ ขึน้ ได้
กระบวนการกลุ่ม
เป็ นกระบวนการทีท่ าให้ คนในชุ มชนเข้ ามามีส่วนในการแก้ปัญหาของชุ มชน
และยังเป็ นการพัฒนา ผลักดันให้ คนในชุ มชน กล้าคิด กล้าทา
ส่ งผลให้ การดาเนินการของกลุ่มมีประสิ ทธิภาพ
กระบวนการสรรหา
เป็ นการจูงใจให้ ผู้ทมี่ ีความรู้ ความสามารถและมีทศั นคติทดี่ ีตรงความต้ องการ
ให้ เข้ ามาร่ วมงานในอันทีจ่ ะช่ วยให้ องค์กรประสบความสาเร็จ
ตามวัตถุประสงค์ ได้
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่ วม (A-I-C Process)
เป็ นกระบวนการทีจ่ ะช่ วยให้ ชุมชนเข้ าไปมีส่วนร่ วม ในการวางแผนและ
การตัดสิ นใจ ร่ วมสร้ างความเข้ าใจในการดาเนินงาน สร้ างการยอมรับ
ความรับผิดชอบชอบในฐานะสมาชิกของชุมชนเกิดความรู้สึกเป็ นเจ้ าของ
และเกิดความภาคภูมิใจในผลงานทีต่ นมีส่วนร่ วมกระบวนการพัฒนาชุมชน
จึงเกิดความต่ อเนื่องและก่อให้ เกิดความสาเร็จสู ง
กระบวนการคิดเชิงประยุกต์ (Applicative Thinking Process)
เป็ นวิธีการนาบางสิ่ งมาใช้ ประโยชน์ “บางสิ่ ง” ที่นามานั้น อาจเป็ นทฤษฎี
หลักการ แนวคิด ความรู้เกีย่ วกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งและนามาใช้ ประโยชน์
ในภาคปฏิบัติ โดยปรับให้ เข้ ากับบริบทแวดล้อมทีเ่ ป็ นอยู่อย่ างเหมาะสม
กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์
เป็ นกระบวนการทีต่ ้ องอาศัยความคิดสร้ างสรรค์ที่มคี วามสอดคล้องกับ
สภาพแวดล้อมทั้งภายใน/ภายนอก โดยแผนกลยุทธ์ จะถูกใช้ เสมือนเป็ นแผนที่
ในการเดินทางขององค์กร
ข้ อเสนอแนะกระบวนการจัดทาแผนในอนาคต
 จาเป็ นต้ องมีภาคประชาชนเข้ ามาขับเคลือ่ น เนื่องจากประชาชนจะได้ เกิด
ความรู้ สึกเป็ นเจ้ าของในพืน้ ที่
 ควรมีการพัฒนาศักยภาพคนในพืน้ ที่ ใช้ กระบวนการเรียนรู้ แบบมีส่วนร่ วม
 การปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างหน่ วยงานต้ องมีตวั กลางประสาน เนื่องจากในบางครั้ง
ต้ องมีการทางานทีป่ ี นเกลียวกัน ทาให้ คนทางานทางานลาบาก
 ควรมีการบูรณาการงานเข้ าด้ วยกัน และสนับสนุนงบประมาณในการดาเนิน
กิจกรรม
 ควรทาความเข้ าใจร่ วมกันในเรื่องแนวทางการบริหารจัดการโดยเชิญองค์ กร
ปกครองส่ วนท้ องถิ่น, เจ้ าหน้ าที่อนามัย และประชาชนในพืน้ ที่ เพื่อแบ่ งบทบาท
หน้ าที่ให้ ชัดเจน
ตัวแบบของแผนสุ ขภาพระดับตาบล
ส่ วนใหญ่ ทุกตาบลมีการกาหนดจุดมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์
และสามารถนาแผนสุ ขภาพจาแนกออกเป็ นแผน/โครงการได้
สิ่ งทีข่ าดไป คือการกาหนดตัวชี้วดั และวิธีการในการประเมินผล
ทาให้ ไม่ สามารถประเมินผลงานได้ ว่ามีความสาเร็จบรรลุวตั ถุประสงค์ ที่
ได้ กาหนดไว้ หรือไม่ อีกทั้งยังไม่ สามารถสรุปได้ ว่ากิจกรรม/โครงการนั้น
ควรมีการพัฒนาทาต่ อหรือหยุดดาเนินการ
ความสอดคล้ องระหว่ างแผนสุ ขภาพระดับตาบลกับสถานการณ์ ปัญหาสาคัญ
ข้ อมูลสถานการณ์ มีความสาคัญต่ อกระบวนการจัดทาแผนสุ ขภาพ
ข้ อมูลทีบ่ อกถึงข้ อเท็จจริงของชุมชนว่ าชุมชนมีปัญหาอะไร และ
ต้ องการให้ แก้ปัญหาในด้ านใด
สามารถออกแบบกิจกรรมและ/หรือโครงการสุ ขภาพตอบสนองความ
ต้ องการของชุ มชนได้ ครบทั้ง 4 ด้ าน
ข้ อจากัดของการศึกษา
1.เนื่องจากแต่ ละพืน้ ทีต่ ิดภารกิจ มีเวลาว่ างทีไ่ ม่ ตรงกันทาให้ ยากต่ อการ
ประสานงาน
2.บางพืน้ ทีเ่ ป็ นช่ วงรอยต่ อของการเลือกตั้งจึงไม่ สามารถมาร่ วมแสดงความ
คิดเห็นได้
3.บางพืน้ ทีม่ ีการเปลีย่ นคณะทางานแผนทาให้ ผ้ทู เี่ ข้ ามาใหม่ ไม่ ทราบ
กระบวนการเกิดของแผนก่อนหน้ านี้ ทาให้ ข้อมูลอาจมีการติดขัดหรือ
ผิดพลาดในบางส่ วนได้
ข้ อจากัดของการศึกษา (ต่ อ)
4.บางพืน้ ทีอ่ ยู่ไกลทาให้ เดินทางไปมาสะดวก
5.ค่ าตอบแทนมีผลต่ อการตัดสิ นใจในการเข้ าร่ วมการทาสนทนากลุ่ม
(focus group)
6.การศึกษาครั้งนีเ้ นื่องจากเป็ นนโยบายใหม่ ในการปฏิรูประบบสุ ขภาพ
ทาให้ มีผลงานการศึกษาเรื่องการจัดทาแผนสุ ขภาพระดับตาบล น้ อย ทา
ให้ การอ้างอิงผลการศึกษาน้ อยไปด้ วย
ข้ อเสนอแนะในทางปฏิบัติ
1. จังหวัดสงขลาควรมีสถานการณ์ ข้อมูลสุ ขภาวะ รวบรวมจาก
 ข้ อมูลปฐมภูมิ ได้ จากการสารวจโดยใช้ แบบสอบถาม หรือการเปิ ดเวที
ประชาคม
 ข้ อมูลทุตยิ ภูมิ ได้ จากข้ อมูลจปฐ., ข้ อมูลจากอบต. เป็ นต้ น
 ข้ อมูลตติยภูมิ ได้ จากการค้ นคว้ าทางอินเตอร์ เน็ต
เพือ่ ใช้ เป็ นปัจจัยในการกาหนดแผนสุ ขภาพ
2. แม้ ว่าแต่ ละพืน้ ทีจ่ ะใช้ กระบวนการต่ างๆกันแต่ จาเป็ นต้ องมีผ้ ูอานวยความสะดวก
(Facilitator) เพือ่ ให้ กระบวนการเกิดประสิ ทธิผลสู งสุ ด
ข้ อเสนอแนะในทางปฏิบัติ (ต่ อ)
3. ควรพัฒนาศักยภาพคนในพืน้ ทีใ่ ห้ รู้จักกระบวนการติดตามและ
ประเมินผลเพือ่ ทบทวน ปรับปรุง พัฒนาแผนสุ ขภาวะในพืน้ ที่
4. กระบวนการทาแผนสุ ขภาพ ควรจะต้ องพยายามทาให้ เป็ นกระบวนการ
การเรียนรู้และมีส่วนร่ วมทุกภาคส่ วนของชุ มชน เพือ่ ให้ ชุมชนรู้สึกถึง
ความเป็ นเจ้ าของและเกิดความยัง่ ยืนได้
LOGO